{"title":"โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงบูรณาการที่ส่งผลต่อโรงเรียนคุณภาพ","authors":"ศักดา พรมกุล, เสาวนี สิริสุขศิลป์","doi":"10.55766/lkgt5598","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับและอิทธิพลภาวะผู้นำเชิงบูรณาการและโรงเรียนคุณภาพ 2) ตรวจสอบความสอดคล้องความกลมกลืนของโมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงบูรณาการที่ส่งผลต่อโรงเรียนคุณภาพ ที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงบรรยาย (Descriptive Research) กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่เป็นฟังก์ชันของจำนวนพารามิเตอร์ 15 หน่วย ต่อ 1 พารามิเตอร์ การวิจัยครั้งนี้มีจำนวน 10 พารามิเตอร์ ใช้กลุ่มประชากรจำนวน 150 หน่วย โดย 1 หน่วยจะสุ่มเก็บจากครูและผู้บริหารสถานศึกษา โดยใช้จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 300 คน วิธีการสุ่มหลายขั้นตอน (Multi-stage random sampling) ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย คือ ตัวแปรแฝง 2 ตัวแปร และตัวแปรแฝงภายใน ประกอบด้วยตัวแปรสังเกตได้ 5 ตัวแปร เครื่องมือในการวิจัย เป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) แบบสอบถามเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating scale)โดยแบบสอบถามทั้งฉบับมีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) เท่ากับ 0.943 ในการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ภาวะผู้นำเชิงบูรณาการ ส่งผลต่อโรงเรียนคุณภาพ ซึ่งสรุปผลการวิจัยได้ดังนี้\n\nภาวะผู้นำเชิงบูรณาการของผู้บริหาร พบว่า โดยภาพรวมและรายด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือด้านมีวิสัยทัศน์เชิงบูรณาการ ส่วนด้านที่มีค่าต่ำที่สุด คือด้านทำงานเป็นทีมและด้านการมุ่งความสำเร็จ\nระดับการเป็นโรงเรียนคุณภาพ พบว่า โดยภาพรวมและรายด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็น รายด้านพบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือด้านมีผู้บริหารมีภาวะผู้นำ ส่วนด้านที่มีค่าต่ำที่สุดคือด้านการมีส่วนร่วมของชุมชน\nอิทธิพลของภาวะผู้นำเชิงบูรณาการที่ส่งผลโรงเรียนคุณภาพ มีขนาดอิทธิพลรวมและอิทธิพลทางตรงเชิงบวกเท่ากับ 0.781 โดยตัวแปรภาวะผู้นำเชิงบูรณาการในโมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนของการเป็นโรงเรียนคุณภาพได้ร้อยละ 61.10 (R2=0.611)\nโมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงบูรณาการที่ส่งผลต่อโรงเรียนคุณภาพ มีความสอดคล้องกลมกลืนกับ ข้อมูลเชิงประจักษ์ =31.525, df = 25, / df = 1.261, P-value = 0.1722, RMSEA = 0.029, SRMR = 0.025, CFI =0.997, TLI = 0.995\n","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"104 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2022-03-10","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Suranaree Journal of Social Science","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.55766/lkgt5598","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
模型,结构方程,综合领导,影响学校质量。
本研究的目的是:1)研究综合领导能力的水平和影响力,以及基于经验数据的综合领导能力。使用描述性研究方法(descriptiveResearchResearchers)确定样本的大小,即每个参数15个单位,其中10个参数为150个单位。其中一个单元是随机从教师和学校管理人员那里收集的。采用300人随机抽样的方法,研究变量为2个可观测变量,内部变量为5个可观测变量。综上所述,研究结果如下:高管的综合领导能力总体上和总体上是平均水平。考虑到边值,平均最高的边值是综合视野的边值,最小的边值是综合视野的边值。在团队合作和目标方面,高质量学校的整体水平和平均水平是非常高的。其中,平均水平最高的是行政领导能力,最低的是社区参与程度,综合领导能力对学校的影响,总影响和积极影响为0.781。综合领导变量可以描述影响综合领导能力的学校的方差。模型的综合领导能力方程是与经验数据一致的=31.525 df = 2551 P-值= 0.1722 RMSEA = 0.029, SRMR = 0.025, CFI = 0.997tli = 0.995。
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。