{"title":"基于最小平方结构方程的方法,分析了影响绿色大学录取的大学内部管理因素的路径。","authors":"จักเรศ เมตตะธำรงค์, ปภาวิน พชรโชติสุธี, กมลทิพย์ นวมโคกสูง","doi":"10.55766/cvjg9562","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยของการบริหารจัดการภายในมหาวิทยาลัยที่ส่งผลต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว และ 2) วิเคราะห์อิทธิพลของการบริหารจัดการภายในมหาวิทยาลัยที่ส่งผลต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร จำนวน 450 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือแบบสอบถาม ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการ PLS-SEM เพื่อวัดความสัมพันธ์ระหว่างกันของตัวแปร ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ 1) ผลการศึกษาปัจจัยของการบริหารจัดการภายในมหาวิทยาลัยประกอบด้วย การบริหารงานของผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ โครงสร้างการทำงาน การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว กิจกรรมภายในมหาวิทยาลัย การสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อม แรงจูงใจในการรักษาสิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยี ซึ่งการที่นักศึกษามีแรงผลักดันที่จะรักษาสิ่งแวดล้อมมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือนักศึกษาต้องการร่วมรณรงค์ในทุกกิจกรรมและมหาวิทยาลัยมีบรรยากาศที่ดีต่อการเรียนรู้ และ 2) ผลการวิเคราะห์อิทธิพลของการบริหารจัดการภายในมหาวิทยาลัยที่ส่งผลต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว วิเคราะห์ด้วยแบบจำลอง Outer และ Inner ผลการวิเคราะห์มีความเที่ยงตรงและน่าเชื่อถือ ผลการวิเคราะห์มีดังนี้ การบริหารงานของผู้บริหารและเจ้าหน้าที่มีอิทธิพลทางตรงต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว โครงสร้างการทำงานมีอิทธิพลทางตรงต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว กิจกรรมภายในมหาวิทยาลัยมีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว และแรงจูงใจการรักษาสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลทางตรงต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"6 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2022-03-08","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"การวิเคราะห์เส้นทางของปัจจัยการบริหารจัดการภายในมหาวิทยาลัยที่ส่งผลต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวตามแนวคิดของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร ด้วยวิธีสมการโครงสร้างแบบกำลังสองน้อยที่สุดบางส่วน\",\"authors\":\"จักเรศ เมตตะธำรงค์, ปภาวิน พชรโชติสุธี, กมลทิพย์ นวมโคกสูง\",\"doi\":\"10.55766/cvjg9562\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยของการบริหารจัดการภายในมหาวิทยาลัยที่ส่งผลต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว และ 2) วิเคราะห์อิทธิพลของการบริหารจัดการภายในมหาวิทยาลัยที่ส่งผลต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร จำนวน 450 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือแบบสอบถาม ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการ PLS-SEM เพื่อวัดความสัมพันธ์ระหว่างกันของตัวแปร ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ 1) ผลการศึกษาปัจจัยของการบริหารจัดการภายในมหาวิทยาลัยประกอบด้วย การบริหารงานของผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ โครงสร้างการทำงาน การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว กิจกรรมภายในมหาวิทยาลัย การสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อม แรงจูงใจในการรักษาสิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยี ซึ่งการที่นักศึกษามีแรงผลักดันที่จะรักษาสิ่งแวดล้อมมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือนักศึกษาต้องการร่วมรณรงค์ในทุกกิจกรรมและมหาวิทยาลัยมีบรรยากาศที่ดีต่อการเรียนรู้ และ 2) ผลการวิเคราะห์อิทธิพลของการบริหารจัดการภายในมหาวิทยาลัยที่ส่งผลต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว วิเคราะห์ด้วยแบบจำลอง Outer และ Inner ผลการวิเคราะห์มีความเที่ยงตรงและน่าเชื่อถือ ผลการวิเคราะห์มีดังนี้ การบริหารงานของผู้บริหารและเจ้าหน้าที่มีอิทธิพลทางตรงต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว โครงสร้างการทำงานมีอิทธิพลทางตรงต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว กิจกรรมภายในมหาวิทยาลัยมีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว และแรงจูงใจการรักษาสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลทางตรงต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว\",\"PeriodicalId\":145995,\"journal\":{\"name\":\"Suranaree Journal of Social Science\",\"volume\":\"6 1\",\"pages\":\"0\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2022-03-08\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Suranaree Journal of Social Science\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.55766/cvjg9562\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Suranaree Journal of Social Science","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.55766/cvjg9562","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0