รูปแบบการสื่อสารสำหรับการดำเนินชีวิตแบบวิถีปกติใหม่ในเขตอำเภอเมืองนครราชสีมา

สุชาดา น้ำใจดี, วรัชยา เชื้อจันทึก
{"title":"รูปแบบการสื่อสารสำหรับการดำเนินชีวิตแบบวิถีปกติใหม่ในเขตอำเภอเมืองนครราชสีมา","authors":"สุชาดา น้ำใจดี, วรัชยา เชื้อจันทึก","doi":"10.55766/eiyf2789","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"การวิจัยเชิงคุณภาพนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสื่อสารสำหรับพัฒนารูปแบบด้านการดำเนินชีวิตภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของคนเมืองนครราชสีมา กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติเป็นไปตามเกณฑ์การคัดเข้า จำนวน 75 คนโดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วย 1) กลุ่มองค์กรภาครัฐ ได้แก่ ผู้บริหารสูงสุดหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย  2) กลุ่มองค์กรภาคเอกชน ได้แก่ ผู้บริหารที่ดูแลงานด้านการสื่อสารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย และ 3) กลุ่มประชาชน ได้แก่ ผู้นำชุมชน เช่น ประธานชุมชน กำนัน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และประชาชนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอเมืองนครราชสีมา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ ด้านผู้ส่งสาร ด้านสาร ด้านช่องทางการสื่อสาร และด้านผู้รับสาร โดยคัดเลือกจากผลการตรวจสอบค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ที่มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.50 ขึ้นไป จำนวนทั้งสิ้น 62 ข้อ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์แบบกลุ่มและสัมภาษณ์แบบเจาะลึกรายบุคคล และนำข้อมูลมาวิเคราะห์เนื้อหา จำแนก ตีความ สังเคราะห์ และนำเสนอด้วยการพรรณนาวิเคราะห์\nผลการวิจัยพบว่า กลุ่มผู้ส่งสารได้ส่งสารเกี่ยวกับความรู้ ความเข้าใจ อาการ และการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) จนนำไปสู่การดำเนินชีวิตในรูปแบบวิถิปกติใหม่ผ่านช่องทางการสื่อสารโดยใช้สื่อวิทยุโทรทัศน์ สื่อหนังสือพิมพ์ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อวิทยุกระจายเสียง สื่อเสียงตามสายในพื้นที่ สื่ออินเทอร์เน็ต สื่อสังคมออนไลน์ และสื่อบุคคล ไปยังประชาชนซึ่งเป็นผู้รับสาร นำมาซึ่งวิธีปฏิบัติตัวและช่วยลดความเสี่ยง อันประกอบไปด้วย วิธีคิด วิธีเรียนรู้ วิธีสื่อสาร วิธีปฏิบัติ รวมไปถึงวิธีการจัดการชีวิตแบบใหม่เกิดขึ้น อาทิเช่น การประชุมกลุ่มย่อยผ่านระบบออนไลน์ การทำงานจากที่บ้าน การสั่งซื้อเครื่องอุปโภคบริโภคผ่านระบบบริการออนไลน์ การทำธุรกรรมทางการเงินผ่านระบบธนาคารแบบออนไลน์ และระบบการเรียนการสอนออนไลน์ เป็นต้น","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"16 2 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2022-06-07","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Suranaree Journal of Social Science","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.55766/eiyf2789","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

Abstract

การวิจัยเชิงคุณภาพนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสื่อสารสำหรับพัฒนารูปแบบด้านการดำเนินชีวิตภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของคนเมืองนครราชสีมา กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติเป็นไปตามเกณฑ์การคัดเข้า จำนวน 75 คนโดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วย 1) กลุ่มองค์กรภาครัฐ ได้แก่ ผู้บริหารสูงสุดหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย  2) กลุ่มองค์กรภาคเอกชน ได้แก่ ผู้บริหารที่ดูแลงานด้านการสื่อสารหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย และ 3) กลุ่มประชาชน ได้แก่ ผู้นำชุมชน เช่น ประธานชุมชน กำนัน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และประชาชนในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอเมืองนครราชสีมา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ ด้านผู้ส่งสาร ด้านสาร ด้านช่องทางการสื่อสาร และด้านผู้รับสาร โดยคัดเลือกจากผลการตรวจสอบค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ที่มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.50 ขึ้นไป จำนวนทั้งสิ้น 62 ข้อ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์แบบกลุ่มและสัมภาษณ์แบบเจาะลึกรายบุคคล และนำข้อมูลมาวิเคราะห์เนื้อหา จำแนก ตีความ สังเคราะห์ และนำเสนอด้วยการพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มผู้ส่งสารได้ส่งสารเกี่ยวกับความรู้ ความเข้าใจ อาการ และการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) จนนำไปสู่การดำเนินชีวิตในรูปแบบวิถิปกติใหม่ผ่านช่องทางการสื่อสารโดยใช้สื่อวิทยุโทรทัศน์ สื่อหนังสือพิมพ์ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อวิทยุกระจายเสียง สื่อเสียงตามสายในพื้นที่ สื่ออินเทอร์เน็ต สื่อสังคมออนไลน์ และสื่อบุคคล ไปยังประชาชนซึ่งเป็นผู้รับสาร นำมาซึ่งวิธีปฏิบัติตัวและช่วยลดความเสี่ยง อันประกอบไปด้วย วิธีคิด วิธีเรียนรู้ วิธีสื่อสาร วิธีปฏิบัติ รวมไปถึงวิธีการจัดการชีวิตแบบใหม่เกิดขึ้น อาทิเช่น การประชุมกลุ่มย่อยผ่านระบบออนไลน์ การทำงานจากที่บ้าน การสั่งซื้อเครื่องอุปโภคบริโภคผ่านระบบบริการออนไลน์ การทำธุรกรรมทางการเงินผ่านระบบธนาคารแบบออนไลน์ และระบบการเรียนการสอนออนไลน์ เป็นต้น
查看原文
分享 分享
微信好友 朋友圈 QQ好友 复制链接
本刊更多论文
在Nakhon Ratchasima地区,一种新的正常生活方式的交流方式。
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
求助全文
约1分钟内获得全文 去求助
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
期刊最新文献
Nietzsche as Metaphysician Structural Equation Modeling of Food Safety Standard in the Cassava Industry in Thailand Implementing a Portfolio-based Learner Autonomy Development Model in an EFL Writing Course Causal Factors Influencing Development of Organizational Survival for Companies Listed in Thailand Intercultural Language Education: Supportive Factors and Constraints on EFL Learners’ Intercultural Communicative Competence Development
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
现在去查看 取消
×
提示
确定
0
微信
客服QQ
Book学术公众号 扫码关注我们
反馈
×
意见反馈
请填写您的意见或建议
请填写您的手机或邮箱
已复制链接
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
×
扫码分享
扫码分享
Book学术官方微信
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术
文献互助 智能选刊 最新文献 互助须知 联系我们:info@booksci.cn
Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。
Copyright © 2023 Book学术 All rights reserved.
ghs 京公网安备 11010802042870号 京ICP备2023020795号-1