{"title":"ตัวแบบสมการโครงสร้าง และการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของความภักดีต่อแหล่งท่องเที่ยว ระหว่างนักท่องเที่ยวชาวไทย และชาวต่างชาติ ต่ออุทยานประวัติศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ","authors":"พงษ์นรินทร์ ปิดจัตุรัส, ณพรรณ สินธุศิริ, ปิยมาภรณ์ เทียมจิตร, คมกริช วงศ์แข","doi":"10.55766/owqj4689","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของตัวแบบสมการโครงสร้างกับข้อมูลเชิงประจักษ์ รวมถึงปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีผลต่อความภักดีต่อแหล่งท่องเที่ยว และการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของแบบจำลองระหว่างนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติต่ออุทยานประวัติศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยกลุ่มตัวอย่าง คือ นักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติที่เดินทางมาท่องเที่ยวภายในอุทยานประวัติศาสตร์พิมาย อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง และอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท จำนวน 390 คน วิธีการสุ่มตัวอย่างใช้เทคนิคการสุ่มแบบเจาะจง และการสุ่มแบบโควตา โดยกำหนดกลุ่มตัวอย่างในสถานที่แต่ละแห่งเท่า ๆ กัน กรอบแนวคิดได้ถูกกำหนดขึ้นตามแนวทางทฤษฎีขั้นบันไดแห่งการเดินทาง ประกอบด้วยตัวแปรหลัก 4 ตัวแปร ได้แก่ การจัดการแหล่งท่องเที่ยว แรงจูงใจในการท่องเที่ยว คุณค่าที่ได้รับจากการท่องเที่ยว และความภักดีต่อแหล่งท่องเที่ยว โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมลิสเรล 8.72 ในการทดสอบสมมติฐาน ผลการวิจัยพบว่า ตัวแบบสมการโครงสร้างมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ในระดับดี ในขณะที่ความภักดีต่อแหล่งท่องเที่ยวได้รับอิทธิพลทางอ้อมจากการจัดการแหล่งท่องเที่ยว และแรงจูงใจในการท่องเที่ยวโดยผ่านคุณค่าที่ได้รับจากการท่องเที่ยว นอกจากนี้ ตัวแบบสมการโครงสร้างมีความแปรเปลี่ยนของโมเดลความภักดีต่อแหล่งท่องเที่ยวระหว่างนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติต่ออุทยานประวัติศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"2 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2021-03-18","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Suranaree Journal of Social Science","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.55766/owqj4689","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
结构方程模型,以及泰国和外国游客对东北历史公园的忠诚度的不方差测试。
该研究旨在验证结构方程模型与经验数据的一致性,以及影响泰国和外国游客对东北历史公园忠诚度的原因,以及模型的不一致性。这些样本是泰国游客和外国游客在Pymai历史公园、Phanom Phong Phil历史公园、Phanpong Phoong历史公园和Phra历史公园内的390名游客。概念框架由四个主要变量组成:旅游资源管理、旅游动机、旅游价值和旅游忠诚度。使用问卷作为研究和数据分析工具,使用Lisrel 8.72程序进行假设检验,研究结果表明结构方程模型与经验数据具有良好的一致性。此外,结构方程本身也改变了泰国游客和外国游客对东北历史公园的忠诚度模式。
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。