{"title":"4-6年级学生产品创意指标的开发","authors":"Yanyong Na Bangchang, ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ, รุ่งทิวา แย้มรุ่ง","doi":"10.55766/yqqa4264","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ในปัจจุบันนี้บุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ย่อมเป็นที่ต้องการของท้องตลาดแรงงาน ดังนั้น การศึกษาของไทยจึงจำเป็นต้องพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ให้เกิดขึ้นกับนักเรียน จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องพบว่า ยังไม่พบการศึกษาเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับตัวชี้วัด และอธิบายตัวชี้วัดความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ขึ้นมา ดังนั้น ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษางานวิจัยนี้ เพื่อพัฒนาตัวชี้วัด และอธิบายตัวชี้วัดความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โดยใช้เทคนิคเดลฟาย ผลการวิจัยพบว่า ตัวชี้วัดความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์มีทั้งสิ้น 6 ตัวชี้วัด และคำอธิบายตัวชี้วัดมีทั้งสิ้น 18 ตัว โดยตัวชี้วัดความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการวิจัยเป็นตัวชี้วัดที่มุ่งเน้นให้นักเรียนสามารถผลิตผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นที่ต้องการของบุคคลทั่วไป มีความรับผิดชอบต่อชุมชน และสิ่งแวดล้อม ดังนั้น ผลการอภิปรายนี้จะเป็นแนวทางให้ครูผู้สอนนำตัวชี้วัดความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ ประเมินผลงาน และพัฒนานักเรียนให้มีความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์สูงขึ้น เพื่อให้นักเรียนสามารถนำไปประกอบอาชีพ และพัฒนาประเทศชาติให้มีความเจริญก้าวหน้าทันต่ออารยประเทศได้","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"47 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2020-06-25","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"การพัฒนาตัวชี้วัดความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6\",\"authors\":\"Yanyong Na Bangchang, ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ, รุ่งทิวา แย้มรุ่ง\",\"doi\":\"10.55766/yqqa4264\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"ในปัจจุบันนี้บุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ย่อมเป็นที่ต้องการของท้องตลาดแรงงาน ดังนั้น การศึกษาของไทยจึงจำเป็นต้องพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ให้เกิดขึ้นกับนักเรียน จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องพบว่า ยังไม่พบการศึกษาเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับตัวชี้วัด และอธิบายตัวชี้วัดความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ขึ้นมา ดังนั้น ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษางานวิจัยนี้ เพื่อพัฒนาตัวชี้วัด และอธิบายตัวชี้วัดความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โดยใช้เทคนิคเดลฟาย ผลการวิจัยพบว่า ตัวชี้วัดความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์มีทั้งสิ้น 6 ตัวชี้วัด และคำอธิบายตัวชี้วัดมีทั้งสิ้น 18 ตัว โดยตัวชี้วัดความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการวิจัยเป็นตัวชี้วัดที่มุ่งเน้นให้นักเรียนสามารถผลิตผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นที่ต้องการของบุคคลทั่วไป มีความรับผิดชอบต่อชุมชน และสิ่งแวดล้อม ดังนั้น ผลการอภิปรายนี้จะเป็นแนวทางให้ครูผู้สอนนำตัวชี้วัดความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ ประเมินผลงาน และพัฒนานักเรียนให้มีความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์สูงขึ้น เพื่อให้นักเรียนสามารถนำไปประกอบอาชีพ และพัฒนาประเทศชาติให้มีความเจริญก้าวหน้าทันต่ออารยประเทศได้\",\"PeriodicalId\":145995,\"journal\":{\"name\":\"Suranaree Journal of Social Science\",\"volume\":\"47 1\",\"pages\":\"0\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2020-06-25\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Suranaree Journal of Social Science\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.55766/yqqa4264\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Suranaree Journal of Social Science","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.55766/yqqa4264","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0