首页 > 最新文献

Ramathibodi Medical Journal最新文献

英文 中文
การรับรู้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ของนักศึกษาแพทย์ไทยชั้นคลินิกในโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี ภายใต้โครงการผลิตแพทย์เพื่อชาวชนบท การรับรู้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ของนักศึกษาแพทย์ไทยชั้นคลินิกในโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี ภายใต้โครงการผลิตแพทย์เพื่อชาวชนบท
Pub Date : 2024-03-25 DOI: 10.33165/rmj.2024.47.1.266341
พรรณพิลาศ เย็นสบาย, ปณิธี พูนเพชรรัตน์
บทนำ: สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ที่เหมาะสมมีความสัมพันธ์กับสุขภาวะที่ดีขึ้นของนักศึกษาแพทย์ ส่งผลให้มีการเรียนรู้ที่ดีวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาการรับรู้และปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ของนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิกในโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานีวิธีการศึกษา: การศึกษาเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวางในกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก (ชั้นปีที่ 4 - 6) จำนวน 89 คน เก็บข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2565 ถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ ประกอบด้วย แบบประเมินการรับรู้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ของนักศึกษาแพทย์ไทย และแบบสอบถามปลายเปิดผลการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างมีอัตราการตอบกลับแบบสอบถาม คิดเป็นร้อยละ 65.17 ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง และมีเกรดเฉลี่ยอยู่ในช่วง 3.00 - 3.49 การรับรู้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 70 โดยคะแนนมากสุดคือ ด้านเพื่อนร่วมงาน และด้านการสนับสนุนทางจิตใจ ขณะที่คะแนนน้อยสุดคือ ด้านสุขภาพและความเครียด โดยนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 เพศหญิงรับรู้ด้านประสบการณ์การเรียนดีกว่าเพศชายอย่างมีนัยสำคัญ ขณะที่ด้านอื่น ๆ ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (P > .05) เมื่อเปรียบเทียบในปัจจัยด้านเพศ ชั้นปีการศึกษา และเกรดเฉลี่ย โดยมีข้อเสนอแนะให้พัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ และด้านสุขภาพและความเครียดสรุป: นักศึกษาแพทย์ส่วนใหญ่รับรู้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ในเชิงบวกโดยมีจุดแข็งด้านผู้สอน ด้านเพื่อนร่วมงาน ด้านประสบการณ์การเรียน ด้านแรงบันดาลใจ และด้านการสนับสนุนทางจิตใจ ขณะที่ด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ และด้านสุขภาพและความเครียด จำเป็นต้องหาแนวทางการพัฒนา 
มตัน: สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ที่เหมาะสมีความสัมพันธ์กับสุขภาวะที่ดีขึน้ของนักศึกษาแพทย์ ส่งผลใหมีการเรียนรู้ที่ดีวัถุประสงค์:การศึกษาเชิงพรรณนาแบภาคตัดขวางในาลุ่มตัวอย่างนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก (ชั้นปีที่ 4 - 6) จำนวน 89 คน เก็บข้อมูลตังแต่วันที่ 1 กันยายน พ.ศ.2565 ถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ.2565 โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ ประกอบด้วย แบบประเมินการรับรู้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ของนักศึกษาแพทย์ไทย และแบบสอบถามปลายเปิดผลการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างมีอัตราการตอบกลับแบบสอบถาม คิดเป็นร้อยละ 65.17 ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง และมีเกรดเฉลี่ยอยู่ในช่วง 3.00 - 3.49 การรับรู้สิ่งแวดล้อกมารเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 70 โดยคะแนนมากสุดือ ด้านเพื่อนร่วมงาน และด้านการสันบสุนทางจิตใจ ขณะที่คะแนนน้อยสุดคอืด้านสุขภาพและความเครียด โดยนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 เพศหญิงรับรู้ด้านประสบการณ์การเรียนดีกว่าเพศชายอย่างมีนัยสำคัญ ขณะที่ด้านอื่น ๆ ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (P > .05) เมื่อเปรียบเทียบในปัจจัยด้านเพศ ชั้นปีการศึกษา และเกรดเฉลี่ย โดยมขี้อเสนอแนะให้พัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ และด้านสุขภาพและความเครียดสรุป:นักศึกษาแพทย์ส่วนใหญ่รับรู้สิ่งแวล้อมการเรียนรู้ในเชิงบวกโดยมีจุดแขง็ด้านผู้สอน ด้านเพื่อนรวมงาน ด้านประบสการณ์การเรียนด้านแรงบันดาลใจ และด้านการสนับสนุนทางจิตใจ ขณะที่ด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ และด้านสุขภาพ และควมเครียด จำเป็นต้องหาแนวทางการพัฒนา
{"title":"การรับรู้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ของนักศึกษาแพทย์ไทยชั้นคลินิกในโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี ภายใต้โครงการผลิตแพทย์เพื่อชาวชนบท","authors":"พรรณพิลาศ เย็นสบาย, ปณิธี พูนเพชรรัตน์","doi":"10.33165/rmj.2024.47.1.266341","DOIUrl":"https://doi.org/10.33165/rmj.2024.47.1.266341","url":null,"abstract":"บทนำ: สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ที่เหมาะสมมีความสัมพันธ์กับสุขภาวะที่ดีขึ้นของนักศึกษาแพทย์ ส่งผลให้มีการเรียนรู้ที่ดี\u0000วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาการรับรู้และปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ของนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิกในโรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี\u0000วิธีการศึกษา: การศึกษาเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวางในกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาแพทย์ชั้นคลินิก (ชั้นปีที่ 4 - 6) จำนวน 89 คน เก็บข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2565 ถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ ประกอบด้วย แบบประเมินการรับรู้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ของนักศึกษาแพทย์ไทย และแบบสอบถามปลายเปิด\u0000ผลการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างมีอัตราการตอบกลับแบบสอบถาม คิดเป็นร้อยละ 65.17 ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง และมีเกรดเฉลี่ยอยู่ในช่วง 3.00 - 3.49 การรับรู้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 70 โดยคะแนนมากสุดคือ ด้านเพื่อนร่วมงาน และด้านการสนับสนุนทางจิตใจ ขณะที่คะแนนน้อยสุดคือ ด้านสุขภาพและความเครียด โดยนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 6 เพศหญิงรับรู้ด้านประสบการณ์การเรียนดีกว่าเพศชายอย่างมีนัยสำคัญ ขณะที่ด้านอื่น ๆ ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (P > .05) เมื่อเปรียบเทียบในปัจจัยด้านเพศ ชั้นปีการศึกษา และเกรดเฉลี่ย โดยมีข้อเสนอแนะให้พัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ และด้านสุขภาพและความเครียด\u0000สรุป: นักศึกษาแพทย์ส่วนใหญ่รับรู้สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ในเชิงบวกโดยมีจุดแข็งด้านผู้สอน ด้านเพื่อนร่วมงาน ด้านประสบการณ์การเรียน ด้านแรงบันดาลใจ และด้านการสนับสนุนทางจิตใจ ขณะที่ด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ และด้านสุขภาพและความเครียด จำเป็นต้องหาแนวทางการพัฒนา\u0000 ","PeriodicalId":500652,"journal":{"name":"Ramathibodi Medical Journal","volume":"12 16","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-03-25","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"140381721","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
The Past, Present, and Future of Genetic Manipulation in Human Fungal Pathogen Talaromyces marneffei 人类真菌病原体马拉尼菲氏菌(Talaromyces marneffei)遗传操作的过去、现在和未来
Pub Date : 2024-03-25 DOI: 10.33165/rmj.2024.47.1.266695
Tanaporn Wangsanut, M. Pongpom
The fungus Talaromyces marneffei has been discovered and its pathogenicity to humans has been recognized for over sixty years. The advances in organism-wide studies and the development of genetic manipulation tools contribute greatly to our current understanding of host-pathogen interactions. Several classes of genes have been identified to be involved in stress response, morphogenesis, and virulence based on the characterization of the generated mutants. Here, we summarize the main techniques for T. marneffei genetic manipulation, including chemical mutagenesis, insertional mutagenesis, homologous recombination-mediated gene replacement, knockdown methods, and the recent popular CRISPR-Cas9 (Clustered Regularly Interspaced Short Palindromic Repeats; Cas=CRISPR associated protein) technology. The advantages and disadvantages of each technique were determined from a historical perspective. We also describe potential strategies to improve the current genetics studies, such as the generation of new selection markers and genetically modified strains. The genetic approaches will continue to impact the studies of T. marneffei and can lead to the discovery of new diagnostic tools, drugs, and vaccines.
Talaromyces marneffei 真菌被发现并对人类具有致病性已有 60 多年的历史。全生物体研究的进展和基因操作工具的开发极大地促进了我们目前对宿主-病原体相互作用的了解。根据所产生突变体的特征,已经确定了几类基因参与应激反应、形态发生和毒力。在此,我们总结了 T. marneffei 基因操作的主要技术,包括化学诱变、插入诱变、同源重组介导的基因替换、基因敲除方法以及最近流行的 CRISPR-Cas9(Clustered Regularly Interspaced Short Palindromic Repeats; Cas=CRISPR associated protein)技术。我们从历史的角度确定了每种技术的优缺点。我们还介绍了改进当前遗传学研究的潜在策略,如生成新的选择标记和转基因菌株。遗传学方法将继续影响对 T. marneffei 的研究,并可能导致新诊断工具、药物和疫苗的发现。
{"title":"The Past, Present, and Future of Genetic Manipulation in Human Fungal Pathogen Talaromyces marneffei","authors":"Tanaporn Wangsanut, M. Pongpom","doi":"10.33165/rmj.2024.47.1.266695","DOIUrl":"https://doi.org/10.33165/rmj.2024.47.1.266695","url":null,"abstract":"The fungus Talaromyces marneffei has been discovered and its pathogenicity to humans has been recognized for over sixty years. The advances in organism-wide studies and the development of genetic manipulation tools contribute greatly to our current understanding of host-pathogen interactions. Several classes of genes have been identified to be involved in stress response, morphogenesis, and virulence based on the characterization of the generated mutants. Here, we summarize the main techniques for T. marneffei genetic manipulation, including chemical mutagenesis, insertional mutagenesis, homologous recombination-mediated gene replacement, knockdown methods, and the recent popular CRISPR-Cas9 (Clustered Regularly Interspaced Short Palindromic Repeats; Cas=CRISPR associated protein) technology. The advantages and disadvantages of each technique were determined from a historical perspective. We also describe potential strategies to improve the current genetics studies, such as the generation of new selection markers and genetically modified strains. The genetic approaches will continue to impact the studies of T. marneffei and can lead to the discovery of new diagnostic tools, drugs, and vaccines.","PeriodicalId":500652,"journal":{"name":"Ramathibodi Medical Journal","volume":" 4","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-03-25","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"140381927","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
Antimicrobial Drug Susceptibility Test of Pythium insidiosum by Disc Diffusion Method 盘片扩散法测定内生脓胞癣菌的抗菌药物敏感性
Pub Date : 2024-03-25 DOI: 10.33165/rmj.2024.47.1.267191
S. Khanthawong, Peeranut Vongthanayodh, Supattra Pruanjarern, Apichaya Taengrom, Kanchana Usuwanthim, Pachuen Potup, Y. Thongsri
Background: Pythiosis is a life-threatening disease caused by the fungus-like organism Pythium insidiosum. It causes disease in both animals and humans. Amphotericin B antifungal is less effective because it lacks ergosterol, a drug target in the cell membrane.Objective: To evaluate antimicrobial susceptibility test of P. insidiosum isolated from human pythiosis by disc diffusion method.Methods: The antimicrobial drug susceptibility test by disc diffusion method was tested against 10 clinical isolated strains of P. insidiosum. Antimicrobial drugs comprise of 8 antibiotics (chloramphenicol, cefotaxime, ciprofloxacin, gentamycin, tetracycline, meropenem, oxacillin, and vancomycin) and 2 antifungal drugs (itraconazole and amphotericin B) which were included in the test.Results: Antimicrobial drugs susceptibility tests were performed on 10 clinically isolated strains of P. insidiosum. Six of them showed susceptibility to antimicrobial drugs. The cutaneous pythiosis strain (SIMI 8569) showed the highest number of susceptibilities to antimicrobial agents (chloramphenicol, ciprofloxacin, gentamycin, tetracycline, vancomycin, and itraconazole). In addition, 4 strains of P. insidiosum (M 29, SIMI 6666, SIMI 7873, and SIMI 2989-42) were not inhibited by all antimicrobial drugs.Conclusions: This result concluded that chloramphenicol, tetracycline, and itraconazole inhibited the mycelial growth of P. insidiosum better than the other drugs. The inhibition effects of these drugs were observed in 40% - 60% of the strains. Further experiments should be carried out to evaluate the tested drugs in various concentrations with other more susceptible methods to get more precise concentrations exposed to P. insidiosum isolates such as broth dilution or dilution assays. 
背景:恙虫病是一种由类真菌恙虫引起的危及生命的疾病。它可导致动物和人类患病。两性霉素 B 的抗真菌效果较差,因为它缺乏麦角甾醇,而麦角甾醇是细胞膜上的一个药物靶点:通过碟片扩散法评估从人类脓疱病中分离出的内生脓疱癣菌的抗菌药物敏感性试验:方法:用盘扩散法对 10 株临床分离的脓疱疮脓疱疮菌进行抗菌药物药敏试验。抗菌药物包括 8 种抗生素(氯霉素、头孢他啶、环丙沙星、庆大霉素、四环素、美罗培南、氧西林和万古霉素)和 2 种抗真菌药物(伊曲康唑和两性霉素 B):结果:对 10 株临床分离的内生痢疾杆菌进行了抗菌药物药敏试验。其中 6 株对抗菌药物呈敏感性。皮肤脓毒血症菌株(SIMI 8569)对抗菌药物(氯霉素、环丙沙星、庆大霉素、四环素、万古霉素和伊曲康唑)的敏感性最高。此外,4 株 P. insidiosum(M 29、SIMI 6666、SIMI 7873 和 SIMI 2989-42)未被所有抗菌药物抑制:结论:氯霉素、四环素和伊曲康唑对内生豌豆菌菌丝生长的抑制作用优于其他药物。这些药物对 40% - 60% 的菌株有抑制作用。应开展进一步的实验,用其他更易受影响的方法(如肉汤稀释法或稀释法)评估不同浓度的受试药物,以获得更精确的抑制内生癣菌分离物的浓度。
{"title":"Antimicrobial Drug Susceptibility Test of Pythium insidiosum by Disc Diffusion Method","authors":"S. Khanthawong, Peeranut Vongthanayodh, Supattra Pruanjarern, Apichaya Taengrom, Kanchana Usuwanthim, Pachuen Potup, Y. Thongsri","doi":"10.33165/rmj.2024.47.1.267191","DOIUrl":"https://doi.org/10.33165/rmj.2024.47.1.267191","url":null,"abstract":"Background: Pythiosis is a life-threatening disease caused by the fungus-like organism Pythium insidiosum. It causes disease in both animals and humans. Amphotericin B antifungal is less effective because it lacks ergosterol, a drug target in the cell membrane.\u0000Objective: To evaluate antimicrobial susceptibility test of P. insidiosum isolated from human pythiosis by disc diffusion method.\u0000Methods: The antimicrobial drug susceptibility test by disc diffusion method was tested against 10 clinical isolated strains of P. insidiosum. Antimicrobial drugs comprise of 8 antibiotics (chloramphenicol, cefotaxime, ciprofloxacin, gentamycin, tetracycline, meropenem, oxacillin, and vancomycin) and 2 antifungal drugs (itraconazole and amphotericin B) which were included in the test.\u0000Results: Antimicrobial drugs susceptibility tests were performed on 10 clinically isolated strains of P. insidiosum. Six of them showed susceptibility to antimicrobial drugs. The cutaneous pythiosis strain (SIMI 8569) showed the highest number of susceptibilities to antimicrobial agents (chloramphenicol, ciprofloxacin, gentamycin, tetracycline, vancomycin, and itraconazole). In addition, 4 strains of P. insidiosum (M 29, SIMI 6666, SIMI 7873, and SIMI 2989-42) were not inhibited by all antimicrobial drugs.\u0000Conclusions: This result concluded that chloramphenicol, tetracycline, and itraconazole inhibited the mycelial growth of P. insidiosum better than the other drugs. The inhibition effects of these drugs were observed in 40% - 60% of the strains. Further experiments should be carried out to evaluate the tested drugs in various concentrations with other more susceptible methods to get more precise concentrations exposed to P. insidiosum isolates such as broth dilution or dilution assays.\u0000 ","PeriodicalId":500652,"journal":{"name":"Ramathibodi Medical Journal","volume":" 1138","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-03-25","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"140382562","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การวิเคราะห์ต้นทุนการรักษาด้วยการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตของตนเอง สำหรับ Lymphoma และ Myeloma การวิเคราะห์ต้นทุนการรักษาด้วยการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตของตนเอง สำหรับ Lymphoma และ Myeloma
Pub Date : 2024-03-25 DOI: 10.33165/rmj.2024.47.1.266431
นิลวรรณ อยู่ภักดี, อธิชาพรรณ อยู่เชื้อ, วสี เลิศขจรสิน, พีระพล วอง
บทนำ: ปัจจุบันการรักษาด้วยการใช้เคมีบำบัดขนาดสูงร่วมกับการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตของตนเองถือเป็นส่วนประกอบสำคัญในการรักษาโรคมะเร็งต่อมน้ำเหลือง (Lymphoma) และมะเร็งเม็ดเลือดขาวมัยอีโลมา (Myeloma)วัตถุประสงค์: เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนและค่ารักษาพยาบาลด้วยวิธีการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตของตนเองในผู้ป่วย Lymphoma และ Myelomaวิธีการศึกษา: การศึกษาแบบพรรณนาต้นทุน (Cost descriptive) ข้อมูลต้นทุนจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิ โดยใช้แบบเก็บข้อมูลต้นทุนร่วมกับการสัมภาษณ์บุคลากรที่เกี่ยวข้อง และข้อมูลค่ารักษาพยาบาลเก็บจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ คือ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของผู้ป่วยที่มารับบริการในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร ช่วงปี พ.ศ. 2552 - 2564 วิเคราะห์ข้อมูลตามกระบวนการรักษา 6 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การให้ยาเคมีบำบัดเพื่อเคลื่อนย้ายเซลล์ต้นกำเนิด  2) การเก็บเซลล์ต้นกำเนิด  3) การเก็บรักษาเซลล์ต้นกำเนิด  4) การให้ยาเคมีบำบัดขนาดสูง  5) การคืนเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิต และ 6) การดูแลต่อเนื่องหลังคืนเซลล์ต้นกำเนิด การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ความไวแบบทางเดียว (One-way sensitivity analysis)ผลการศึกษา: ผู้ป่วยที่เข้ารับการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตของตนเอง จำนวนทั้งหมด 106 คน เป็นผู้ป่วย Lymphoma จำนวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 48.11 และ Myeloma จำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 51.89 ต้นทุนเฉลี่ยต่อคนในผู้ป่วย Lymphoma และ Myeloma คิดเป็นเงิน 400,863.84 บาท และ 197,862.08 บาท ตามลำดับ ผลการวิเคราะห์ความไวต้นทุนของผู้ป่วย Lymphoma อยู่ในช่วง 298,467.09 - 518,968.75 บาท และ Myeloma อยู่ในช่วง 136,065.67 - 275,366.63 บาท สำหรับค่ารักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลเรียกเก็บในผู้ป่วย Lymphoma เฉลี่ยเป็นเงิน 359,391.74 บาท (SD 143,935.92 บาท) และในผู้ป่วย Myeloma เฉลี่ยเป็นเงิน 162,763.56 บาท (SD 48,649.74 บาท)สรุป: ต้นทุนที่ได้มีค่าอยู่ในช่วงที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณรายหัว 
บทนำ:ปัจุบันการรักษาด้วยการใช้เคมีบำบันขาดสูงร่วมกับารปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ล(淋巴瘤)วัตถุประสงค์:เพือวิเคราะห์ต้นทุนและค่ารักษาพยาบาลด้วยวิธีการปลูกถ่ายเซลาะต้นกำเนิดเม็เด็หาะต้นเองในผู้ป่ยวย Lymphoma และ Myelomaวิธีการศึกษา:ารศึกษาแบบพรรณนาต้นทุน (Cost descriptive) ข้อมลูต้นทุนจากแหาล่งข้อมูลปฐมภูมิ โดยใช้แบเก็บข้อมูลต้นทุนร่วมกับารสัมภษาณ์บคุลากรที่เี่ยวข้องมติยภูมิ คือ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของผู้ป่วยที่มารับบริการในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร ช่วงปี พ.ศ.2552 -2564 วิเคราะห์ข้อมูลตามกระบวนการรักษา 6 ขันตอน ได้แก่ 1) การให้ยาเคมีบำบัดเพื่อเคลื่อนย้ายเซล์ต้นกำเนิด 2) การเก็บเซล์ต้นกำเนิด 3) การเก็บรัษกาเซล์ต้นกำเนิด 4)การให้ยาเคมีบำบัดขนาดสูง 5) การคืนเซลต์้นกำเนิดเม็ดโลหตและ 6) การดูแลต่อเนินเซลต์้นกำเนิด การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์วมไวแบทางเดียว (One-单向敏感性分析):ผู้ป่วยที่เข้ารับการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกเนำเดิเม็ดโลหิตของตนเอง จำนวนทั้งหมด 106 คน เป็นผู้ป่วย Lymphoma จำนวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 48.11 และ Myeloma จำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 51.89 ต้นทุนเฉลี่ยต่อคนในผู้ป่วย Lymphoma และ Myeloma คิดเป็นเงิน 400,863.84 บาท และ 197,862.08 บาท ตาลมำดับ ผลการวิเคราะห์ความไวต้นทุนขงอผู้ป่วย 淋巴瘤 อยู่ในช่วง 298,467.09 - 518,968.75 บาท และ Myeloma อยู่ในช่วง 136,065.67 - 275,366.63 บาท สำหรับค่ารักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลเรียกเก็บในผู้ป่วย 淋巴瘤 เฉลี่ยเ็ปนเงิน 359,391.74 บาท (SD 143,935.92 บาท) และในผู้่ปวย 骨髓瘤 เฉลี่ยเป็นเงิน 162,763.56 บาท (SD 48,649.74 บาท)สรุป: ต้นทุนที่ได้มีค่าอยู่ในช่วงที่ได้รับการจัดสรงบประมาณรายหัว
{"title":"การวิเคราะห์ต้นทุนการรักษาด้วยการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตของตนเอง สำหรับ Lymphoma และ Myeloma","authors":"นิลวรรณ อยู่ภักดี, อธิชาพรรณ อยู่เชื้อ, วสี เลิศขจรสิน, พีระพล วอง","doi":"10.33165/rmj.2024.47.1.266431","DOIUrl":"https://doi.org/10.33165/rmj.2024.47.1.266431","url":null,"abstract":"บทนำ: ปัจจุบันการรักษาด้วยการใช้เคมีบำบัดขนาดสูงร่วมกับการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตของตนเองถือเป็นส่วนประกอบสำคัญในการรักษาโรคมะเร็งต่อมน้ำเหลือง (Lymphoma) และมะเร็งเม็ดเลือดขาวมัยอีโลมา (Myeloma)\u0000วัตถุประสงค์: เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนและค่ารักษาพยาบาลด้วยวิธีการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตของตนเองในผู้ป่วย Lymphoma และ Myeloma\u0000วิธีการศึกษา: การศึกษาแบบพรรณนาต้นทุน (Cost descriptive) ข้อมูลต้นทุนจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิ โดยใช้แบบเก็บข้อมูลต้นทุนร่วมกับการสัมภาษณ์บุคลากรที่เกี่ยวข้อง และข้อมูลค่ารักษาพยาบาลเก็บจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ คือ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของผู้ป่วยที่มารับบริการในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร ช่วงปี พ.ศ. 2552 - 2564 วิเคราะห์ข้อมูลตามกระบวนการรักษา 6 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การให้ยาเคมีบำบัดเพื่อเคลื่อนย้ายเซลล์ต้นกำเนิด  2) การเก็บเซลล์ต้นกำเนิด  3) การเก็บรักษาเซลล์ต้นกำเนิด  4) การให้ยาเคมีบำบัดขนาดสูง  5) การคืนเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิต และ 6) การดูแลต่อเนื่องหลังคืนเซลล์ต้นกำเนิด การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ความไวแบบทางเดียว (One-way sensitivity analysis)\u0000ผลการศึกษา: ผู้ป่วยที่เข้ารับการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดโลหิตของตนเอง จำนวนทั้งหมด 106 คน เป็นผู้ป่วย Lymphoma จำนวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 48.11 และ Myeloma จำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 51.89 ต้นทุนเฉลี่ยต่อคนในผู้ป่วย Lymphoma และ Myeloma คิดเป็นเงิน 400,863.84 บาท และ 197,862.08 บาท ตามลำดับ ผลการวิเคราะห์ความไวต้นทุนของผู้ป่วย Lymphoma อยู่ในช่วง 298,467.09 - 518,968.75 บาท และ Myeloma อยู่ในช่วง 136,065.67 - 275,366.63 บาท สำหรับค่ารักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลเรียกเก็บในผู้ป่วย Lymphoma เฉลี่ยเป็นเงิน 359,391.74 บาท (SD 143,935.92 บาท) และในผู้ป่วย Myeloma เฉลี่ยเป็นเงิน 162,763.56 บาท (SD 48,649.74 บาท)\u0000สรุป: ต้นทุนที่ได้มีค่าอยู่ในช่วงที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณรายหัว\u0000 ","PeriodicalId":500652,"journal":{"name":"Ramathibodi Medical Journal","volume":" 21","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-03-25","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"140384966","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
Exploring the Feasibility of Implementing Telepractice Innovation for Speech-Language Pathologists in Thailand 探讨泰国语言病理学家实施远程实践创新的可行性
Pub Date : 2024-03-25 DOI: 10.33165/rmj.2024.47.1.266036
Tipwaree Aueworakhunanan, Pitcharpa Dejket, Sudarat Phakkachok, Weerapat Punkla
Background: The speech clinic at Ramathibodi Hospital has been using telepractice for 2 years. These outcomes have clearly shown many benefits. It is a new system in Thailand that has not been studied in terms of innovation before.Objective: To explore the possibility of speech-language pathologists (SLPs) in Thailand implementing the telepractice innovation through a survey of their attitudes toward the characteristics, diffusion, and limitations of innovation.Methods: In this survey study, SLPs responded to a questionnaire. Data regarding SLPs’ attitudes toward telepractice innovation were collected and then analyzed using descriptive and inferential statistics.Results: A total of 86 SLPs responded, who agreed characteristics, diffusion, and both were 54.66%, 45.34%, and 37.21%, respectively, most of them used telepractice. SLPs who used telepractice expressed limitations from patients at 52.24% and SLPs who did not use telepractice expressed limitations from systems at 47.36%.Conclusions: SLPs in Thailand equally expressed attitudes of agreement and disagreement toward the characteristics and diffusion of telepractice innovation. However, SLPs who used telepractice agreed more than those who did not. SLPs agreed on the characteristic of telepractice innovation, though not all of them agreed to the diffusion of telepractice. The limitations of telepractice innovation depended on SLPs’ telepractice experience, occurring from patients for SLPs who used telepractice, but from the system for SLPs who did not. Therefore, telepractice may be an option that can be used according to the needs of the patients and its appropriateness for specific situations. 
背景介绍拉玛铁博迪医院的言语诊所使用远程诊疗已有两年时间。这些成果清楚地显示了许多益处。这在泰国是一个新系统,以前从未对其创新性进行过研究:通过调查语言病理学家(SLPs)对创新的特点、传播和局限性的态度,探讨泰国语言病理学家实施远程诊疗创新的可能性:在这项调查研究中,SLP 回答了一份问卷。方法:在这项调查研究中,SLP 回答了一份问卷,收集了有关 SLP 对远程实践创新的态度的数据,然后使用描述性和推论性统计进行了分析:共有86名SLPs回答了问卷,他们对远程实践的特点、普及率和两者的认同率分别为54.66%、45.34%和37.21%,其中大部分SLPs使用了远程实践。52.24%的使用远程实践的语言矫正师表示受到患者的限制,47.36%的未使用远程实践的语言矫正师表示受到系统的限制:结论:泰国的语言矫正师对远程实践创新的特点和推广同样表示了同意和不同意的态度。然而,使用远程实践的语言矫正师比不使用远程实践的语言矫正师更赞同远程实践。尽管并非所有的 SLPs 都同意远程实践的推广,但他们对远程实践创新的特点表示同意。远程实践创新的局限性取决于远程实践者的远程实践经验,对于使用远程实践的远程实践者来说,局限性来自患者,而对于未使用远程实践的远程实践者来说,局限性来自系统。因此,远程实践可能是一种选择,可根据患者的需求及其在特定情况下的适宜性加以使用。
{"title":"Exploring the Feasibility of Implementing Telepractice Innovation for Speech-Language Pathologists in Thailand","authors":"Tipwaree Aueworakhunanan, Pitcharpa Dejket, Sudarat Phakkachok, Weerapat Punkla","doi":"10.33165/rmj.2024.47.1.266036","DOIUrl":"https://doi.org/10.33165/rmj.2024.47.1.266036","url":null,"abstract":"Background: The speech clinic at Ramathibodi Hospital has been using telepractice for 2 years. These outcomes have clearly shown many benefits. It is a new system in Thailand that has not been studied in terms of innovation before.\u0000Objective: To explore the possibility of speech-language pathologists (SLPs) in Thailand implementing the telepractice innovation through a survey of their attitudes toward the characteristics, diffusion, and limitations of innovation.\u0000Methods: In this survey study, SLPs responded to a questionnaire. Data regarding SLPs’ attitudes toward telepractice innovation were collected and then analyzed using descriptive and inferential statistics.\u0000Results: A total of 86 SLPs responded, who agreed characteristics, diffusion, and both were 54.66%, 45.34%, and 37.21%, respectively, most of them used telepractice. SLPs who used telepractice expressed limitations from patients at 52.24% and SLPs who did not use telepractice expressed limitations from systems at 47.36%.\u0000Conclusions: SLPs in Thailand equally expressed attitudes of agreement and disagreement toward the characteristics and diffusion of telepractice innovation. However, SLPs who used telepractice agreed more than those who did not. SLPs agreed on the characteristic of telepractice innovation, though not all of them agreed to the diffusion of telepractice. The limitations of telepractice innovation depended on SLPs’ telepractice experience, occurring from patients for SLPs who used telepractice, but from the system for SLPs who did not. Therefore, telepractice may be an option that can be used according to the needs of the patients and its appropriateness for specific situations.\u0000 ","PeriodicalId":500652,"journal":{"name":"Ramathibodi Medical Journal","volume":" 39","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-03-25","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"140385270","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
โปรตีนจากจิ้งหรีด ทางเลือกอาหารแห่งอนาคตเพื่อส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาความมั่นคงทางอาหาร โปรตีนจากจิ้งหรีด ทางเลือกอาหารแห่งอนาคตเพื่อส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาความมั่นคงทางอาหาร
Pub Date : 2024-03-25 DOI: 10.33165/rmj.2024.47.1.266823
อลงกต สิงห์โต, นริศา เรืองศรี
แนวโน้มการเพิ่มขึ้นของประชากรโลกส่งผลต่อความต้องการอาหารที่เพิ่มขึ้น การทำปศุสัตว์ทั่วไปส่งผลเสียต่อการสร้างมลพิษและก๊าซเรือนกระจกที่สร้างปัญหาต่อสภาพแวดล้อม การเตรียมความพร้อมด้านความมั่นคงทางอาหาร เพื่อรองรับความต้องการอาหารที่มากขึ้นในอนาคตโดยไม่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมจึงเป็นสิ่งสำคัญ ปัจจุบันมีการนำแมลงมาใช้เป็นอาหารมากขึ้นโดยเฉพาะจิ้งหรีดซึ่งเป็นแมลงที่ได้รับความนิยมชนิดหนึ่งและถูกนำมาใช้เป็นอาหารเนื่องจากมีคุณค่าทางโภชนาการสูง เป็นแหล่งของโปรตีนคุณภาพดี และใช้ทรัพยากรในการเพาะเลี้ยงน้อยจึงทำให้เกิดมลพิษต่ำเมื่อเทียบกับการทำปศุสัตว์ทั่วไป บทความนี้นำเสนอข้อมูลประโยชน์ของการนำจิ้งหรีดมาใช้เป็นแหล่งโปรตีนทางเลือก โดยนำเสนอคุณค่าทางโภชนาการ คุณประโยชน์และประสิทธิผลทางคลินิกจากงานวิจัยล่าสุดเท่าที่มีในปัจจุบัน รวมถึงข้อควรระวังในการใช้จิ้งหรีดมาเป็นแหล่งโปรตีนทางเลือกเพื่อเป็นข้อมูลแก่นักโภชนาการ นักกำหนดอาหารและบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาองค์ความรู้ทางคลินิกหรือผลิตภัณฑ์อาหารที่มีแหล่งโปรตีนจากจิ้งหรีดที่เป็นแหล่งโปรตีนทางเลือกอีกแหล่งหนึ่งในอนาคต 
แนวโน้มการเพิ่มขึ้นของประชากรโลกส่งผลต่อความต้องการอาหารที่เพิ่มขึ้น การทำปศุสัตว์ทั่วไปส่งผลเสียต่อการสร้างมลพิษและก๊าซเรือนกระจกที่สร้างปัญหาต่อสภาพแวดล้อม การเตรียมความพร้อมด้านความมั่นคงทางอาหารเพือรงรับความต้องกรอหาที่มากขึ้นในาคโตดยไม่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมจึงเป็นสิงส่ำคัญปัจุบันมีการนำแมลงมาใช้เป็นอาหารมากขึ้นโดยเฉพาะจิ้งหีดซึ่งเป็นแมลงที่ได้รับความนิยมชนิดหนห่งและถูกนำมาใช้เป็นอาหารเนื่งจากมีคุณค่าทางโภชนาการสูง เป็นแหาล่งของโปรตีนคุณภาพดีโดยนำเสือคุณค่าทางโภชนาการคุณประโยชน์และประสิทธิผลทางคลินิกจากงนวจิจัยล่าสุดเที่มี↪LoE43↩นปัจจุบันรวมถึงข้อควรระวังในการใช้จิงหีดาเป็นแล่งโชนาการนักำหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหนาหน
{"title":"โปรตีนจากจิ้งหรีด ทางเลือกอาหารแห่งอนาคตเพื่อส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาความมั่นคงทางอาหาร","authors":"อลงกต สิงห์โต, นริศา เรืองศรี","doi":"10.33165/rmj.2024.47.1.266823","DOIUrl":"https://doi.org/10.33165/rmj.2024.47.1.266823","url":null,"abstract":"แนวโน้มการเพิ่มขึ้นของประชากรโลกส่งผลต่อความต้องการอาหารที่เพิ่มขึ้น การทำปศุสัตว์ทั่วไปส่งผลเสียต่อการสร้างมลพิษและก๊าซเรือนกระจกที่สร้างปัญหาต่อสภาพแวดล้อม การเตรียมความพร้อมด้านความมั่นคงทางอาหาร เพื่อรองรับความต้องการอาหารที่มากขึ้นในอนาคตโดยไม่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมจึงเป็นสิ่งสำคัญ ปัจจุบันมีการนำแมลงมาใช้เป็นอาหารมากขึ้นโดยเฉพาะจิ้งหรีดซึ่งเป็นแมลงที่ได้รับความนิยมชนิดหนึ่งและถูกนำมาใช้เป็นอาหารเนื่องจากมีคุณค่าทางโภชนาการสูง เป็นแหล่งของโปรตีนคุณภาพดี และใช้ทรัพยากรในการเพาะเลี้ยงน้อยจึงทำให้เกิดมลพิษต่ำเมื่อเทียบกับการทำปศุสัตว์ทั่วไป บทความนี้นำเสนอข้อมูลประโยชน์ของการนำจิ้งหรีดมาใช้เป็นแหล่งโปรตีนทางเลือก โดยนำเสนอคุณค่าทางโภชนาการ คุณประโยชน์และประสิทธิผลทางคลินิกจากงานวิจัยล่าสุดเท่าที่มีในปัจจุบัน รวมถึงข้อควรระวังในการใช้จิ้งหรีดมาเป็นแหล่งโปรตีนทางเลือกเพื่อเป็นข้อมูลแก่นักโภชนาการ นักกำหนดอาหารและบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาองค์ความรู้ทางคลินิกหรือผลิตภัณฑ์อาหารที่มีแหล่งโปรตีนจากจิ้งหรีดที่เป็นแหล่งโปรตีนทางเลือกอีกแหล่งหนึ่งในอนาคต\u0000 ","PeriodicalId":500652,"journal":{"name":"Ramathibodi Medical Journal","volume":" 395","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-03-25","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"140383169","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
期刊
Ramathibodi Medical Journal
全部 Acc. Chem. Res. ACS Applied Bio Materials ACS Appl. Electron. Mater. ACS Appl. Energy Mater. ACS Appl. Mater. Interfaces ACS Appl. Nano Mater. ACS Appl. Polym. Mater. ACS BIOMATER-SCI ENG ACS Catal. ACS Cent. Sci. ACS Chem. Biol. ACS Chemical Health & Safety ACS Chem. Neurosci. ACS Comb. Sci. ACS Earth Space Chem. ACS Energy Lett. ACS Infect. Dis. ACS Macro Lett. ACS Mater. Lett. ACS Med. Chem. Lett. ACS Nano ACS Omega ACS Photonics ACS Sens. ACS Sustainable Chem. Eng. ACS Synth. Biol. Anal. Chem. BIOCHEMISTRY-US Bioconjugate Chem. BIOMACROMOLECULES Chem. Res. Toxicol. Chem. Rev. Chem. Mater. CRYST GROWTH DES ENERG FUEL Environ. Sci. Technol. Environ. Sci. Technol. Lett. Eur. J. Inorg. Chem. IND ENG CHEM RES Inorg. Chem. J. Agric. Food. Chem. J. Chem. Eng. Data J. Chem. Educ. J. Chem. Inf. Model. J. Chem. Theory Comput. J. Med. Chem. J. Nat. Prod. J PROTEOME RES J. Am. Chem. Soc. LANGMUIR MACROMOLECULES Mol. Pharmaceutics Nano Lett. Org. Lett. ORG PROCESS RES DEV ORGANOMETALLICS J. Org. Chem. J. Phys. Chem. J. Phys. Chem. A J. Phys. Chem. B J. Phys. Chem. C J. Phys. Chem. Lett. Analyst Anal. Methods Biomater. Sci. Catal. Sci. Technol. Chem. Commun. Chem. Soc. Rev. CHEM EDUC RES PRACT CRYSTENGCOMM Dalton Trans. Energy Environ. Sci. ENVIRON SCI-NANO ENVIRON SCI-PROC IMP ENVIRON SCI-WAT RES Faraday Discuss. Food Funct. Green Chem. Inorg. Chem. Front. Integr. Biol. J. Anal. At. Spectrom. J. Mater. Chem. A J. Mater. Chem. B J. Mater. Chem. C Lab Chip Mater. Chem. Front. Mater. Horiz. MEDCHEMCOMM Metallomics Mol. Biosyst. Mol. Syst. Des. Eng. Nanoscale Nanoscale Horiz. Nat. Prod. Rep. New J. Chem. Org. Biomol. Chem. Org. Chem. Front. PHOTOCH PHOTOBIO SCI PCCP Polym. Chem.
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
0
微信
客服QQ
Book学术公众号 扫码关注我们
反馈
×
意见反馈
请填写您的意见或建议
请填写您的手机或邮箱
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
现在去查看 取消
×
提示
确定
Book学术官方微信
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术
文献互助 智能选刊 最新文献 互助须知 联系我们:info@booksci.cn
Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。
Copyright © 2023 Book学术 All rights reserved.
ghs 京公网安备 11010802042870号 京ICP备2023020795号-1