Nongkarin大学生物学系学生教师的教学实践

ศุภกาญจน์ บัวทิพย์, ฮามีด๊ะ มูสอ, สมศักดิ์ บัวทิพย์
{"title":"Nongkarin大学生物学系学生教师的教学实践","authors":"ศุภกาญจน์ บัวทิพย์, ฮามีด๊ะ มูสอ, สมศักดิ์ บัวทิพย์","doi":"10.55766/uyoc1932","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการประเมินการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาครูสาขาชีววิทยา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ระหว่างปีการศึกษา 2559-2562 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาชีววิทยา คณะศึกษาศาสตร์ มหาสงขลานครินทร์ จํานวน 17 คน อาจารย์นิเทศก์จำนวน 3 คน และครูพี่เลี้ยงจำนวน 4 คน เครื่องมือในการวิจัย คือแบบประเมินการปฏิบัติการสอน 3 ด้าน คือ ด้านการเตรียมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน และด้านบุคลิกภาพความเป็นครู สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) สำหรับความคิดเห็นเพิ่มเติมจากอาจารย์นิเทศก์ และครูพี่เลี้ยงต่อการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาครูสาขาชีววิทยา ซึ่งเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา\nผลการวิจัย พบว่า ระดับผลการประเมินในแต่ละข้อของแต่ละด้านอยู่ในระดับดีมาก และคะแนนเฉลี่ยสูงกว่า 3.50 ปัจจัยของสถานศึกษา จังหวัด และปีการศึกษา ไม่มีผลต่อความแตกต่างของการประเมินการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาครูระหว่างอาจารย์นิเทศก์และครูพี่เลี้ยง แต่พบว่าเฉพาะในด้านบุคลิกภาพความเป็นครูเท่านั้นที่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05\nจากการวิเคราะห์ความคิดเห็นของอาจารย์นิเทศก์และครูพี่เลี้ยง พบว่า นักศึกษาครูมีการพัฒนาความสามารถในการฝึกประสบการณ์ในทิศทางที่ดีอย่างต่อเนื่อง มีการปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาตัวเองตามข้อเสนอแนะ โดยได้รับคำแนะนำในการพัฒนาเพิ่มเติม ได้แก่ การออกแบบกิจกรรมให้น่าสนใจ การสอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน การส่งเสริมทักษะการคิดและการควบคุมชั้นเรียน","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"12 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2022-01-21","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"การติดตามผลการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาครูสาขาชีววิทยา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์\",\"authors\":\"ศุภกาญจน์ บัวทิพย์, ฮามีด๊ะ มูสอ, สมศักดิ์ บัวทิพย์\",\"doi\":\"10.55766/uyoc1932\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการประเมินการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาครูสาขาชีววิทยา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ระหว่างปีการศึกษา 2559-2562 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาชีววิทยา คณะศึกษาศาสตร์ มหาสงขลานครินทร์ จํานวน 17 คน อาจารย์นิเทศก์จำนวน 3 คน และครูพี่เลี้ยงจำนวน 4 คน เครื่องมือในการวิจัย คือแบบประเมินการปฏิบัติการสอน 3 ด้าน คือ ด้านการเตรียมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน และด้านบุคลิกภาพความเป็นครู สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) สำหรับความคิดเห็นเพิ่มเติมจากอาจารย์นิเทศก์ และครูพี่เลี้ยงต่อการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาครูสาขาชีววิทยา ซึ่งเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา\\nผลการวิจัย พบว่า ระดับผลการประเมินในแต่ละข้อของแต่ละด้านอยู่ในระดับดีมาก และคะแนนเฉลี่ยสูงกว่า 3.50 ปัจจัยของสถานศึกษา จังหวัด และปีการศึกษา ไม่มีผลต่อความแตกต่างของการประเมินการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาครูระหว่างอาจารย์นิเทศก์และครูพี่เลี้ยง แต่พบว่าเฉพาะในด้านบุคลิกภาพความเป็นครูเท่านั้นที่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05\\nจากการวิเคราะห์ความคิดเห็นของอาจารย์นิเทศก์และครูพี่เลี้ยง พบว่า นักศึกษาครูมีการพัฒนาความสามารถในการฝึกประสบการณ์ในทิศทางที่ดีอย่างต่อเนื่อง มีการปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาตัวเองตามข้อเสนอแนะ โดยได้รับคำแนะนำในการพัฒนาเพิ่มเติม ได้แก่ การออกแบบกิจกรรมให้น่าสนใจ การสอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน การส่งเสริมทักษะการคิดและการควบคุมชั้นเรียน\",\"PeriodicalId\":145995,\"journal\":{\"name\":\"Suranaree Journal of Social Science\",\"volume\":\"12 1\",\"pages\":\"0\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2022-01-21\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Suranaree Journal of Social Science\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.55766/uyoc1932\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Suranaree Journal of Social Science","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.55766/uyoc1932","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

摘要

本研究的对象是17名生物专业学生、3名导游和4名导师。数据分析中使用的统计数据为平均值、标准差和t检验。研究发现,各方面的评估水平都很好,各方面的评估成绩都在3.50分以上,这并不影响学生在教学实践评估上的差异,但仅在教师个性方面,差异有0.05的统计学意义。学生教师在实践经验方面的能力不断提高。在建议的基础上进行改进、修改和改进,包括设计有趣的活动、组织课堂活动、促进思维能力和控制课程之间的道德和道德渗透。
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
查看原文
分享 分享
微信好友 朋友圈 QQ好友 复制链接
本刊更多论文
การติดตามผลการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาครูสาขาชีววิทยา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการประเมินการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาครูสาขาชีววิทยา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ระหว่างปีการศึกษา 2559-2562 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาชีววิทยา คณะศึกษาศาสตร์ มหาสงขลานครินทร์ จํานวน 17 คน อาจารย์นิเทศก์จำนวน 3 คน และครูพี่เลี้ยงจำนวน 4 คน เครื่องมือในการวิจัย คือแบบประเมินการปฏิบัติการสอน 3 ด้าน คือ ด้านการเตรียมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน และด้านบุคลิกภาพความเป็นครู สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) สำหรับความคิดเห็นเพิ่มเติมจากอาจารย์นิเทศก์ และครูพี่เลี้ยงต่อการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาครูสาขาชีววิทยา ซึ่งเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า ระดับผลการประเมินในแต่ละข้อของแต่ละด้านอยู่ในระดับดีมาก และคะแนนเฉลี่ยสูงกว่า 3.50 ปัจจัยของสถานศึกษา จังหวัด และปีการศึกษา ไม่มีผลต่อความแตกต่างของการประเมินการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาครูระหว่างอาจารย์นิเทศก์และครูพี่เลี้ยง แต่พบว่าเฉพาะในด้านบุคลิกภาพความเป็นครูเท่านั้นที่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จากการวิเคราะห์ความคิดเห็นของอาจารย์นิเทศก์และครูพี่เลี้ยง พบว่า นักศึกษาครูมีการพัฒนาความสามารถในการฝึกประสบการณ์ในทิศทางที่ดีอย่างต่อเนื่อง มีการปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาตัวเองตามข้อเสนอแนะ โดยได้รับคำแนะนำในการพัฒนาเพิ่มเติม ได้แก่ การออกแบบกิจกรรมให้น่าสนใจ การสอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน การส่งเสริมทักษะการคิดและการควบคุมชั้นเรียน
求助全文
通过发布文献求助,成功后即可免费获取论文全文。 去求助
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
期刊最新文献
Nietzsche as Metaphysician Structural Equation Modeling of Food Safety Standard in the Cassava Industry in Thailand Implementing a Portfolio-based Learner Autonomy Development Model in an EFL Writing Course Causal Factors Influencing Development of Organizational Survival for Companies Listed in Thailand Intercultural Language Education: Supportive Factors and Constraints on EFL Learners’ Intercultural Communicative Competence Development
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
现在去查看 取消
×
提示
确定
0
微信
客服QQ
Book学术公众号 扫码关注我们
反馈
×
意见反馈
请填写您的意见或建议
请填写您的手机或邮箱
已复制链接
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
×
扫码分享
扫码分享
Book学术官方微信
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术
文献互助 智能选刊 最新文献 互助须知 联系我们:info@booksci.cn
Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。
Copyright © 2023 Book学术 All rights reserved.
ghs 京公网安备 11010802042870号 京ICP备2023020795号-1