การรับรู้ของนักศึกษาต่อนโยบายและโครงการการพัฒนาผู้เรียนภาษาอังกฤษตามกรอบอ้างอิง CEFR ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

เบญจมิน บุญจริง, ปรมัษฐ์ ไกรทอง, ผานิต สิงหสุวรรณ, ชไมพร พุทธรัตน์
{"title":"การรับรู้ของนักศึกษาต่อนโยบายและโครงการการพัฒนาผู้เรียนภาษาอังกฤษตามกรอบอ้างอิง CEFR ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช","authors":"เบญจมิน บุญจริง, ปรมัษฐ์ ไกรทอง, ผานิต สิงหสุวรรณ, ชไมพร พุทธรัตน์","doi":"10.55766/kczm2662","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"กระทรวงศึกษาธิการกำหนดนโยบายยกระดับและพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของไทยให้สอดคล้องกับทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยใช้กรอบอ้างอิง CEFR กับนักศึกษาระดับปริญญาตรี รหัสปี 2559 เป็นครั้งแรก การวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้และความคิดเห็นของนักศึกษาต่อความสำคัญและการเข้าถึงนโยบายและแนวปฏิบัติในการยกระดับมาตรฐานภาษาอังกฤษตามกรอบอ้างอิง CEFR ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ถึงชั้นปีที่ 3 จำนวน 225 คน จากทั้ง 5 คณะ ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยโปรแกรมไมโครซอฟท์เอ็กซ์เซล และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษามีความเข้าใจต่อนโยบายด้านภาษาอังกฤษของมหาวิทยาลัยและต่อกรอบอ้างอิง CEFR ในด้านความหมาย ความสามารถทางภาษาที่แตกต่างกันในแต่ละระดับ นักศึกษาเห็นประโยชน์ในการเข้าร่วมโครงการพัฒนาภาษาอังกฤษและการนำมาประยุกต์ใช้ในระดับมาก นอกจากนี้ยังพบว่าการนำนโยบายด้านพัฒนาภาษาอังกฤษมาประยุกต์ใช้ตรงต่อความคาดหวังและความต้องการของนักศึกษา อีกทั้งนักศึกษายังรับรู้ว่ากรอบอ้างอิง CEFR เป็นเครื่องมือใช้วัดระดับความสามารถด้านภาษาอังกฤษ และมีผลวิจัยบ่งชี้ว่าคณะ สาขาวิชา และอาจารย์ที่ปรึกษาให้ความร่วมมือกับศูนย์ภาษาเป็นสื่อกลางในการประชาสัมพันธ์โครงการให้แก่นักศึกษา ผลการวิจัยยังสะท้อนว่านักศึกษาเริ่มให้ความสำคัญต่อนโยบายและโครงการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกรอบอ้างอิง CEFR มากขึ้น นักศึกษามีการปรับเปลี่ยนทัศนคติต่อนโยบายการพัฒนาภาษาอังกฤษไปในทางที่ดี ผลการวิจัยนี้สามารถนำมาเป็นฐานข้อมูลประกอบการออกแบบโครงการพัฒนาภาษาอังกฤษตามกรอบอ้างอิง CEFR ให้แก่นักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏและมหาวิทยาลัยอื่น ๆ  ทั่วประเทศ","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"8 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2021-08-26","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Suranaree Journal of Social Science","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.55766/kczm2662","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

Abstract

กระทรวงศึกษาธิการกำหนดนโยบายยกระดับและพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของไทยให้สอดคล้องกับทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยใช้กรอบอ้างอิง CEFR กับนักศึกษาระดับปริญญาตรี รหัสปี 2559 เป็นครั้งแรก การวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้และความคิดเห็นของนักศึกษาต่อความสำคัญและการเข้าถึงนโยบายและแนวปฏิบัติในการยกระดับมาตรฐานภาษาอังกฤษตามกรอบอ้างอิง CEFR ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ถึงชั้นปีที่ 3 จำนวน 225 คน จากทั้ง 5 คณะ ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยโปรแกรมไมโครซอฟท์เอ็กซ์เซล และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษามีความเข้าใจต่อนโยบายด้านภาษาอังกฤษของมหาวิทยาลัยและต่อกรอบอ้างอิง CEFR ในด้านความหมาย ความสามารถทางภาษาที่แตกต่างกันในแต่ละระดับ นักศึกษาเห็นประโยชน์ในการเข้าร่วมโครงการพัฒนาภาษาอังกฤษและการนำมาประยุกต์ใช้ในระดับมาก นอกจากนี้ยังพบว่าการนำนโยบายด้านพัฒนาภาษาอังกฤษมาประยุกต์ใช้ตรงต่อความคาดหวังและความต้องการของนักศึกษา อีกทั้งนักศึกษายังรับรู้ว่ากรอบอ้างอิง CEFR เป็นเครื่องมือใช้วัดระดับความสามารถด้านภาษาอังกฤษ และมีผลวิจัยบ่งชี้ว่าคณะ สาขาวิชา และอาจารย์ที่ปรึกษาให้ความร่วมมือกับศูนย์ภาษาเป็นสื่อกลางในการประชาสัมพันธ์โครงการให้แก่นักศึกษา ผลการวิจัยยังสะท้อนว่านักศึกษาเริ่มให้ความสำคัญต่อนโยบายและโครงการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกรอบอ้างอิง CEFR มากขึ้น นักศึกษามีการปรับเปลี่ยนทัศนคติต่อนโยบายการพัฒนาภาษาอังกฤษไปในทางที่ดี ผลการวิจัยนี้สามารถนำมาเป็นฐานข้อมูลประกอบการออกแบบโครงการพัฒนาภาษาอังกฤษตามกรอบอ้างอิง CEFR ให้แก่นักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏและมหาวิทยาลัยอื่น ๆ  ทั่วประเทศ
查看原文
分享 分享
微信好友 朋友圈 QQ好友 复制链接
本刊更多论文
学生对政策和项目的认知是基于Rajapaksa Nakhon Sri Ra的参考框架。
教育部长制定了政策,提高和提高泰国的英语技能,以符合21世纪的技能。研究对象包括5个小组的225名大一至三年级学生,他们通过问卷和访谈收集数据。然后用微软Excel软件进行定量分析,并对其内容进行定性分析。在不同层次的语言能力的意义上,学生在参加英语发展和应用项目时看到了巨大的好处。此外,研究表明,Cefr参考框架是衡量英语能力水平的工具,学术和咨询教授与语言中心合作,为学生宣传项目,研究结果表明,学生越来越重视与Cefr框架相关的政策和项目。研究结果可以为泰国曼谷大学和其他泰国大学的学生提供一个基于CEFR参考框架的英语发展项目的数据库。
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
求助全文
约1分钟内获得全文 去求助
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
期刊最新文献
Nietzsche as Metaphysician Structural Equation Modeling of Food Safety Standard in the Cassava Industry in Thailand Implementing a Portfolio-based Learner Autonomy Development Model in an EFL Writing Course Causal Factors Influencing Development of Organizational Survival for Companies Listed in Thailand Intercultural Language Education: Supportive Factors and Constraints on EFL Learners’ Intercultural Communicative Competence Development
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
现在去查看 取消
×
提示
确定
0
微信
客服QQ
Book学术公众号 扫码关注我们
反馈
×
意见反馈
请填写您的意见或建议
请填写您的手机或邮箱
已复制链接
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
×
扫码分享
扫码分享
Book学术官方微信
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术
文献互助 智能选刊 最新文献 互助须知 联系我们:info@booksci.cn
Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。
Copyright © 2023 Book学术 All rights reserved.
ghs 京公网安备 11010802042870号 京ICP备2023020795号-1