ขนมจีน: ภาพสะท้อนพฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้าของชาวป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

ปุรวิชญ์ พิทยาภินันท์
{"title":"ขนมจีน: ภาพสะท้อนพฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้าของชาวป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง","authors":"ปุรวิชญ์ พิทยาภินันท์","doi":"10.55766/ytnq8707","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพทางเศรษฐสังคมประชากรและพฤติกรรมการรับประทานขนมจีนของผู้บริโภค รวมทั้งศึกษาความคิดเห็นของผู้บริโภคที่มีต่อส่วนประสมทางการตลาดบริการร้านขนมจีน ตลอดจนวิเคราะห์ปัจจัยกำหนดค่าใช้จ่ายในการรับประทานขนมจีนของผู้บริโภคในอำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง การรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามเชิงโครงสร้างกับกลุ่มตัวอย่างผู้บริโภคจำนวน 400 ราย ซึ่งรับประทานขนมจีนที่ร้านขนมจีนอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์ โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์การถดถอยพหุเชิงชั้น ผลการวิจัยพบว่า ผู้บริโภคมากกว่าครึ่งเป็นสตรี มีอายุเฉลี่ย 37.66 ปี มีรายได้เฉลี่ย 13,949.13 บาทต่อเดือน และมีค่าใช้จ่ายในการรับประทานขนมจีนเฉลี่ย 33.58 บาทต่อครั้ง ส่วนประสมทางการตลาดบริการร้านขนมจีนด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการจัดจำหน่าย ด้านบุคคล ด้านลักษณะทางกายภาพ และด้านกระบวนการมีความสำคัญในระดับมาก ขณะที่ส่วนประสมทางการตลาดบริการร้านขนมจีนด้านการส่งเสริมการตลาดมีความสำคัญในระดับปานกลาง ปัจจัยกำหนดค่าใช้จ่ายในการรับประทานขนมจีนเชิงลบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ เพศ ในทางตรงกันข้ามปัจจัยกำหนดค่าใช้จ่ายในการรับประทานขนมจีนเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ระดับการศึกษา รายได้ ความถี่ในการรับประทานขนมจีน และปริมาณการรับประทานขนมจีน จากผลการวิจัยที่ได้ เสนอแนะให้ผู้ประกอบการร้านขนมจีนใช้กลยุทธ์ “ทีคอพ” เพื่อสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้บริโภค","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"18 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2021-12-07","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Suranaree Journal of Social Science","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.55766/ytnq8707","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพทางเศรษฐสังคมประชากรและพฤติกรรมการรับประทานขนมจีนของผู้บริโภค รวมทั้งศึกษาความคิดเห็นของผู้บริโภคที่มีต่อส่วนประสมทางการตลาดบริการร้านขนมจีน ตลอดจนวิเคราะห์ปัจจัยกำหนดค่าใช้จ่ายในการรับประทานขนมจีนของผู้บริโภคในอำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง การรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามเชิงโครงสร้างกับกลุ่มตัวอย่างผู้บริโภคจำนวน 400 ราย ซึ่งรับประทานขนมจีนที่ร้านขนมจีนอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์ โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์การถดถอยพหุเชิงชั้น ผลการวิจัยพบว่า ผู้บริโภคมากกว่าครึ่งเป็นสตรี มีอายุเฉลี่ย 37.66 ปี มีรายได้เฉลี่ย 13,949.13 บาทต่อเดือน และมีค่าใช้จ่ายในการรับประทานขนมจีนเฉลี่ย 33.58 บาทต่อครั้ง ส่วนประสมทางการตลาดบริการร้านขนมจีนด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการจัดจำหน่าย ด้านบุคคล ด้านลักษณะทางกายภาพ และด้านกระบวนการมีความสำคัญในระดับมาก ขณะที่ส่วนประสมทางการตลาดบริการร้านขนมจีนด้านการส่งเสริมการตลาดมีความสำคัญในระดับปานกลาง ปัจจัยกำหนดค่าใช้จ่ายในการรับประทานขนมจีนเชิงลบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ เพศ ในทางตรงกันข้ามปัจจัยกำหนดค่าใช้จ่ายในการรับประทานขนมจีนเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ระดับการศึกษา รายได้ ความถี่ในการรับประทานขนมจีน และปริมาณการรับประทานขนมจีน จากผลการวิจัยที่ได้ เสนอแนะให้ผู้ประกอบการร้านขนมจีนใช้กลยุทธ์ “ทีคอพ” เพื่อสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้บริโภค
查看原文
分享 分享
微信好友 朋友圈 QQ好友 复制链接
本刊更多论文
中国小吃:帕特帕特省野生动物早餐行为的反映
该研究旨在研究中国的社会经济状况、人口和消费者吃零食的行为,并分析影响中国糖果服务市场份额的消费者意见,并对泰国普吉岛地区的消费者吃零食的成本因素进行分析。他们每周至少在一家中国糖果店吃一次中国零食,使用随机抽样。研究结果显示,超过一半的消费者是女性,平均年龄为37.66岁,平均每月收入为13949.13泰铢,平均消费为33.58泰铢。虽然中国糖果店的营销模式在推广方面具有中度的重要性,但在统计上显著的负面影响是性别。与此相反,积极的零食成本决定因素包括教育水平、收入、食用频率和零食数量。
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
求助全文
约1分钟内获得全文 去求助
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
期刊最新文献
Nietzsche as Metaphysician Structural Equation Modeling of Food Safety Standard in the Cassava Industry in Thailand Implementing a Portfolio-based Learner Autonomy Development Model in an EFL Writing Course Causal Factors Influencing Development of Organizational Survival for Companies Listed in Thailand Intercultural Language Education: Supportive Factors and Constraints on EFL Learners’ Intercultural Communicative Competence Development
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
现在去查看 取消
×
提示
确定
0
微信
客服QQ
Book学术公众号 扫码关注我们
反馈
×
意见反馈
请填写您的意见或建议
请填写您的手机或邮箱
已复制链接
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
×
扫码分享
扫码分享
Book学术官方微信
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术
文献互助 智能选刊 最新文献 互助须知 联系我们:info@booksci.cn
Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。
Copyright © 2023 Book学术 All rights reserved.
ghs 京公网安备 11010802042870号 京ICP备2023020795号-1