{"title":"学生对政策和项目的认知是基于Rajapaksa Nakhon Sri Ra的参考框架。","authors":"เบญจมิน บุญจริง, ปรมัษฐ์ ไกรทอง, ผานิต สิงหสุวรรณ, ชไมพร พุทธรัตน์","doi":"10.55766/kczm2662","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"กระทรวงศึกษาธิการกำหนดนโยบายยกระดับและพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของไทยให้สอดคล้องกับทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยใช้กรอบอ้างอิง CEFR กับนักศึกษาระดับปริญญาตรี รหัสปี 2559 เป็นครั้งแรก การวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้และความคิดเห็นของนักศึกษาต่อความสำคัญและการเข้าถึงนโยบายและแนวปฏิบัติในการยกระดับมาตรฐานภาษาอังกฤษตามกรอบอ้างอิง CEFR ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ถึงชั้นปีที่ 3 จำนวน 225 คน จากทั้ง 5 คณะ ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยโปรแกรมไมโครซอฟท์เอ็กซ์เซล และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษามีความเข้าใจต่อนโยบายด้านภาษาอังกฤษของมหาวิทยาลัยและต่อกรอบอ้างอิง CEFR ในด้านความหมาย ความสามารถทางภาษาที่แตกต่างกันในแต่ละระดับ นักศึกษาเห็นประโยชน์ในการเข้าร่วมโครงการพัฒนาภาษาอังกฤษและการนำมาประยุกต์ใช้ในระดับมาก นอกจากนี้ยังพบว่าการนำนโยบายด้านพัฒนาภาษาอังกฤษมาประยุกต์ใช้ตรงต่อความคาดหวังและความต้องการของนักศึกษา อีกทั้งนักศึกษายังรับรู้ว่ากรอบอ้างอิง CEFR เป็นเครื่องมือใช้วัดระดับความสามารถด้านภาษาอังกฤษ และมีผลวิจัยบ่งชี้ว่าคณะ สาขาวิชา และอาจารย์ที่ปรึกษาให้ความร่วมมือกับศูนย์ภาษาเป็นสื่อกลางในการประชาสัมพันธ์โครงการให้แก่นักศึกษา ผลการวิจัยยังสะท้อนว่านักศึกษาเริ่มให้ความสำคัญต่อนโยบายและโครงการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกรอบอ้างอิง CEFR มากขึ้น นักศึกษามีการปรับเปลี่ยนทัศนคติต่อนโยบายการพัฒนาภาษาอังกฤษไปในทางที่ดี ผลการวิจัยนี้สามารถนำมาเป็นฐานข้อมูลประกอบการออกแบบโครงการพัฒนาภาษาอังกฤษตามกรอบอ้างอิง CEFR ให้แก่นักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏและมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ทั่วประเทศ","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"8 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2021-08-26","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"การรับรู้ของนักศึกษาต่อนโยบายและโครงการการพัฒนาผู้เรียนภาษาอังกฤษตามกรอบอ้างอิง CEFR ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช\",\"authors\":\"เบญจมิน บุญจริง, ปรมัษฐ์ ไกรทอง, ผานิต สิงหสุวรรณ, ชไมพร พุทธรัตน์\",\"doi\":\"10.55766/kczm2662\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"กระทรวงศึกษาธิการกำหนดนโยบายยกระดับและพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของไทยให้สอดคล้องกับทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยใช้กรอบอ้างอิง CEFR กับนักศึกษาระดับปริญญาตรี รหัสปี 2559 เป็นครั้งแรก การวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้และความคิดเห็นของนักศึกษาต่อความสำคัญและการเข้าถึงนโยบายและแนวปฏิบัติในการยกระดับมาตรฐานภาษาอังกฤษตามกรอบอ้างอิง CEFR ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ถึงชั้นปีที่ 3 จำนวน 225 คน จากทั้ง 5 คณะ ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยโปรแกรมไมโครซอฟท์เอ็กซ์เซล และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษามีความเข้าใจต่อนโยบายด้านภาษาอังกฤษของมหาวิทยาลัยและต่อกรอบอ้างอิง CEFR ในด้านความหมาย ความสามารถทางภาษาที่แตกต่างกันในแต่ละระดับ นักศึกษาเห็นประโยชน์ในการเข้าร่วมโครงการพัฒนาภาษาอังกฤษและการนำมาประยุกต์ใช้ในระดับมาก นอกจากนี้ยังพบว่าการนำนโยบายด้านพัฒนาภาษาอังกฤษมาประยุกต์ใช้ตรงต่อความคาดหวังและความต้องการของนักศึกษา อีกทั้งนักศึกษายังรับรู้ว่ากรอบอ้างอิง CEFR เป็นเครื่องมือใช้วัดระดับความสามารถด้านภาษาอังกฤษ และมีผลวิจัยบ่งชี้ว่าคณะ สาขาวิชา และอาจารย์ที่ปรึกษาให้ความร่วมมือกับศูนย์ภาษาเป็นสื่อกลางในการประชาสัมพันธ์โครงการให้แก่นักศึกษา ผลการวิจัยยังสะท้อนว่านักศึกษาเริ่มให้ความสำคัญต่อนโยบายและโครงการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกรอบอ้างอิง CEFR มากขึ้น นักศึกษามีการปรับเปลี่ยนทัศนคติต่อนโยบายการพัฒนาภาษาอังกฤษไปในทางที่ดี ผลการวิจัยนี้สามารถนำมาเป็นฐานข้อมูลประกอบการออกแบบโครงการพัฒนาภาษาอังกฤษตามกรอบอ้างอิง CEFR ให้แก่นักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏและมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ทั่วประเทศ\",\"PeriodicalId\":145995,\"journal\":{\"name\":\"Suranaree Journal of Social Science\",\"volume\":\"8 1\",\"pages\":\"0\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2021-08-26\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Suranaree Journal of Social Science\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.55766/kczm2662\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Suranaree Journal of Social Science","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.55766/kczm2662","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0