{"title":"在教授科学与设计时要小心。","authors":"ลฎาภา ลดาชาติ, ลือชา ลดาชาติ","doi":"10.55766/hlci2091","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ด้วยนโยบายสะเต็มศึกษาในประเทศไทย ครูวิทยาศาสตร์ได้รับการส่งเสริมให้ใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเพื่อจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ร่วมกับวิชาอื่น ๆ อย่างไรก็ตาม การเรียนรู้โดยการออกแบบเชิงวิศวกรรมอาจไม่ก่อให้เกิดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เสมอไป ทั้งนี้เพราะเป้าหมายและธรรมชาติที่แตกต่างกันระหว่างวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ แต่กระนั้นก็ตาม ครูและนักการศึกษาบางคนอาจมองข้ามความแตกต่างเหล่านี้โดยการทึกทักเอาว่าการเรียนรู้วิทยาศาสตร์จะเกิดขึ้นเองจากกิจกรรมการออกแบบ ทั้ง ๆ ที่นักเรียนต้องการความช่วยเหลืออย่างจริงจัง ในกิจกรรมการเรียนรู้ที่อิงการออกแบบ บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความตระหนักเกี่ยวกับสิ่งที่ Vattam and Kolodner (2008) เรียกว่า “ช่องว่างระหว่างการออกแบบและวิทยาศาสตร์” ซึ่งเกิดขึ้นอยู่บ่อยครั้งในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยการออกแบบ บทความนี้ยังอภิปรายแนวทางที่เป็นไปได้ในการลดช่องว่างนี้ให้แคบลง อันจะส่งผลให้การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยการออกแบบมีประสิทธิภาพมากขึ้น","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"36 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2020-12-23","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"โปรดใช้ความระมัดระวังขณะสอนวิทยาศาสตร์โดยการออกแบบ\",\"authors\":\"ลฎาภา ลดาชาติ, ลือชา ลดาชาติ\",\"doi\":\"10.55766/hlci2091\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"ด้วยนโยบายสะเต็มศึกษาในประเทศไทย ครูวิทยาศาสตร์ได้รับการส่งเสริมให้ใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเพื่อจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ร่วมกับวิชาอื่น ๆ อย่างไรก็ตาม การเรียนรู้โดยการออกแบบเชิงวิศวกรรมอาจไม่ก่อให้เกิดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เสมอไป ทั้งนี้เพราะเป้าหมายและธรรมชาติที่แตกต่างกันระหว่างวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ แต่กระนั้นก็ตาม ครูและนักการศึกษาบางคนอาจมองข้ามความแตกต่างเหล่านี้โดยการทึกทักเอาว่าการเรียนรู้วิทยาศาสตร์จะเกิดขึ้นเองจากกิจกรรมการออกแบบ ทั้ง ๆ ที่นักเรียนต้องการความช่วยเหลืออย่างจริงจัง ในกิจกรรมการเรียนรู้ที่อิงการออกแบบ บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความตระหนักเกี่ยวกับสิ่งที่ Vattam and Kolodner (2008) เรียกว่า “ช่องว่างระหว่างการออกแบบและวิทยาศาสตร์” ซึ่งเกิดขึ้นอยู่บ่อยครั้งในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยการออกแบบ บทความนี้ยังอภิปรายแนวทางที่เป็นไปได้ในการลดช่องว่างนี้ให้แคบลง อันจะส่งผลให้การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยการออกแบบมีประสิทธิภาพมากขึ้น\",\"PeriodicalId\":145995,\"journal\":{\"name\":\"Suranaree Journal of Social Science\",\"volume\":\"36 1\",\"pages\":\"0\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2020-12-23\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Suranaree Journal of Social Science\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.55766/hlci2091\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Suranaree Journal of Social Science","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.55766/hlci2091","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0