การวิเคราะห์ต้นทุนการรักษาด้วยการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตของตนเอง สำหรับ Lymphoma และ Myeloma
นิลวรรณ อยู่ภักดี, อธิชาพรรณ อยู่เชื้อ, วสี เลิศขจรสิน, พีระพล วอง
{"title":"การวิเคราะห์ต้นทุนการรักษาด้วยการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตของตนเอง สำหรับ Lymphoma และ Myeloma","authors":"นิลวรรณ อยู่ภักดี, อธิชาพรรณ อยู่เชื้อ, วสี เลิศขจรสิน, พีระพล วอง","doi":"10.33165/rmj.2024.47.1.266431","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"บทนำ: ปัจจุบันการรักษาด้วยการใช้เคมีบำบัดขนาดสูงร่วมกับการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตของตนเองถือเป็นส่วนประกอบสำคัญในการรักษาโรคมะเร็งต่อมน้ำเหลือง (Lymphoma) และมะเร็งเม็ดเลือดขาวมัยอีโลมา (Myeloma)\nวัตถุประสงค์: เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนและค่ารักษาพยาบาลด้วยวิธีการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตของตนเองในผู้ป่วย Lymphoma และ Myeloma\nวิธีการศึกษา: การศึกษาแบบพรรณนาต้นทุน (Cost descriptive) ข้อมูลต้นทุนจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิ โดยใช้แบบเก็บข้อมูลต้นทุนร่วมกับการสัมภาษณ์บุคลากรที่เกี่ยวข้อง และข้อมูลค่ารักษาพยาบาลเก็บจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ คือ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของผู้ป่วยที่มารับบริการในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร ช่วงปี พ.ศ. 2552 - 2564 วิเคราะห์ข้อมูลตามกระบวนการรักษา 6 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การให้ยาเคมีบำบัดเพื่อเคลื่อนย้ายเซลล์ต้นกำเนิด 2) การเก็บเซลล์ต้นกำเนิด 3) การเก็บรักษาเซลล์ต้นกำเนิด 4) การให้ยาเคมีบำบัดขนาดสูง 5) การคืนเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิต และ 6) การดูแลต่อเนื่องหลังคืนเซลล์ต้นกำเนิด การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ความไวแบบทางเดียว (One-way sensitivity analysis)\nผลการศึกษา: ผู้ป่วยที่เข้ารับการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตของตนเอง จำนวนทั้งหมด 106 คน เป็นผู้ป่วย Lymphoma จำนวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 48.11 และ Myeloma จำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 51.89 ต้นทุนเฉลี่ยต่อคนในผู้ป่วย Lymphoma และ Myeloma คิดเป็นเงิน 400,863.84 บาท และ 197,862.08 บาท ตามลำดับ ผลการวิเคราะห์ความไวต้นทุนของผู้ป่วย Lymphoma อยู่ในช่วง 298,467.09 - 518,968.75 บาท และ Myeloma อยู่ในช่วง 136,065.67 - 275,366.63 บาท สำหรับค่ารักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลเรียกเก็บในผู้ป่วย Lymphoma เฉลี่ยเป็นเงิน 359,391.74 บาท (SD 143,935.92 บาท) และในผู้ป่วย Myeloma เฉลี่ยเป็นเงิน 162,763.56 บาท (SD 48,649.74 บาท)\nสรุป: ต้นทุนที่ได้มีค่าอยู่ในช่วงที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณรายหัว\n ","PeriodicalId":500652,"journal":{"name":"Ramathibodi Medical Journal","volume":" 21","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-03-25","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Ramathibodi Medical Journal","FirstCategoryId":"0","ListUrlMain":"https://doi.org/10.33165/rmj.2024.47.1.266431","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
Abstract
บทนำ: ปัจจุบันการรักษาด้วยการใช้เคมีบำบัดขนาดสูงร่วมกับการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตของตนเองถือเป็นส่วนประกอบสำคัญในการรักษาโรคมะเร็งต่อมน้ำเหลือง (Lymphoma) และมะเร็งเม็ดเลือดขาวมัยอีโลมา (Myeloma)
วัตถุประสงค์: เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนและค่ารักษาพยาบาลด้วยวิธีการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตของตนเองในผู้ป่วย Lymphoma และ Myeloma
วิธีการศึกษา: การศึกษาแบบพรรณนาต้นทุน (Cost descriptive) ข้อมูลต้นทุนจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิ โดยใช้แบบเก็บข้อมูลต้นทุนร่วมกับการสัมภาษณ์บุคลากรที่เกี่ยวข้อง และข้อมูลค่ารักษาพยาบาลเก็บจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ คือ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของผู้ป่วยที่มารับบริการในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร ช่วงปี พ.ศ. 2552 - 2564 วิเคราะห์ข้อมูลตามกระบวนการรักษา 6 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การให้ยาเคมีบำบัดเพื่อเคลื่อนย้ายเซลล์ต้นกำเนิด 2) การเก็บเซลล์ต้นกำเนิด 3) การเก็บรักษาเซลล์ต้นกำเนิด 4) การให้ยาเคมีบำบัดขนาดสูง 5) การคืนเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิต และ 6) การดูแลต่อเนื่องหลังคืนเซลล์ต้นกำเนิด การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ความไวแบบทางเดียว (One-way sensitivity analysis)
ผลการศึกษา: ผู้ป่วยที่เข้ารับการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตของตนเอง จำนวนทั้งหมด 106 คน เป็นผู้ป่วย Lymphoma จำนวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 48.11 และ Myeloma จำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 51.89 ต้นทุนเฉลี่ยต่อคนในผู้ป่วย Lymphoma และ Myeloma คิดเป็นเงิน 400,863.84 บาท และ 197,862.08 บาท ตามลำดับ ผลการวิเคราะห์ความไวต้นทุนของผู้ป่วย Lymphoma อยู่ในช่วง 298,467.09 - 518,968.75 บาท และ Myeloma อยู่ในช่วง 136,065.67 - 275,366.63 บาท สำหรับค่ารักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลเรียกเก็บในผู้ป่วย Lymphoma เฉลี่ยเป็นเงิน 359,391.74 บาท (SD 143,935.92 บาท) และในผู้ป่วย Myeloma เฉลี่ยเป็นเงิน 162,763.56 บาท (SD 48,649.74 บาท)
สรุป: ต้นทุนที่ได้มีค่าอยู่ในช่วงที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณรายหัว
การวิเคราะห์ต้นทุนการรักษาด้วยการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตของตนเอง สำหรับ Lymphoma และ Myeloma
บทนำ:ปัจุบันการรักษาด้วยการใช้เคมีบำบันขาดสูงร่วมกับารปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ล(淋巴瘤)วัตถุประสงค์:เพือวิเคราะห์ต้นทุนและค่ารักษาพยาบาลด้วยวิธีการปลูกถ่ายเซลาะต้นกำเนิดเม็เด็หาะต้นเองในผู้ป่ยวย Lymphoma และ Myelomaวิธีการศึกษา:ารศึกษาแบบพรรณนาต้นทุน (Cost descriptive) ข้อมลูต้นทุนจากแหาล่งข้อมูลปฐมภูมิ โดยใช้แบเก็บข้อมูลต้นทุนร่วมกับารสัมภษาณ์บคุลากรที่เี่ยวข้องมติยภูมิ คือ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของผู้ป่วยที่มารับบริการในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร ช่วงปี พ.ศ.2552 -2564 วิเคราะห์ข้อมูลตามกระบวนการรักษา 6 ขันตอน ได้แก่ 1) การให้ยาเคมีบำบัดเพื่อเคลื่อนย้ายเซล์ต้นกำเนิด 2) การเก็บเซล์ต้นกำเนิด 3) การเก็บรัษกาเซล์ต้นกำเนิด 4)การให้ยาเคมีบำบัดขนาดสูง 5) การคืนเซลต์้นกำเนิดเม็ดโลหตและ 6) การดูแลต่อเนินเซลต์้นกำเนิด การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์วมไวแบทางเดียว (One-单向敏感性分析):ผู้ป่วยที่เข้ารับการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกเนำเดิเม็ดโลหิตของตนเอง จำนวนทั้งหมด 106 คน เป็นผู้ป่วย Lymphoma จำนวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 48.11 และ Myeloma จำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 51.89 ต้นทุนเฉลี่ยต่อคนในผู้ป่วย Lymphoma และ Myeloma คิดเป็นเงิน 400,863.84 บาท และ 197,862.08 บาท ตาลมำดับ ผลการวิเคราะห์ความไวต้นทุนขงอผู้ป่วย 淋巴瘤 อยู่ในช่วง 298,467.09 - 518,968.75 บาท และ Myeloma อยู่ในช่วง 136,065.67 - 275,366.63 บาท สำหรับค่ารักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลเรียกเก็บในผู้ป่วย 淋巴瘤 เฉลี่ยเ็ปนเงิน 359,391.74 บาท (SD 143,935.92 บาท) และในผู้่ปวย 骨髓瘤 เฉลี่ยเป็นเงิน 162,763.56 บาท (SD 48,649.74 บาท)สรุป: ต้นทุนที่ได้มีค่าอยู่ในช่วงที่ได้รับการจัดสรงบประมาณรายหัว
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。