{"title":"ภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี","authors":"จริยา พ่วงจีน, สุกัญญา สุดารารัตน์","doi":"10.60027/iarj.2024.277176","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ หมายถึง ความคาดหวังหรือความต้องการให้ผู้บริหารมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามแนวคิดในยุคดิจิทัล รวมถึงการสร้างองค์กรที่สนับสนุนการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาและปรับปรุงในการบริหารสถานศึกษา งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล และ2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของครูที่มีต่อภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ทำงาน และขนาดโรงเรียน\nระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ครูจากโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี จำนวน 315 คน โดยใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้นตามขนาดโรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ซึ่งมีค่าความตรงรายข้ออยู่ระหว่าง .67-1.00 และมีค่าความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ .90 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และการทดสอบความแตกต่างรายคู่แบบ LSD\nผลการวิจัย: พบว่า 1) ภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล ภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด คือ ด้านส่งเสริมการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอน ด้านการมีจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยี ด้านการมีวิสัยทัศน์ และด้านการบริหารงานด้วยเทคโนโลยี และ2) ความคิดเห็นของครูที่มีต่อภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล จำแนกตามเพศ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ทำงาน และขนาดโรงเรียนต่างกันมีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน ส่วนครูที่มีอายุต่างกันมีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ .05\nสรุปผล: ผลการวิจัยระบุว่าภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล ในภาพรวมและรายด้านมีระดับมากที่สุด คือ ด้านส่งเสริมการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอน และค่าเฉลี่ยต่ำสุดและด้านการบริหารงานด้วยเทคโนโลยี ส่วนความคิดเห็นของครูที่จำแนกตามเพศ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ทำงาน และขนาดโรงเรียนต่างกันมีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"28 10","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-07-25","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.277176","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:ภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ หมายถึง ความคาดหวังหอือความต้องการให้ผู้บริหารมีคุณลักษณะที่พึงประสงคต์ามแนวคิดในยุคดิจิทัลรวมถึงการสร้างองค์กรที่สนับสนุนการนำเทคนโทียมาใช้ในการพัฒนาและปรับปรุงในการบริหารสถนาศึกษา งนาวิจัยครั้งนี้ีมวัตถนารระสงค์เออื1) ศึกษภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล และ2) เปรียบเทียบความคิเหน็ของคที่มียอภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจัทัจำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ทำงาน และขนาดโรงเรียนระเบียบวิธีการวจัย:การวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ครูจากโรเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานทบุรีจำนวน 315 คน โดยใช้การสุ่มแบบแบ่งช้ันตามขนาดโรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ซึ่งมีค่าความตรงรายข้ออยู่ระหวาง .67-1.00 เที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ .90 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t- test)检验) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และการทดสอบความแตกต่างรายคู่แบ LSDผลการวจัย:1) ภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล ภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด คอืด้านส่งเสริมการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอน ด้านการมีรจิยธรรมในการใช้เทคโนโลยี ด้านการมีวิสัยทัศน์ และด้านการบริหารงานด้วยเทคนโลยี และ2)ความคิดเห็นของครูที่มีต่ภอาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล จำแนกตามเพศ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ทงำานและขนาดโรงเรียนต่งกันส่วนครูที่มีอายุ่างกันมีควาคมิเดห็นและขนางกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ .05สรุปผล:ผลการวิจัยระบุวาภาวะผู้นำที่พึงประสค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล ในภาพรวมและรายด้านมีระดับมากที่สุด คือ ด้านส่งเสริมการนำเทคโนโลียมาใช้ในการเรียนการสอนและค่าเฉลี่ยต่ำสุดและด้านการบราศึกษา ประสบการณ์ทำงาน และขนาดรงเรียต่างกันมีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。