{"title":"การยืนยันตัวตนจากประสบการณ์ “ความเป็นแม่” ผ่านแนวคิดปรัชญาสตรีนิยมของอิริกาเรย์","authors":"วัจนา เสริมสาธนสวัสดิ์","doi":"10.55766/omwl1362","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"บทความชิ้นนี้เป็นงานศึกษาประเด็นแม่และความเป็นแม่โดยการประยุกต์ใช้วิธีวิทยาการศึกษาอัตชีวประวัติชาติพรรณวรรณา (auto-ethnography) มรรควิธีการศึกษาหนึ่งที่สำคัญในการต่อสู้ทางการเมืองของนักสตรีนิยมในฐานะที่เป็นหนทางของการสร้างความรู้ใหม่จากจุดยืนของเจ้าของประสบการณ์ที่ไม่เพียงแค่นำมาซึ่งการวิพากษ์สังคมในมุมมองที่ลึกซึ้งและแตกต่าง ทว่ายังสร้างความท้าทายและข้อถกเถียงใหม่ในทางญาณวิทยาของการศึกษาวิจัยทางสังคมศาสตร์อีกด้วย รอยทางการเติบโตที่เริ่มจากการกลับไปอ่านและสำรวจประสบการณ์ที่ธรรมดาสามัญของแม่และตนเอง ในฐานะลูกสาว ผู้หญิงและผู้ศึกษาที่เติบโตมาในครอบครัวที่มีความรุนแรง จากการพยายามทำความเข้าใจแม่ของตนเองมาสู่เส้นทางการเป็นแม่ด้วยตนเอง สะท้อนให้เห็นความรักความผูกพันธ์อันลึกซึ้งทั้งทางร่างกายและจิตใจระหว่างแม่ลูก แต่ทว่าในอีกมุมหนึ่งจิตวิญญาณของแม่ยังคงถูกจองจำและดำรงอยู่ในความเงียบงัน สับสน โดดเดี่ยวจากรูปแบบความสัมพันธ์ที่รายล้อมในชีวิตผู้หญิง ก่อให้เกิดการตกผลึกทางความคิด ความเข้าใจ และรับรู้อย่างลึกซึ้งต่อการตระหนักรู้ในองค์ประธานแห่งตน การเดินทางเรียนรู้ตัวตนผ่านความสับสน การตั้งคำถาม ความไม่เข้าใจ มาสู่การเรียนรู้ในการเคารพตนเอง การตระหนักรู้ในสิทธิ เนื้อตัวร่างกายของตนเองเป็นฐานเริ่มแรกที่มั่นคง ซึ่งในท้ายที่สุดจะขยายต่อไปสู่การตระหนักรู้ในตัวตนและสิทธิของผู้อื่น กล่าวได้ว่า การค้นพบและตระหนักรู้ซึ่งองค์ประธานแห่งตนเป็นจุดเริ่มต้นของการบ่มเพาะสังคมแห่งความเท่าเทียม และการดำรงอยู่ร่วมกันอย่างสันติจากฐานคิดแห่งการเคารพความเป็นมนุษย์กันอย่างแท้จริง","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"25 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2019-12-27","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Suranaree Journal of Social Science","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.55766/omwl1362","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
通过艾里卡雷的女权主义哲学,“母性”经历的自我确认。
这篇文章主要探讨了民族自传式教育在女性主义政治斗争中所面临的问题和母性问题,作为一种从经验所有者的立场中获得新知识的方法,不仅从不同的角度提出了新的见解,而且在社会科学研究的意义上提出了新的挑战和争论。成长的足迹,从阅读和探索母亲和自己的平凡经历开始。作为一个女儿,一个在暴力家庭长大的女性和教育者,试图理解自己的母亲,走上了做母亲的道路。这反映了母子之间的爱、身体上和精神上的深厚联系,但在另一个角度上,我的灵魂仍然被束缚在沉默中,被女性生活中根深蒂固的关系模式所束缚,形成了对母子意识的深刻理解和认识。通过困惑、质疑、不理解和自我尊重来学习自我。对权利的认识,身体本身,是一个坚实的基础。这最终将扩展到对他人的自我和权利的认识,也就是说,发现和认识自己是一个平等社会的萌芽,并在尊重人性的基础上和平共处。
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。