การพัฒนากลไกขับเคลื่อนอาหารปลอดภัย ในกลุ่มธุรกิจโรงแรมและที่พัก: กรณีศึกษา อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย

วิวัฒน์ แก้วดวงเล็ก, วีรยุทธ สิริรัตน์เรืองสุข
{"title":"การพัฒนากลไกขับเคลื่อนอาหารปลอดภัย ในกลุ่มธุรกิจโรงแรมและที่พัก: กรณีศึกษา อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย","authors":"วิวัฒน์ แก้วดวงเล็ก, วีรยุทธ สิริรัตน์เรืองสุข","doi":"10.55766/ooxk4488","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเพื่อพัฒนากลไกในการขับเคลื่อนอาหารปลอดภัย ของกลุ่มธุรกิจโรงแรม ในพื้นที่อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย โดยมีกระบวนการในการวิจัยเริ่มจาก การสัมภาษณ์เชิงลึกของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในด้านอาหารปลอดภัยของจังหวัดเชียงราย ร่วมกับการเก็บข้อมูลในกลุ่มตัวอย่างที่เป็นโรงแรมในอำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย จำนวน 5 แห่งซึ่งทำการสำรวจสภาพแวดล้อมในการประกอบอาหาร รวมทั้งการทดสอบการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร ด้วยชุดทดสอบบอแร็กซ์ ชุดทดสอบสารฟอกขาว ชุดทดสอบสารกันรา ชุดทดสอบฟอร์มาลีน และชุดทดสอบสารฆ่าแมลง ข้อมูลทั้งหมดจะนำมาวิเคราะห์ และร่วมกันพัฒนากลไกดังกล่าวจากเวทีประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นในภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า ถึงแม้ว่าจังหวัดเชียงรายได้ดำเนินโครงการอาหารปลอดภัย เชียงรายเป็นสุข แต่ยังขาดการวางแผนการผลิตอาหารปลอดภัยให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภค สำหรับภาคธุรกิจโรงแรมในอำเภอเชียงแสน ได้มีการจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการประกอบอาหาร ตลอดจนไม่พบการปนเปื้อนสารเคมีในตัวอย่างอาหาร แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีการปนเปื้อนเชื้อ E.coli ในตัวอย่างน้ำดื่มของโรงแรมที่เป็นกลุ่มตัวอย่างจำนวน 1 แห่ง ดังนั้น กลไกที่สำคัญในการขับเคลื่อนอาหารปลอดภัย ประกอบด้วย การวางแผนร่วมกันในการผลิตวัตถุดิบ การสนับสนุนแหล่งกระจายอาหารปลอดภัย การสนับสนุนอาหารท้องถิ่นให้กับธุรกิจโรงแรม และการจัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารและความปลอดภัยในกลุ่มธุรกิจโรงแรม","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"19 6","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2020-03-04","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Suranaree Journal of Social Science","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.55766/ooxk4488","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

Abstract

งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเพื่อพัฒนากลไกในการขับเคลื่อนอาหารปลอดภัย ของกลุ่มธุรกิจโรงแรม ในพื้นที่อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย โดยมีกระบวนการในการวิจัยเริ่มจาก การสัมภาษณ์เชิงลึกของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในด้านอาหารปลอดภัยของจังหวัดเชียงราย ร่วมกับการเก็บข้อมูลในกลุ่มตัวอย่างที่เป็นโรงแรมในอำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย จำนวน 5 แห่งซึ่งทำการสำรวจสภาพแวดล้อมในการประกอบอาหาร รวมทั้งการทดสอบการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร ด้วยชุดทดสอบบอแร็กซ์ ชุดทดสอบสารฟอกขาว ชุดทดสอบสารกันรา ชุดทดสอบฟอร์มาลีน และชุดทดสอบสารฆ่าแมลง ข้อมูลทั้งหมดจะนำมาวิเคราะห์ และร่วมกันพัฒนากลไกดังกล่าวจากเวทีประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นในภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า ถึงแม้ว่าจังหวัดเชียงรายได้ดำเนินโครงการอาหารปลอดภัย เชียงรายเป็นสุข แต่ยังขาดการวางแผนการผลิตอาหารปลอดภัยให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภค สำหรับภาคธุรกิจโรงแรมในอำเภอเชียงแสน ได้มีการจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการประกอบอาหาร ตลอดจนไม่พบการปนเปื้อนสารเคมีในตัวอย่างอาหาร แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีการปนเปื้อนเชื้อ E.coli ในตัวอย่างน้ำดื่มของโรงแรมที่เป็นกลุ่มตัวอย่างจำนวน 1 แห่ง ดังนั้น กลไกที่สำคัญในการขับเคลื่อนอาหารปลอดภัย ประกอบด้วย การวางแผนร่วมกันในการผลิตวัตถุดิบ การสนับสนุนแหล่งกระจายอาหารปลอดภัย การสนับสนุนอาหารท้องถิ่นให้กับธุรกิจโรงแรม และการจัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารและความปลอดภัยในกลุ่มธุรกิจโรงแรม
查看原文
分享 分享
微信好友 朋友圈 QQ好友 复制链接
本刊更多论文
集团企业、酒店和住宿安全推进机制的发展:清迈省
本研究旨在发展清迈地区酒店集团的安全食品推进机制。在研究过程中,对清莱安全食品领域的相关人员进行了深入的采访,并在清莱县的5家酒店的样本中进行了调查,包括硼砂测试、漂白剂测试、甲醛测试和杀虫剂测试。研究表明,尽管清莱实施了清莱安全食品计划,但仍缺乏符合消费者需求的安全食品生产计划。清迈的酒店在食品样品中提供了适当的烹饪环境,但没有发现任何化学物质污染。因此,推进食品安全的重要机制包括共同规划原料生产、安全食品供应支持、当地食品向酒店企业提供食品卫生知识和安全培训。
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
求助全文
约1分钟内获得全文 去求助
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
期刊最新文献
Nietzsche as Metaphysician Structural Equation Modeling of Food Safety Standard in the Cassava Industry in Thailand Implementing a Portfolio-based Learner Autonomy Development Model in an EFL Writing Course Causal Factors Influencing Development of Organizational Survival for Companies Listed in Thailand Intercultural Language Education: Supportive Factors and Constraints on EFL Learners’ Intercultural Communicative Competence Development
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
现在去查看 取消
×
提示
确定
0
微信
客服QQ
Book学术公众号 扫码关注我们
反馈
×
意见反馈
请填写您的意见或建议
请填写您的手机或邮箱
已复制链接
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
×
扫码分享
扫码分享
Book学术官方微信
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术
文献互助 智能选刊 最新文献 互助须知 联系我们:info@booksci.cn
Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。
Copyright © 2023 Book学术 All rights reserved.
ghs 京公网安备 11010802042870号 京ICP备2023020795号-1