{"title":"แนวทางการพัฒนาการจัดการการท่องเที่ยวบริเวณเขื่อนประเทศไทย","authors":"ไพริน เวชธัญญะกุล, ธัญชนก บุญเจือ","doi":"10.53848/irdssru.v13i2.250196","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":" การศึกษาวิจัยแผนงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์ข้อมูลงานวิจัยในการศึกษา 1. ค่านิยมและพฤติกรรมนักท่องเที่ยวบริเวณในเขื่อนประเทศไทย 2. การมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเขื่อนบริเวณในเขื่อนประเทศไทย 3. การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างยั่งยืนบริเวณในเขื่อนประเทศไทย และนำข้อมูลที่ได้จากการสังเคราะห์มาพัฒนารูปแบบของการจัดการการท่องเที่ยวบริเวณในเขื่อนประเทศไทยเพื่อหาข้อเสนอแนะการพัฒนาการจัดการการท่องเที่ยวบริเวณรอบเขื่อนประเทศไทย ซึ่งจากผลการวิเคราะห์และสังเคราะห์งานวิจัยทั้ง 3 เรื่องสามารถนำพัฒนารูปแบบของการจัดการการท่องเที่ยวบริเวณเขื่อนได้ดังนี้ ในการพัฒนาการจัดการการท่องเที่ยวบริเวณในเขื่อนประเทศไทยจะประกอบไปด้วยกลุ่มผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 5 กลุ่มพันธมิตรการท่องเที่ยว (GBTCA) ประกอบด้วย หน่วยงานภาครัฐ (Government) หน่วยงานภาคเอกชน (Business) นักท่องเที่ยว (Tourist) ประชาชนท้องถิ่น (Community) และแหล่งท่องเที่ยว (Attraction) ซึ่งกลุ่มผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเหล่านี้จะต้องมีการจัดการการท่องเที่ยวบริเวณเขื่อนร่วมกันโดยเริ่มตั้งแต่การวางแผน การร่วมมือและการบริหารจัดการเพื่อนำไปสู่การปฎิบัติและการติดตามประเมินผลการปฎิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ","PeriodicalId":31349,"journal":{"name":"Suan Sunandha Rajabhat University Journal of Science and Technology","volume":"1 1","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2021-12-22","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Suan Sunandha Rajabhat University Journal of Science and Technology","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.53848/irdssru.v13i2.250196","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
泰国大坝旅游管理的发展方向
该研究计划旨在综合研究1.泰国大坝的游客价值观和行为研究2.泰国大坝的社区参与管理泰国大坝的生态旅游发展,并提出综合旅游管理的建议。根据这三项研究的分析和综合结果,可以开发大坝旅游管理的模式:在改善旅游管理方面,该地区包括五个相关组织(Gbtca)、政府机构、私营机构、游客、社区和旅游景点。这些参与方必须从合作规划和管理开始对大坝进行旅游管理,以有效地实施和跟踪评估。
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。