การวิเคราะห์ความไม่เท่าเทียมของการถือครองที่ดินทำการเกษตรกับความสัมพันธ์ของจำนวนสมาชิก และรายได้ครัวเรือน บ้านห้วยปูน้อย อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่

สืบพงษ์ พงษ์สวัสดิ์, จารุณี ภัทรวงษ์ธนา, ธรรมพร หาญผจญศึก
{"title":"การวิเคราะห์ความไม่เท่าเทียมของการถือครองที่ดินทำการเกษตรกับความสัมพันธ์ของจำนวนสมาชิก และรายได้ครัวเรือน บ้านห้วยปูน้อย อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่","authors":"สืบพงษ์ พงษ์สวัสดิ์, จารุณี ภัทรวงษ์ธนา, ธรรมพร หาญผจญศึก","doi":"10.55766/bshu1036","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สำรวจขอบเขตการถือครองที่ดินและจัดทำฐานข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2) วิเคราะห์ความไม่เท่าเทียมของการถือครองที่ดินและรายได้ของครัวเรือน และ 3) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของเนื้อที่ถือครองที่ดินกับจำนวนสมาชิกในครัวเรือนและรายได้ของครัวเรือน ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ได้เจาะจงศึกษาครัวเรือนเกษตรกรทั้งหมด 19 ครัวเรือนของบ้านห้วยปูน้อย ตำบลยางเปียง อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้แผนที่ข้อมูลดาวเทียมรายละเอียดสูงเป็นเครื่องมือ ผลการวิจัยพบว่า เกษตรกรมีความเข้าใจแผนที่ข้อมูลดาวเทียมรายละเอียดสูง สามารถเชื่อมโยงกับพื้นที่จริง ทำให้ลากขอบเขตแปลงที่ดินของเกษตรกรได้ จากการวิเคราะห์ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์พบว่าพื้นที่เกษตรกรรมทั้งหมด 1,757.54 ไร่ แบ่งเป็นแปลงถือครองทั้งหมด 92 แปลง ถือครองโดยเกษตรกร 17 ครัวเรือน โดยมี 2 ครัวเรือนที่ไม่มีพื้นที่ทำกิน แปลงที่ดินถือครองแต่ละแปลงมีเนื้อที่รวมเฉลี่ย 13.33 ไร่ และแต่ละครัวเรือนมีแปลงถือครองโดยเฉลี่ย 5 แปลง ความไม่เท่าเทียมของรายได้มีค่าสัมประสิทธิ์จีนี 0.38 และ 0.73 และการถือครองที่ดินกระจุกตัวอยู่ในบางครัวเรือน เนื้อที่ถือครองกับจำนวนสมาชิกในครัวเรือนมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน (r = 0.54)โดยเนื้อที่ถือครองเป็นผลมาจากจำนวนสมาชิกในครัวเรือนเพียงร้อยละ 29 ( r2= 0.29). ส่วนเนื้อที่ถือครองกับรายได้ครัวเรือนมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน ( r=0.07) โดยเนื้อที่ถือครองเป็นผลมาจากรายได้ของครัวเรือนเพียงร้อยละ 1 เท่านั้น  (r2  = 0.01).","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"55 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2022-05-09","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Suranaree Journal of Social Science","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.55766/bshu1036","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สำรวจขอบเขตการถือครองที่ดินและจัดทำฐานข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2) วิเคราะห์ความไม่เท่าเทียมของการถือครองที่ดินและรายได้ของครัวเรือน และ 3) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของเนื้อที่ถือครองที่ดินกับจำนวนสมาชิกในครัวเรือนและรายได้ของครัวเรือน ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ได้เจาะจงศึกษาครัวเรือนเกษตรกรทั้งหมด 19 ครัวเรือนของบ้านห้วยปูน้อย ตำบลยางเปียง อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้แผนที่ข้อมูลดาวเทียมรายละเอียดสูงเป็นเครื่องมือ ผลการวิจัยพบว่า เกษตรกรมีความเข้าใจแผนที่ข้อมูลดาวเทียมรายละเอียดสูง สามารถเชื่อมโยงกับพื้นที่จริง ทำให้ลากขอบเขตแปลงที่ดินของเกษตรกรได้ จากการวิเคราะห์ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์พบว่าพื้นที่เกษตรกรรมทั้งหมด 1,757.54 ไร่ แบ่งเป็นแปลงถือครองทั้งหมด 92 แปลง ถือครองโดยเกษตรกร 17 ครัวเรือน โดยมี 2 ครัวเรือนที่ไม่มีพื้นที่ทำกิน แปลงที่ดินถือครองแต่ละแปลงมีเนื้อที่รวมเฉลี่ย 13.33 ไร่ และแต่ละครัวเรือนมีแปลงถือครองโดยเฉลี่ย 5 แปลง ความไม่เท่าเทียมของรายได้มีค่าสัมประสิทธิ์จีนี 0.38 และ 0.73 และการถือครองที่ดินกระจุกตัวอยู่ในบางครัวเรือน เนื้อที่ถือครองกับจำนวนสมาชิกในครัวเรือนมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน (r = 0.54)โดยเนื้อที่ถือครองเป็นผลมาจากจำนวนสมาชิกในครัวเรือนเพียงร้อยละ 29 ( r2= 0.29). ส่วนเนื้อที่ถือครองกับรายได้ครัวเรือนมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน ( r=0.07) โดยเนื้อที่ถือครองเป็นผลมาจากรายได้ของครัวเรือนเพียงร้อยละ 1 เท่านั้น  (r2  = 0.01).
查看原文
分享 分享
微信好友 朋友圈 QQ好友 复制链接
本刊更多论文
对农业土地所有权的不平等与家庭成员数量和收入的关系进行了分析。
研究的目的是:1)调查土地占有的范围,建立一个地理信息系统数据库;2)分析土地占有和家庭收入的不平等;3)分析土地占有与家庭成员数量和家庭收入的关系。通过使用高分辨率卫星数据地图作为工具,研究结果表明,农民对高分辨率卫星数据地图的理解可以与实际区域相关联,从而拖动农民土地转换。通过对地理信息系统的分析,农业面积为1377.54公顷,其中92公顷由17户农民拥有。5 .收入不平等系数分别为0.38和0.73 .在一些家庭中,土地拥有量与家庭成员数量呈负相关(r = 0.54),而土地拥有量与家庭成员数量呈负相关(r = 0.29)。肉只占家庭收入的1%。t (r / 2) = 0.01。
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
求助全文
约1分钟内获得全文 去求助
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
期刊最新文献
Nietzsche as Metaphysician Structural Equation Modeling of Food Safety Standard in the Cassava Industry in Thailand Implementing a Portfolio-based Learner Autonomy Development Model in an EFL Writing Course Causal Factors Influencing Development of Organizational Survival for Companies Listed in Thailand Intercultural Language Education: Supportive Factors and Constraints on EFL Learners’ Intercultural Communicative Competence Development
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
现在去查看 取消
×
提示
确定
0
微信
客服QQ
Book学术公众号 扫码关注我们
反馈
×
意见反馈
请填写您的意见或建议
请填写您的手机或邮箱
已复制链接
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
×
扫码分享
扫码分享
Book学术官方微信
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术
文献互助 智能选刊 最新文献 互助须知 联系我们:info@booksci.cn
Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。
Copyright © 2023 Book学术 All rights reserved.
ghs 京公网安备 11010802042870号 京ICP备2023020795号-1