ปัญหาการจัดการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศสเชิงรุกในโรงเรียนมัธยมศึกษาในภาคใต้

ศิริมา ปุรินทราภิบาล, เกศินี ชัยศรี
{"title":"ปัญหาการจัดการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศสเชิงรุกในโรงเรียนมัธยมศึกษาในภาคใต้","authors":"ศิริมา ปุรินทราภิบาล, เกศินี ชัยศรี","doi":"10.55766/cyhw5075","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาการจัดการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อการจัดการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศสในโรงเรียนมัธยมศึกษาในภาคใต้ เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน ใช้เครื่องมือวิจัยคือ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และการสังเกตการสอน กลุ่มประชากร และกลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย 1) กลุ่มประชากรครูภาษาฝรั่งเศสจำนวน 28 คน และ 2) กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม คือ ครูภาษาฝรั่งเศสจำนวน 15 คนที่คัดเลือกมาแบบสมัครใจสำหรับการสังเกตการสอน และกลุ่มตัวอย่างนักเรียนที่เรียนภาษาฝรั่งเศสระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4  5 และ 6 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา 20 แห่งใน 14 จังหวัดภาคใต้ จำนวน 655 คน ผู้วิจัยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามวิธีของทาโร ยามาเน่ ได้จำนวน 655 คนและคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง โดยให้ครูเป็นผู้คัดเลือกโรงเรียนละ 33 คน แบบสอบถามที่สมบูรณ์สามารถนำมาประมวลผลได้มีจำนวน 601 ชุด คิดเป็นร้อยละ 91.75 เนื่องจากบางโรงเรียนมีจำนวนนักเรียนในบางระดับชั้นน้อยกว่าที่กำหนดไว้ และให้ครูผู้สอนภาษาฝรั่งเศสคัดเลือกนักเรียนจากกลุ่มตัวอย่างข้างต้นโรงเรียนละ 3 คนสำหรับการสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่าปัญหาการจัดการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อการจัดการจัดการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศสในโรงเรียนมัธยมศึกษาในภาคใต้ แบ่งออกเป็น 3 ประเด็นหลักคือ ปัญหาเกี่ยวกับครู เช่น มีภาระงานสอนและงานอื่น ๆ มากทำให้ไม่มีเวลาเตรียมการสอน ขาดความชำนาญและประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ระดับความรู้ภาษาฝรั่งเศสไม่ดีพอ ใช้สื่อการสอน บางประเภทไม่ได้ ขาดครูเจ้าของภาษา ปัญหาเกี่ยวกับผู้เรียนเช่น นักเรียนไม่กล้าพูด ไม่กล้าแสดงออก ไม่กล้าแสดงความคิดเห็น ขาดทักษะการศึกษาค้นคว้า ขาดทักษะพื้นฐานในการแสดงความเป็นเหตุเป็นผล ขาดความรับผิดชอบ ขาดความสามัคคี ไม่มีแรงจูงใจในการเรียน ความรู้พื้นฐานภาษาฝรั่งเศสน้อย  และปัญหาเกี่ยวกับสื่อและอุปกรณ์การสอน เช่น สื่อเทคโนโลยีไม่เพียงพอ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตไม่เสถียร และช้ามาก ห้องเรียนไม่พร้อมสำหรับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"169 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2022-11-22","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Suranaree Journal of Social Science","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.55766/cyhw5075","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

Abstract

การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาการจัดการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อการจัดการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศสในโรงเรียนมัธยมศึกษาในภาคใต้ เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน ใช้เครื่องมือวิจัยคือ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และการสังเกตการสอน กลุ่มประชากร และกลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย 1) กลุ่มประชากรครูภาษาฝรั่งเศสจำนวน 28 คน และ 2) กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม คือ ครูภาษาฝรั่งเศสจำนวน 15 คนที่คัดเลือกมาแบบสมัครใจสำหรับการสังเกตการสอน และกลุ่มตัวอย่างนักเรียนที่เรียนภาษาฝรั่งเศสระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4  5 และ 6 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา 20 แห่งใน 14 จังหวัดภาคใต้ จำนวน 655 คน ผู้วิจัยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามวิธีของทาโร ยามาเน่ ได้จำนวน 655 คนและคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง โดยให้ครูเป็นผู้คัดเลือกโรงเรียนละ 33 คน แบบสอบถามที่สมบูรณ์สามารถนำมาประมวลผลได้มีจำนวน 601 ชุด คิดเป็นร้อยละ 91.75 เนื่องจากบางโรงเรียนมีจำนวนนักเรียนในบางระดับชั้นน้อยกว่าที่กำหนดไว้ และให้ครูผู้สอนภาษาฝรั่งเศสคัดเลือกนักเรียนจากกลุ่มตัวอย่างข้างต้นโรงเรียนละ 3 คนสำหรับการสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่าปัญหาการจัดการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อการจัดการจัดการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศสในโรงเรียนมัธยมศึกษาในภาคใต้ แบ่งออกเป็น 3 ประเด็นหลักคือ ปัญหาเกี่ยวกับครู เช่น มีภาระงานสอนและงานอื่น ๆ มากทำให้ไม่มีเวลาเตรียมการสอน ขาดความชำนาญและประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ระดับความรู้ภาษาฝรั่งเศสไม่ดีพอ ใช้สื่อการสอน บางประเภทไม่ได้ ขาดครูเจ้าของภาษา ปัญหาเกี่ยวกับผู้เรียนเช่น นักเรียนไม่กล้าพูด ไม่กล้าแสดงออก ไม่กล้าแสดงความคิดเห็น ขาดทักษะการศึกษาค้นคว้า ขาดทักษะพื้นฐานในการแสดงความเป็นเหตุเป็นผล ขาดความรับผิดชอบ ขาดความสามัคคี ไม่มีแรงจูงใจในการเรียน ความรู้พื้นฐานภาษาฝรั่งเศสน้อย  และปัญหาเกี่ยวกับสื่อและอุปกรณ์การสอน เช่น สื่อเทคโนโลยีไม่เพียงพอ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตไม่เสถียร และช้ามาก ห้องเรียนไม่พร้อมสำหรับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก
查看原文
分享 分享
微信好友 朋友圈 QQ好友 复制链接
本刊更多论文
在南方高等教育中,积极主动的法语教学的管理问题。
本研究的目的是研究南中学法语教学的主动学习管理问题,并使用综合研究工具进行问卷调查和教学观察。在14个南部省份的20所中学中,有655名学生通过Taro Yamanay的方法确定了样本大小,并以随机抽样的方法确定了样本的大小。结果表明,南方高中的主动学习管理问题主要分为3个问题:教师的主动学习管理问题,如教学任务和其他任务。由于缺乏教学准备时间,缺乏专业知识和积极主动的管理经验,法语知识水平不够。使用一些教学材料并不缺乏教师,对学习者的问题,比如学生不敢说话,不敢发表评论,缺乏研究技能,缺乏逻辑,缺乏责任心,缺乏基本的学习技能,法语基础知识不足,媒体和教学设备的问题,如技术媒体不够,网络不稳定,速度慢。课堂还没有准备好组织主动学习。
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
求助全文
约1分钟内获得全文 去求助
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
期刊最新文献
Nietzsche as Metaphysician Structural Equation Modeling of Food Safety Standard in the Cassava Industry in Thailand Implementing a Portfolio-based Learner Autonomy Development Model in an EFL Writing Course Causal Factors Influencing Development of Organizational Survival for Companies Listed in Thailand Intercultural Language Education: Supportive Factors and Constraints on EFL Learners’ Intercultural Communicative Competence Development
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
现在去查看 取消
×
提示
确定
0
微信
客服QQ
Book学术公众号 扫码关注我们
反馈
×
意见反馈
请填写您的意见或建议
请填写您的手机或邮箱
已复制链接
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
×
扫码分享
扫码分享
Book学术官方微信
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术
文献互助 智能选刊 最新文献 互助须知 联系我们:info@booksci.cn
Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。
Copyright © 2023 Book学术 All rights reserved.
ghs 京公网安备 11010802042870号 京ICP备2023020795号-1