{"title":"幼儿行政思维能力特征研究","authors":"วรรธนา นันตาเขียน, กิตติชัย สุธาสิโนบล, รุ่งทิวา แย้มรุ่ง, วิไลลักษณ์ ลังกา","doi":"10.55766/gkut2994","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณลักษณะความสามารถในการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็กปฐมวัย กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษาปฐมวัย ผู้บริหาร ครูผู้สอนในโรงเรียน ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 8 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือข้อคำถามในการสนทนากลุ่มเกี่ยวกับคุณลักษณะความสามารถในการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็กปฐมวัย จำนวน 15 ข้อ โดยคัดเลือกจากผลการตรวจสอบค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ของคำถามเกี่ยวกับคุณลักษณะความสามารถในการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็กปฐมวัย ที่มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.5 ขึ้นไป ผู้วิจัยใช้วิธีการบันทึกการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) และนำเสนอด้วยข้อความเชิงบรรยายที่ประกอบด้วยคุณลักษณะความสามารถในการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็กปฐมวัย \nผลการวิจัยพบว่า ผลการสนทนากลุ่มกับผู้เชี่ยวชาญและผู้ปฏิบัติ โดยมีความคิดเห็นตรงกันว่าคุณลักษณะของความสามารถในการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็กปฐมวัยควรมี 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการยับยั้งชั่งใจ ด้านการเปลี่ยนความคิดและด้านการควบคุมอารมณ์","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"11 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2021-02-09","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"การศึกษาคุณลักษณะความสามารถในการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็กปฐมวัย\",\"authors\":\"วรรธนา นันตาเขียน, กิตติชัย สุธาสิโนบล, รุ่งทิวา แย้มรุ่ง, วิไลลักษณ์ ลังกา\",\"doi\":\"10.55766/gkut2994\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณลักษณะความสามารถในการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็กปฐมวัย กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษาปฐมวัย ผู้บริหาร ครูผู้สอนในโรงเรียน ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 8 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือข้อคำถามในการสนทนากลุ่มเกี่ยวกับคุณลักษณะความสามารถในการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็กปฐมวัย จำนวน 15 ข้อ โดยคัดเลือกจากผลการตรวจสอบค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ของคำถามเกี่ยวกับคุณลักษณะความสามารถในการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็กปฐมวัย ที่มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.5 ขึ้นไป ผู้วิจัยใช้วิธีการบันทึกการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) และนำเสนอด้วยข้อความเชิงบรรยายที่ประกอบด้วยคุณลักษณะความสามารถในการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็กปฐมวัย \\nผลการวิจัยพบว่า ผลการสนทนากลุ่มกับผู้เชี่ยวชาญและผู้ปฏิบัติ โดยมีความคิดเห็นตรงกันว่าคุณลักษณะของความสามารถในการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็กปฐมวัยควรมี 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการยับยั้งชั่งใจ ด้านการเปลี่ยนความคิดและด้านการควบคุมอารมณ์\",\"PeriodicalId\":145995,\"journal\":{\"name\":\"Suranaree Journal of Social Science\",\"volume\":\"11 1\",\"pages\":\"0\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2021-02-09\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Suranaree Journal of Social Science\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.55766/gkut2994\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Suranaree Journal of Social Science","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.55766/gkut2994","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0