来自泰国中部铁时代的骨骼健康指标:来自洛布里省Phromthin Tai网站的初步报告省|泰国中部铁器时代人类骨骼健康指标:洛布里省Promtin Tai考古遗址的初步报告

Q1 Arts and Humanities SPAFA Journal Pub Date : 2023-07-19 DOI:10.26721/spafajournal.5m83vn8t1i
Troy Case, Scott E. Burnett, Thanik Lertcharnrit
{"title":"来自泰国中部铁时代的骨骼健康指标:来自洛布里省Phromthin Tai网站的初步报告省|泰国中部铁器时代人类骨骼健康指标:洛布里省Promtin Tai考古遗址的初步报告","authors":"Troy Case, Scott E. Burnett, Thanik Lertcharnrit","doi":"10.26721/spafajournal.5m83vn8t1i","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"Little has been published about the health of individuals living in Central Thailand during the Iron Age (ca. 2500 – 1500 BP). The site of Phromthin Thai provides an opportunity to examine indicators of systemic stress and signs of compromised health during this time period using human skeletal remains. Twenty-six Iron Age skeletons from the site were examined for indicators of systemic stress or compromised health in the form of porotic hyperostosis, cribra orbitalia, linear enamel hypoplasia, dental caries, and trauma. These results were compared with data from the Ban Pong Manao site in Central Thailand and from two sites in different parts of Northeast Thailand to determine whether frequencies of these indicators varied significantly at Phromthin Tai. We found that the skeletons from Phromthin Tai exhibited generally low frequencies of most of these skeletal indicators, and that the prevalence of most of these indicators were similar to that reported for Ban Pong Manao in Central Thailand, and Ban Chiang and Noen U-Loke in Northeast Thailand. The main difference was a surprisingly low frequency of dental caries compared to the other three sites, which may relate to some unknown difference in the diet.\n \nงานการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยของผู้คนสมัยเหล็ก (ประมาณ ๑,๕๐๐ – ๒,๕๐๐ ปีมาแล้ว) ในภาคกลางที่มีการตีพิมพ์นับว่ายังมีไม่มาก แหล่งโบราณคดีพรหมทินใต้ได้เปิดโอกาสให้พวกเราศึกษาตรวจสอบเรื่องราวเกี่ยวกับสุขอนามัยโดยพิจารณาจากตัวบ่งชี้สุขภาพต่าง ๆ ซึ่งปรากฎหรือทิ้งร่องรอยไว้บนกระดูกมนุษย์ที่ถูกฝังไว้ในช่วงสมัยเหล็ก ตัวอย่างกระดูกที่ศึกษามาจากผู้ตายจำนวน ๒๖ คน ตัวบ่งชี้สุขภาพอนามัยที่เราศึกษาได้แก่ร่องรอยความพรุนบนกะโหลกศีรษะ (porotic hyperostosis) ร่องรอยความพรุนบนกระดูกบนเพดานเบ้าตา (cribra orbitalia) ร่องรอยความผิดปกติบนเคลือบฟัน (linear enamel hypoplasia)  โรคฟันผุ (dental caries) และร่องรอยบาดแผล (trauma) เรานำผลการศึกษาไปเปรียบเทียบกับข้อมูลและผลการศึกษาสุขอนามัยของผู้คนสมัยเหล็กจากแหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาวในภาคกลางและแหล่งโบราณคดีอีก ๒ แหล่ง (แหล่งโบราณคดีบ้านเชียงและแหล่งโบราณคดีเนินอุโลก) ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีการศึกษามาแล้ว จากผลการศึกษา เราพบว่าโครงกระดูกของผู้คนสมัยที่แหล่งโบราณคดีพรหมทินใต้โดยทั่วไปมีร่องรอยตัวบ่งชี้สุขอนามัยค่อนข้างต่ำ ซึ่งคล้ายหรือใกล้เคียงกับสุขอนามัยของผู้คนสมัยเดียวกันที่แหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาวในภาคกลางและแหล่งโบราณคดีบ้านเชียงและแหล่งโบราณคดีเนินอุโลกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สิ่งที่แตกต่างกันอย่างน่าประหลาดก็คือผู้คนที่แหล่งโบราณคดีพรหมทินใต้มีร่องรอยโรคฟันผุน้อยหรือต่ำกว่าผู้คนจากแหล่งโบราณคดี ๓ แหล่งที่นำมาเปรียบเทียบ","PeriodicalId":36552,"journal":{"name":"SPAFA Journal","volume":null,"pages":null},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2023-07-19","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"Health Indicators in Skeletons from Iron Age Central Thailand: A Preliminary Report from the Site of Phromthin Tai, Lopburi Province | ตัวบ่งชี้สุขภาพอนามัยบนกระดูกมนุษย์สมัยเหล็กในภาคกลางของประเทศไทย: รายงานเบื้องต้นจากแหล่งโบราณคดีพรหมทินใต้ จังหวัดลพบุรี\",\"authors\":\"Troy Case, Scott E. Burnett, Thanik Lertcharnrit\",\"doi\":\"10.26721/spafajournal.5m83vn8t1i\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"Little has been published about the health of individuals living in Central Thailand during the Iron Age (ca. 2500 – 1500 BP). The site of Phromthin Thai provides an opportunity to examine indicators of systemic stress and signs of compromised health during this time period using human skeletal remains. Twenty-six Iron Age skeletons from the site were examined for indicators of systemic stress or compromised health in the form of porotic hyperostosis, cribra orbitalia, linear enamel hypoplasia, dental caries, and trauma. These results were compared with data from the Ban Pong Manao site in Central Thailand and from two sites in different parts of Northeast Thailand to determine whether frequencies of these indicators varied significantly at Phromthin Tai. We found that the skeletons from Phromthin Tai exhibited generally low frequencies of most of these skeletal indicators, and that the prevalence of most of these indicators were similar to that reported for Ban Pong Manao in Central Thailand, and Ban Chiang and Noen U-Loke in Northeast Thailand. The main difference was a surprisingly low frequency of dental caries compared to the other three sites, which may relate to some unknown difference in the diet.\\n \\nงานการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยของผู้คนสมัยเหล็ก (ประมาณ ๑,๕๐๐ – ๒,๕๐๐ ปีมาแล้ว) ในภาคกลางที่มีการตีพิมพ์นับว่ายังมีไม่มาก แหล่งโบราณคดีพรหมทินใต้ได้เปิดโอกาสให้พวกเราศึกษาตรวจสอบเรื่องราวเกี่ยวกับสุขอนามัยโดยพิจารณาจากตัวบ่งชี้สุขภาพต่าง ๆ ซึ่งปรากฎหรือทิ้งร่องรอยไว้บนกระดูกมนุษย์ที่ถูกฝังไว้ในช่วงสมัยเหล็ก ตัวอย่างกระดูกที่ศึกษามาจากผู้ตายจำนวน ๒๖ คน ตัวบ่งชี้สุขภาพอนามัยที่เราศึกษาได้แก่ร่องรอยความพรุนบนกะโหลกศีรษะ (porotic hyperostosis) ร่องรอยความพรุนบนกระดูกบนเพดานเบ้าตา (cribra orbitalia) ร่องรอยความผิดปกติบนเคลือบฟัน (linear enamel hypoplasia)  โรคฟันผุ (dental caries) และร่องรอยบาดแผล (trauma) เรานำผลการศึกษาไปเปรียบเทียบกับข้อมูลและผลการศึกษาสุขอนามัยของผู้คนสมัยเหล็กจากแหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาวในภาคกลางและแหล่งโบราณคดีอีก ๒ แหล่ง (แหล่งโบราณคดีบ้านเชียงและแหล่งโบราณคดีเนินอุโลก) ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีการศึกษามาแล้ว จากผลการศึกษา เราพบว่าโครงกระดูกของผู้คนสมัยที่แหล่งโบราณคดีพรหมทินใต้โดยทั่วไปมีร่องรอยตัวบ่งชี้สุขอนามัยค่อนข้างต่ำ ซึ่งคล้ายหรือใกล้เคียงกับสุขอนามัยของผู้คนสมัยเดียวกันที่แหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาวในภาคกลางและแหล่งโบราณคดีบ้านเชียงและแหล่งโบราณคดีเนินอุโลกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สิ่งที่แตกต่างกันอย่างน่าประหลาดก็คือผู้คนที่แหล่งโบราณคดีพรหมทินใต้มีร่องรอยโรคฟันผุน้อยหรือต่ำกว่าผู้คนจากแหล่งโบราณคดี ๓ แหล่งที่นำมาเปรียบเทียบ\",\"PeriodicalId\":36552,\"journal\":{\"name\":\"SPAFA Journal\",\"volume\":null,\"pages\":null},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2023-07-19\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"SPAFA Journal\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.26721/spafajournal.5m83vn8t1i\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"Q1\",\"JCRName\":\"Arts and Humanities\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"SPAFA Journal","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.26721/spafajournal.5m83vn8t1i","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"Q1","JCRName":"Arts and Humanities","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

摘要

关于铁器时代(约公元前2500 - 1500年)生活在泰国中部的个人健康状况的报道很少。Phromthin Thai遗址提供了一个机会,可以利用人类骨骼遗骸来检查这一时期的全身压力指标和健康受损的迹象。研究人员对该遗址出土的26具铁器时代骨骼进行了检查,以寻找系统性压力或健康受损的指标,包括骨质疏松症、眶嵴、线状牙釉质发育不全、龋齿和创伤。这些结果与泰国中部Ban Pong Manao遗址和泰国东北部不同地区的两个遗址的数据进行了比较,以确定这些指标的频率在Phromthin Tai是否有显著变化。我们发现Phromthin Tai的骨骼显示出大多数这些骨骼指标的频率普遍较低,并且这些指标的流行程度与泰国中部的Ban Pong Manao以及泰国东北部的Ban Chiang和Noen U-Loke相似。与其他三个地方相比,主要的区别是龋齿的频率低得惊人,这可能与饮食上的一些未知差异有关。งานการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยของผู้คนสมัยเหล็ก(ประมาณ๑,๕๐๐——๒๕๐๐ปีมาแล้ว)ในภาคกลางที่มีการตีพิมพ์นับว่ายังมีไม่มากแหล่งโบราณคดีพรหมทินใต้ได้เปิดโอกาสให้พวกเราศึกษาตรวจสอบเรื่องราวเกี่ยวกับสุขอนามัยโดยพิจารณาจากตัวบ่งชี้สุขภาพต่างๆซึ่งปรากฎหรือทิ้งร่องรอยไว้บนกระดูกมนุษย์ที่ถูกฝังไว้ในช่วงสมัยเหล็กตัวอย่างกระดูกที่ศึกษามาจากผู้ตายจำนวน๒๖คนตัวบ่งชี้สุขภาพอนามัยที่เราศึกษาได้แก่ร่องรอยความพรุนบนกะโหลกศีรษะ(骨质疏松的骨肥大)ร่องรอยความพรุนบนกระดูกบนเพดานเบ้าตา(cribraorbitalia)ร่องรอยความผิดปกติบนเคลือบฟัน(线性釉质发育不全)โรคฟันผุ(龋齿)และร่องรอยบาดแผล(创伤)เรานำผลการศึกษาไปเปรียบเทียบกับข้อมูลและผลการศึกษาสุขอนามัยของผู้คนสมัยเหล็กจากแหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาวในภาคกลางและแหล่งโบราณคดีอีก๒แหล่ง(แหล่งโบราณคดีบ้านเชียงและแหล่งโบราณคดีเนินอุโลก)ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีการศึกษามาแล้วจากผลการศึกษาเราพบว่าโครงกระดูกของผู้คนสมัยที่แหล่งโบราณคดีพรหมทินใต้โดยทั่วไปมีร่องรอยตัวบ่งชี้สุขอนามัยค่อนข้างต่ำซึ่งคล้ายหรือใกล้เคียงกับสุขอนามัยของผู้คนสมัยเดียวกันที่แหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาวในภาคกลางและแหล่งโบราณคดีบ้านเชียงและแหล่งโบราณคดีเนินอุโลกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือสิ่งที่แตกต่างกันอย่างน่าประหลาดก็คือผู้คนที่แหล่งโบราณคดีพรหมทินใต้มีร่องรอยโรคฟันผุน้อยหรือต่ำกว่าผู้คนจากแหล่งโบราณคดี๓แหล่งที่นำมาเปรียบเทียบ
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
查看原文
分享 分享
微信好友 朋友圈 QQ好友 复制链接
本刊更多论文
Health Indicators in Skeletons from Iron Age Central Thailand: A Preliminary Report from the Site of Phromthin Tai, Lopburi Province | ตัวบ่งชี้สุขภาพอนามัยบนกระดูกมนุษย์สมัยเหล็กในภาคกลางของประเทศไทย: รายงานเบื้องต้นจากแหล่งโบราณคดีพรหมทินใต้ จังหวัดลพบุรี
Little has been published about the health of individuals living in Central Thailand during the Iron Age (ca. 2500 – 1500 BP). The site of Phromthin Thai provides an opportunity to examine indicators of systemic stress and signs of compromised health during this time period using human skeletal remains. Twenty-six Iron Age skeletons from the site were examined for indicators of systemic stress or compromised health in the form of porotic hyperostosis, cribra orbitalia, linear enamel hypoplasia, dental caries, and trauma. These results were compared with data from the Ban Pong Manao site in Central Thailand and from two sites in different parts of Northeast Thailand to determine whether frequencies of these indicators varied significantly at Phromthin Tai. We found that the skeletons from Phromthin Tai exhibited generally low frequencies of most of these skeletal indicators, and that the prevalence of most of these indicators were similar to that reported for Ban Pong Manao in Central Thailand, and Ban Chiang and Noen U-Loke in Northeast Thailand. The main difference was a surprisingly low frequency of dental caries compared to the other three sites, which may relate to some unknown difference in the diet.   งานการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยของผู้คนสมัยเหล็ก (ประมาณ ๑,๕๐๐ – ๒,๕๐๐ ปีมาแล้ว) ในภาคกลางที่มีการตีพิมพ์นับว่ายังมีไม่มาก แหล่งโบราณคดีพรหมทินใต้ได้เปิดโอกาสให้พวกเราศึกษาตรวจสอบเรื่องราวเกี่ยวกับสุขอนามัยโดยพิจารณาจากตัวบ่งชี้สุขภาพต่าง ๆ ซึ่งปรากฎหรือทิ้งร่องรอยไว้บนกระดูกมนุษย์ที่ถูกฝังไว้ในช่วงสมัยเหล็ก ตัวอย่างกระดูกที่ศึกษามาจากผู้ตายจำนวน ๒๖ คน ตัวบ่งชี้สุขภาพอนามัยที่เราศึกษาได้แก่ร่องรอยความพรุนบนกะโหลกศีรษะ (porotic hyperostosis) ร่องรอยความพรุนบนกระดูกบนเพดานเบ้าตา (cribra orbitalia) ร่องรอยความผิดปกติบนเคลือบฟัน (linear enamel hypoplasia)  โรคฟันผุ (dental caries) และร่องรอยบาดแผล (trauma) เรานำผลการศึกษาไปเปรียบเทียบกับข้อมูลและผลการศึกษาสุขอนามัยของผู้คนสมัยเหล็กจากแหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาวในภาคกลางและแหล่งโบราณคดีอีก ๒ แหล่ง (แหล่งโบราณคดีบ้านเชียงและแหล่งโบราณคดีเนินอุโลก) ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีการศึกษามาแล้ว จากผลการศึกษา เราพบว่าโครงกระดูกของผู้คนสมัยที่แหล่งโบราณคดีพรหมทินใต้โดยทั่วไปมีร่องรอยตัวบ่งชี้สุขอนามัยค่อนข้างต่ำ ซึ่งคล้ายหรือใกล้เคียงกับสุขอนามัยของผู้คนสมัยเดียวกันที่แหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาวในภาคกลางและแหล่งโบราณคดีบ้านเชียงและแหล่งโบราณคดีเนินอุโลกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สิ่งที่แตกต่างกันอย่างน่าประหลาดก็คือผู้คนที่แหล่งโบราณคดีพรหมทินใต้มีร่องรอยโรคฟันผุน้อยหรือต่ำกว่าผู้คนจากแหล่งโบราณคดี ๓ แหล่งที่นำมาเปรียบเทียบ
求助全文
通过发布文献求助,成功后即可免费获取论文全文。 去求助
来源期刊
SPAFA Journal
SPAFA Journal Arts and Humanities-Visual Arts and Performing Arts
CiteScore
0.90
自引率
0.00%
发文量
2
审稿时长
15 weeks
期刊最新文献
Review of Ban Chiang, Northeast Thailand, Volume 2 (2A, 2B, 2C, 2D) A concise Indonesian/English guide to common terms used in excavation and archaeological research | Panduan singkat bahasa Indonesia/Inggris untuk frasa umum yang digunakan dalam ekskavasi dan penelitian arkeologi An Examination of Experiences in Archaeology of Females and LGBTQIAs in the Philippines | Isang pag-aaral sa mga karanasan ng mga kababaihan at mga LGBTQIAs sa arkiyolohiya sa Pilipinas Iconological Analysis of the “Man on a Bicycle” Relief in North Bali Created During the Dutch Colonial Period | Analisis Ikonologi Karya Relief “Laki-laki di sebuah Sepeda” di Bali Utara Jaman colonial Belanda Spiritual Landscape Characterization of Muara Takus Temple Compound and Surroundings Area | Karakterisasi Lanskap Spiritual Kompleks Candi Muara Takus dan Kawasan di Sekitarnya
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
现在去查看 取消
×
提示
确定
0
微信
客服QQ
Book学术公众号 扫码关注我们
反馈
×
意见反馈
请填写您的意见或建议
请填写您的手机或邮箱
已复制链接
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
×
扫码分享
扫码分享
Book学术官方微信
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术
文献互助 智能选刊 最新文献 互助须知 联系我们:info@booksci.cn
Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。
Copyright © 2023 Book学术 All rights reserved.
ghs 京公网安备 11010802042870号 京ICP备2023020795号-1