{"title":"数字会计对财务报告质量的影响","authors":"พิมพาภรณ์ พึ่งบุญพานิชย์, นภา นาคแย้ม","doi":"10.55766/lmmc9398","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาคุณลักษณะเชิงคุณภาพของรายงานการเงิน (2) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการบัญชีดิจิทัลกับคุณภาพของรายงานการเงิน และ (3) วิเคราะห์ผลกระทบของการบัญชีดิจิทัลที่มีต่อคุณภาพของรายงานการเงิน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต จำนวน 275 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) และใช้สถิติการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation Analysis) และสถิติการวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย (Simple Regression Analysis) ในการทดสอบสมมติฐาน \nผลการวิจัยพบว่า (1) คุณภาพของรายงานการเงิน โดยมีลักษณะเชิงคุณภาพพื้นฐาน และลักษณะเชิงคุณภาพเสริมโดยรวม อยู่ในระดับมาก (2) การบัญชีดิจิทัลมีความสัมพันธ์กับคุณภาพของรายงานการเงิน โดยมีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 และ (3) การบัญชีดิจิทัลส่งผลกระทบต่อคุณภาพของรายงานการเงินอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 \nทั้งนี้ สังคมจะได้ประโยชน์จากมุมมองของการบัญชีดิจิทัลว่าควรมีลักษณะศักยภาพอย่างไร เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการควบคุมการดำเนินงานของธุรกิจให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตลอดจนได้กรอบแนวคิดทฤษฎีใหม่ (Basic Research) ในด้านการบัญชี","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"234 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2021-12-28","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"ผลกระทบของการบัญชีดิจิทัลที่มีต่อคุณภาพของรายงานการเงิน\",\"authors\":\"พิมพาภรณ์ พึ่งบุญพานิชย์, นภา นาคแย้ม\",\"doi\":\"10.55766/lmmc9398\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาคุณลักษณะเชิงคุณภาพของรายงานการเงิน (2) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการบัญชีดิจิทัลกับคุณภาพของรายงานการเงิน และ (3) วิเคราะห์ผลกระทบของการบัญชีดิจิทัลที่มีต่อคุณภาพของรายงานการเงิน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต จำนวน 275 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) และใช้สถิติการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation Analysis) และสถิติการวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย (Simple Regression Analysis) ในการทดสอบสมมติฐาน \\nผลการวิจัยพบว่า (1) คุณภาพของรายงานการเงิน โดยมีลักษณะเชิงคุณภาพพื้นฐาน และลักษณะเชิงคุณภาพเสริมโดยรวม อยู่ในระดับมาก (2) การบัญชีดิจิทัลมีความสัมพันธ์กับคุณภาพของรายงานการเงิน โดยมีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 และ (3) การบัญชีดิจิทัลส่งผลกระทบต่อคุณภาพของรายงานการเงินอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 \\nทั้งนี้ สังคมจะได้ประโยชน์จากมุมมองของการบัญชีดิจิทัลว่าควรมีลักษณะศักยภาพอย่างไร เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการควบคุมการดำเนินงานของธุรกิจให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตลอดจนได้กรอบแนวคิดทฤษฎีใหม่ (Basic Research) ในด้านการบัญชี\",\"PeriodicalId\":145995,\"journal\":{\"name\":\"Suranaree Journal of Social Science\",\"volume\":\"234 1\",\"pages\":\"0\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2021-12-28\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Suranaree Journal of Social Science\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.55766/lmmc9398\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Suranaree Journal of Social Science","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.55766/lmmc9398","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0