首页 > 最新文献

Interdisciplinary Academic and Research Journal最新文献

英文 中文
ปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อ ภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อ ภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์
Pub Date : 2024-07-25 DOI: 10.60027/iarj.2024.277181
ณปภัช ทรวงโพธิ์, นันทิมา นาคาพงศ์ อัศวรักษ์
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: บุคคลที่ประสบกับภาวะหมดไฟในการทำงานจะขาดแรงจูงใจ ท้อแท้และเหนื่อยหน่ายในการทำงาน ซึ่งจะส่งผลเสียทั้งต่อบุคคลและองค์กร การเสริมสร้างพลังอำนาจ เป็นแนวคิดที่ช่วยส่งเสริม สนับสนุนให้บุคคลเห็นคุณค่าของเป้าหมายการทำงาน ก่อให้เกิดแรงจูงใจในการทำงานด้วยความเชื่อมั่นในศักยภาพของตนเอง และผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากกระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจนั้นมีผลทั้งในด้านจิตใจและศักยภาพการทำงานและส่งผลต่อประสิทธิภาพในการทำงาน โดยการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับของปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ 2) เพื่อศึกษาระดับของภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ และ 4) เพื่อศึกษาผลการพยากรณ์ของปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ ครูผู้ช่วย ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2566 จำนวน 148 คน ได้มาโดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบโควตา (Quota sampling) ตามสัดส่วนของครูผู้ช่วยแต่ละสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นมาตรประมาณค่า 5 ระดับ โดยมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.968 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson correlation coefficient) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression)ผลการวิจัย: 1) ผลการศึกษาระดับของปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ทุกปัจจัยอยู่ในระดับมาก ซึ่งปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การส่งเสริมให้มีโอกาสก้าวหน้า อยู่ในระดับมากและปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การได้รับข้อมูลข่าวสาร อยู่ในระดับมาก 2) ผลการศึกษาระดับของภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ความอ่อนล้าทางอารมณ์ อยู่ในระดับน้อยและด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการลดความสำเร็จส่วนบุคคล อยู่ในระดับน้อย 3) ผลการศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ พบว่า มีความสัมพันธ์เชิงลบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อยู่ระหว่าง -0.198 ถึง -0.539 4) ผลการพยากรณ์ของปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ พบว่า การสนับสนุนให้มีความรู้และทักษะ (X3) การส่งเสริมให้มีโอกาสก้าวหน้า (X4) และการจัดสรรทรัพยากร (X1) สามารถร่วมกันอธิบายภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่กา
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:เด็เด็แด็จันที่ยประสบกับภาวะหมดไฟในการทำงานจะขาดแรงจูงใจ ท้อแท้และเหนื่อยหน่ายในการทำงาน ซึ่งจะส่งผหเสียทั้งต่อบุคคคอองค์กร การเสริมสร้างพหังอำนาจเป็นแนวคิดที่ช่วยส่งเสริม สนับสนุนให้บุคเห็นคุณคา่ของเป้าหมายการทำงาน ก่อให้กเิดแรงจูงใจในการทำงานด้วยความเช่อืมั่นในศักยภาพองตนเองและผลลัพธ์ที่เกิขดึ้นจากระบวนการเสิมสร้างพลังำนาจนั้นีผลไทั้งาจิตใจและศักยภาพการทำงานและส่งผลต่อประสิท↪LoE18↩ิภาพ↪LoE43↩นการทำงานโดยการวจัยในคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศกึษาระดับของปัจัยการเสิมสร้างพลังอำนาจของผู้บริสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาพษิณุโลก อุตรดิตถ์ 2) เพื่อศึกษาระดับของภาวะหมดไฟในการทงำานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนังกานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาพษิษณุโลกอุตรดิตถ์ 3) เพอือศึกษาความสัมพันธ์ขงปอจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้่ชวยสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ และ 4) เพื่อศึกษาผลการพยากรณ์ของปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วยสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลกอุตรดิตถ์ระเบียบวิธีการวจัย:กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ ครูผู้ช่วย ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2566 จำนวน 148 คน ได้มาโดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบโควตา (Quota sampling)ตามสัดส่วนของครูผู้ช่วยแต่ละสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขขพตื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุลก อุตรดิตถ์เก็บรวบรมข้อมูลด้วยแบสอบถาม มีลักษณะเป็นมาตรประมาณค่า 5 ระดับ โดยมีค่าความเชือมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.968 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนามตรฐานค่าสถิติสัมประสิทธิ์หสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson correlation coefficient) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression)ผลการวิจัย:1) ผลการศึกษาระดับของปัจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุลโกอุตรดิตถ์ ทุกปัจจัยอยู่ในระดับมาก ซึ่งปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การส่งเสริมใหม้ีโอกาสก้าวหน้าอยู่ในระดับมากและปัจัยที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การได้รับข้อมูข่าวสาร อยู่ในระดับมาก 2)ผลการศึกษาระดับขอภาวหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิถ์โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ความอ่อนล้าทางอารมณ์ อยู่ในระดับน้อยและด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการลดความสำเร็จส่วนบุคคล อยู่ในระดับน้อย 3)ผลการศึกษาความสัมพันธ์ของปจัยการเสิมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับภาวหมดไฟในการทำงานของครูผู้ชวยสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ พบว่า มีความสัมพันธ์เชิงลบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สัมพันธ์อยู่ระหว่าง -0.198 ถึง -0.สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ พบว่า การสนับสนุนให้มีความรู้และทษกะ(X3) การส่งเสริมให้มีโอกาสก้าวหน้า (X4) และการจัดสรทรัพยากร (X1) สามารถร่วมกันอธิบายภาวะหมดไฟในากรทำงานของครูผู้ช่วยสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ (y) ได้อย่างมีนัยสําคัญาทงสถิติที่ระดับ .05 โดยมี่คาอำนาจการพยากรณ์ได้ร้อยละ 41.40 สามารถเขียนสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบและคะแนนมาตรฐน
{"title":"ปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อ ภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์","authors":"ณปภัช ทรวงโพธิ์, นันทิมา นาคาพงศ์ อัศวรักษ์","doi":"10.60027/iarj.2024.277181","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.277181","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: บุคคลที่ประสบกับภาวะหมดไฟในการทำงานจะขาดแรงจูงใจ ท้อแท้และเหนื่อยหน่ายในการทำงาน ซึ่งจะส่งผลเสียทั้งต่อบุคคลและองค์กร การเสริมสร้างพลังอำนาจ เป็นแนวคิดที่ช่วยส่งเสริม สนับสนุนให้บุคคลเห็นคุณค่าของเป้าหมายการทำงาน ก่อให้เกิดแรงจูงใจในการทำงานด้วยความเชื่อมั่นในศักยภาพของตนเอง และผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากกระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจนั้นมีผลทั้งในด้านจิตใจและศักยภาพการทำงานและส่งผลต่อประสิทธิภาพในการทำงาน โดยการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับของปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ 2) เพื่อศึกษาระดับของภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ และ 4) เพื่อศึกษาผลการพยากรณ์ของปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ ครูผู้ช่วย ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2566 จำนวน 148 คน ได้มาโดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบโควตา (Quota sampling) ตามสัดส่วนของครูผู้ช่วยแต่ละสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นมาตรประมาณค่า 5 ระดับ โดยมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.968 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson correlation coefficient) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression)\u0000ผลการวิจัย: 1) ผลการศึกษาระดับของปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ทุกปัจจัยอยู่ในระดับมาก ซึ่งปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การส่งเสริมให้มีโอกาสก้าวหน้า อยู่ในระดับมากและปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การได้รับข้อมูลข่าวสาร อยู่ในระดับมาก 2) ผลการศึกษาระดับของภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ความอ่อนล้าทางอารมณ์ อยู่ในระดับน้อยและด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการลดความสำเร็จส่วนบุคคล อยู่ในระดับน้อย 3) ผลการศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษากับภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ พบว่า มีความสัมพันธ์เชิงลบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อยู่ระหว่าง -0.198 ถึง -0.539 4) ผลการพยากรณ์ของปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ พบว่า การสนับสนุนให้มีความรู้และทักษะ (X3) การส่งเสริมให้มีโอกาสก้าวหน้า (X4) และการจัดสรรทรัพยากร (X1) สามารถร่วมกันอธิบายภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่กา","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"12 10","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-25","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141803262","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
Storytelling in the Digital Age: How It Came to be and what should or Should Not Be Done 数字时代的讲故事:它是如何形成的,以及应该或不应该做什么
Pub Date : 2024-07-25 DOI: 10.60027/iarj.2024.276875
Laura Zengo
Background and Aims: This research focuses on the importance of storytelling in a digital world where telling stories has become paramount to engaging an audience. Whether the aim is to get the listener or reader to adhere to an ecological or scientific cause, or to prompt a purchase for marketing purposes. This paper highlights the evolution of storytelling, from its theorization in the 90s to the present day. How, through storytelling, one can influence audience engagement and win their support. It will also bring to light how digital storytelling can be misleading through trailers, ads, or stories. It's important to remember that it's a means of communication. We need to emphasize the importance of theory in correlating the impact of the use and application of storytelling in many areas of our daily lives, including entertainment but also in a professional environment.Methodology: We conducted a systematic review of scholarly articles, books, and firsthand accounts published since the 1990s, focusing on the evolution and impact of storytelling. We focused on experts in their fields, favoring a qualitative rather than quantitative approach. We've selected authors such as Carmine Gallo, keynote speaker and bestselling author of Talk like TED, or Annette Simmons, author of several books on storytelling.Results: Our analysis revealed a variety of storytelling methods across platforms, each effective in its context based on audience engagement and narrative authenticity. The takeaway is that the only variable determining successful storytelling is the accuracy of the story being told.Conclusion: The research highlights that storytelling is broadly used nowadays, in a lot of different ways. The research suggests that successful storytelling hinges on a genuine narrative and audience relevance. This underscores the importance of strategically aligning narratives with communication goals.
背景与目的:本研究侧重于在数字世界中讲故事的重要性,在这个世界中,讲故事已成为吸引受众的首要条件。无论其目的是让听众或读者支持生态或科学事业,还是出于营销目的促成购买。本文重点介绍了讲故事从上世纪 90 年代理论化至今的演变过程。如何通过讲故事影响受众参与并赢得他们的支持。本文还将揭示如何通过预告片、广告或故事来误导数字故事。重要的是要记住,这是一种传播手段。我们需要强调的是,在我们日常生活的许多领域,包括娱乐,也包括专业环境中,理论在关联使用和应用讲故事的影响方面的重要性:我们对 20 世纪 90 年代以来发表的学术文章、书籍和第一手资料进行了系统回顾,重点关注讲故事的演变和影响。我们将重点放在各自领域的专家身上,倾向于采用定性而非定量的方法。我们选择的作者包括《Talk like TED》的主讲人和畅销书作者卡迈恩-加洛(Carmine Gallo),以及多本关于讲故事的书籍的作者安妮特-西蒙斯(Annette Simmons):我们的分析揭示了跨平台的各种讲故事方法,每种方法都能在受众参与和叙事真实性的基础上,在特定环境中发挥有效作用。得出的结论是,决定讲故事成功与否的唯一变量是所讲故事的准确性:研究强调,讲故事如今被广泛应用于许多不同的方式。研究表明,成功的讲故事取决于真实的叙事和与受众的相关性。这就强调了从战略上使叙事与传播目标相一致的重要性。
{"title":"Storytelling in the Digital Age: How It Came to be and what should or Should Not Be Done","authors":"Laura Zengo","doi":"10.60027/iarj.2024.276875","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276875","url":null,"abstract":"Background and Aims: This research focuses on the importance of storytelling in a digital world where telling stories has become paramount to engaging an audience. Whether the aim is to get the listener or reader to adhere to an ecological or scientific cause, or to prompt a purchase for marketing purposes. This paper highlights the evolution of storytelling, from its theorization in the 90s to the present day. How, through storytelling, one can influence audience engagement and win their support. It will also bring to light how digital storytelling can be misleading through trailers, ads, or stories. It's important to remember that it's a means of communication. We need to emphasize the importance of theory in correlating the impact of the use and application of storytelling in many areas of our daily lives, including entertainment but also in a professional environment.\u0000Methodology: We conducted a systematic review of scholarly articles, books, and firsthand accounts published since the 1990s, focusing on the evolution and impact of storytelling. We focused on experts in their fields, favoring a qualitative rather than quantitative approach. We've selected authors such as Carmine Gallo, keynote speaker and bestselling author of Talk like TED, or Annette Simmons, author of several books on storytelling.\u0000Results: Our analysis revealed a variety of storytelling methods across platforms, each effective in its context based on audience engagement and narrative authenticity. The takeaway is that the only variable determining successful storytelling is the accuracy of the story being told.\u0000Conclusion: The research highlights that storytelling is broadly used nowadays, in a lot of different ways. The research suggests that successful storytelling hinges on a genuine narrative and audience relevance. This underscores the importance of strategically aligning narratives with communication goals.","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"28 2","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-25","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141804522","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ผลของการใช้กลวิธี REAP ที่มีต่อความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผลของการใช้กลวิธี REAP ที่มีต่อความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
Pub Date : 2024-07-25 DOI: 10.60027/iarj.2024.276607
พิมลกร ทวยหาญ, เพชร วิจิตรนาวิน
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์มีความสําคัญต่อนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ในการพิจารณาข้อมูลอย่างรอบคอบและตัดสินใจได้อย่างมีเหตุผล อย่างไรก็ตาม ผลการประเมิน PISA ปี 2022 พบว่าทักษะการอ่านของเด็กไทยมีแนวโน้มลดลง นอกจากนี้ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนของโรงเรียนวิวัฒน์วิทยา (นามสมมติ) พบว่าคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนต่ำกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ สาเหตุมาจากนักเรียนขาดทักษะการวิเคราะห์เนื้อหาจากบทอ่านและไม่สามารถเขียนสรุปความคิดของตนเองได้ นอกจากนี้ครูผู้สอนอาจจะยังขาดองค์ความรู้ในการจัดการเรียนรู้เรื่องทักษะการอ่าน ผู้วิจัยจึงสนใจจะพัฒนาความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยกลวิธี REAP ซึ่งการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลของการใช้กลวิธี REAP ที่มีต่อความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์โดยเปรียบเทียบค่ามัธยฐานของคะแนนความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังการทดลองระเบียบวิธีการวิจัย: ประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็นประชากรกลุ่มเป้าหมาย (target population) นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวิวัฒน์วิทยา (นามสมมติ) ห้อง ม. 3/1 จำนวน 31 คน ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 โดยใช้วิธีการเลือกแบบแบบเจาะจง (purposive sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ และเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยกลวิธี REAP จำนวน 6 แผน ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่ามัธยฐานและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่านัยสำคัญของความแตกต่างโดยใช้สถิติทดสอบ Wilcoxon testผลการวิจัย: นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยกลวิธี REAP มีค่ามัธยฐานของคะแนนความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานของการวิจัยสรุปผล: กลวิธี REAP สามารถพัฒนาความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้ โดยช่วยให้ผู้อ่านได้จัดระเบียบทางความคิดขณะอ่าน และมีการโต้ตอบกับบทอ่านอย่างเป็นระบบ ประกอบกับผู้อ่านได้พัฒนาทักษะการเขียนควบคู่กับการอ่านไปด้วย ตลอดจนอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดร่วมกัน ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนสูงขึ้นตามลำดับ
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:ทักษะการอ่านเชิงวิเคราะหมีความสําคัญต่อนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ใกนารพจิารณาข้อมูลอย่างรบคอบและตัดสินใจได้อย่างมีเหตุผลานผลากรประเมิน PISA ปี 2022 พบ่วาทักษะการอ่านของเด็กไทยมีแนวโน้มลดง นอกจากีน้ผลากรประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียนของโรงเรียนวิวัฒน์วิทยา (นามสมมติ) พบว่าคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนต่ำกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ สาเหตุมาจากนักเรียนขาดทักษะการวิเคราะห์เนื้อหาจากบทอ่านและไม่สามารถเขียนสรุปความคิดของตนเองได้นอกจากนี้ครูผู้สอนอาจะยังขาดองค์ความรู้ในการจัดการเรียนรู้เรื่องทักษะการอ่านผู้วิจัยจึงสนใจะพัฒนาความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดกิจรมการเรียนรู้วิธีมตัเE16↩ปรุะสงค์เพื่อประเมินผลของการใช้กวลิธี reapที่มีต่อความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์โดยเปรียบเทียบค่ามัธยฐานของคะแนนความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังการทดลองระเบียบวิธีการวิจัย:ประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็นประชากรลุ่มเป้าหมาย (target population) นักเรียนระดับชัน้มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวิวัฒน์วิทยา (นามสมมติ) ห้อง ม.3/1 จำนวน 31 คน ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ดยใช้วิธีการเลือกแบแบเจาะจง (purposive sampling)เครืองมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ และเครืองมือที่ใช้ในการทดลองได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยกลวิธี REAP จำนวน 6 แผน ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่ามัธยฐานและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่านัยสำคัญของความแตกต่างโดยใช้สถิติทดสอบ Wilcoxon testผลการวิจัย:นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยกลวิธี REAP มีค่ามัธยฐานของคะแนนความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ึซ่งเป็นฐาสมติฐาขนองการวิจัยสรุปผล:กลวิธี REAP สามารถพัฒนาความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้ โดยช่วยให้ผู้อ่านได้จัดระเบียบทางความคิดขณะอ่าน และมีการโต้ตอบกับบทอ่านอย่างเป็นระบบประกอบกับผู้่อานได้พัฒนาทักษะการเขียนควบคู่กับการอานไปด้วย ตลอดจนอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดร่วมกัน ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ความสามารถ↩ในการอ่านเชิงวิเคราระห์ของนักเรียนสูงขึนตม้ารำบดั
{"title":"ผลของการใช้กลวิธี REAP ที่มีต่อความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3","authors":"พิมลกร ทวยหาญ, เพชร วิจิตรนาวิน","doi":"10.60027/iarj.2024.276607","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276607","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์มีความสําคัญต่อนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ในการพิจารณาข้อมูลอย่างรอบคอบและตัดสินใจได้อย่างมีเหตุผล อย่างไรก็ตาม ผลการประเมิน PISA ปี 2022 พบว่าทักษะการอ่านของเด็กไทยมีแนวโน้มลดลง นอกจากนี้ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนของโรงเรียนวิวัฒน์วิทยา (นามสมมติ) พบว่าคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนต่ำกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ สาเหตุมาจากนักเรียนขาดทักษะการวิเคราะห์เนื้อหาจากบทอ่านและไม่สามารถเขียนสรุปความคิดของตนเองได้ นอกจากนี้ครูผู้สอนอาจจะยังขาดองค์ความรู้ในการจัดการเรียนรู้เรื่องทักษะการอ่าน ผู้วิจัยจึงสนใจจะพัฒนาความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยกลวิธี REAP ซึ่งการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลของการใช้กลวิธี REAP ที่มีต่อความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์โดยเปรียบเทียบค่ามัธยฐานของคะแนนความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังการทดลอง\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: ประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็นประชากรกลุ่มเป้าหมาย (target population) นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวิวัฒน์วิทยา (นามสมมติ) ห้อง ม. 3/1 จำนวน 31 คน ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 โดยใช้วิธีการเลือกแบบแบบเจาะจง (purposive sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ และเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยกลวิธี REAP จำนวน 6 แผน ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่ามัธยฐานและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่านัยสำคัญของความแตกต่างโดยใช้สถิติทดสอบ Wilcoxon test\u0000ผลการวิจัย: นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยกลวิธี REAP มีค่ามัธยฐานของคะแนนความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานของการวิจัย\u0000สรุปผล: กลวิธี REAP สามารถพัฒนาความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้ โดยช่วยให้ผู้อ่านได้จัดระเบียบทางความคิดขณะอ่าน และมีการโต้ตอบกับบทอ่านอย่างเป็นระบบ ประกอบกับผู้อ่านได้พัฒนาทักษะการเขียนควบคู่กับการอ่านไปด้วย ตลอดจนอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดร่วมกัน ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนสูงขึ้นตามลำดับ","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"51 28","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-25","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141805161","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี ภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี
Pub Date : 2024-07-25 DOI: 10.60027/iarj.2024.277176
จริยา พ่วงจีน, สุกัญญา สุดารารัตน์
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ หมายถึง ความคาดหวังหรือความต้องการให้ผู้บริหารมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามแนวคิดในยุคดิจิทัล รวมถึงการสร้างองค์กรที่สนับสนุนการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาและปรับปรุงในการบริหารสถานศึกษา งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล และ2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของครูที่มีต่อภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ทำงาน และขนาดโรงเรียนระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ครูจากโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี จำนวน 315 คน โดยใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้นตามขนาดโรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ซึ่งมีค่าความตรงรายข้ออยู่ระหว่าง .67-1.00 และมีค่าความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ .90 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และการทดสอบความแตกต่างรายคู่แบบ LSDผลการวิจัย: พบว่า 1) ภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล ภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด คือ ด้านส่งเสริมการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอน ด้านการมีจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยี ด้านการมีวิสัยทัศน์ และด้านการบริหารงานด้วยเทคโนโลยี และ2) ความคิดเห็นของครูที่มีต่อภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล จำแนกตามเพศ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ทำงาน และขนาดโรงเรียนต่างกันมีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน ส่วนครูที่มีอายุต่างกันมีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ .05สรุปผล: ผลการวิจัยระบุว่าภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล ในภาพรวมและรายด้านมีระดับมากที่สุด คือ ด้านส่งเสริมการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอน และค่าเฉลี่ยต่ำสุดและด้านการบริหารงานด้วยเทคโนโลยี ส่วนความคิดเห็นของครูที่จำแนกตามเพศ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ทำงาน และขนาดโรงเรียนต่างกันมีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:ภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ หมายถึง ความคาดหวังหอือความต้องการให้ผู้บริหารมีคุณลักษณะที่พึงประสงคต์ามแนวคิดในยุคดิจิทัลรวมถึงการสร้างองค์กรที่สนับสนุนการนำเทคนโทียมาใช้ในการพัฒนาและปรับปรุงในการบริหารสถนาศึกษา งนาวิจัยครั้งนี้ีมวัตถนารระสงค์เออื1) ศึกษภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล และ2) เปรียบเทียบความคิเหน็ของคที่มียอภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจัทัจำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ทำงาน และขนาดโรงเรียนระเบียบวิธีการวจัย:การวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ครูจากโรเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานทบุรีจำนวน 315 คน โดยใช้การสุ่มแบบแบ่งช้ันตามขนาดโรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ซึ่งมีค่าความตรงรายข้ออยู่ระหวาง .67-1.00 เที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ .90 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t- test)检验) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และการทดสอบความแตกต่างรายคู่แบ LSDผลการวจัย:1) ภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล ภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด คอืด้านส่งเสริมการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอน ด้านการมีรจิยธรรมในการใช้เทคโนโลยี ด้านการมีวิสัยทัศน์ และด้านการบริหารงานด้วยเทคนโลยี และ2)ความคิดเห็นของครูที่มีต่ภอาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล จำแนกตามเพศ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ทงำานและขนาดโรงเรียนต่งกันส่วนครูที่มีอายุ่างกันมีควาคมิเดห็นและขนางกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ .05สรุปผล:ผลการวิจัยระบุวาภาวะผู้นำที่พึงประสค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล ในภาพรวมและรายด้านมีระดับมากที่สุด คือ ด้านส่งเสริมการนำเทคโนโลียมาใช้ในการเรียนการสอนและค่าเฉลี่ยต่ำสุดและด้านการบราศึกษา ประสบการณ์ทำงาน และขนาดรงเรียต่างกันมีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน
{"title":"ภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี","authors":"จริยา พ่วงจีน, สุกัญญา สุดารารัตน์","doi":"10.60027/iarj.2024.277176","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.277176","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ หมายถึง ความคาดหวังหรือความต้องการให้ผู้บริหารมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามแนวคิดในยุคดิจิทัล รวมถึงการสร้างองค์กรที่สนับสนุนการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาและปรับปรุงในการบริหารสถานศึกษา งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล และ2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของครูที่มีต่อภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ทำงาน และขนาดโรงเรียน\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ครูจากโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี จำนวน 315 คน โดยใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้นตามขนาดโรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ซึ่งมีค่าความตรงรายข้ออยู่ระหว่าง .67-1.00 และมีค่าความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ .90 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และการทดสอบความแตกต่างรายคู่แบบ LSD\u0000ผลการวิจัย: พบว่า 1) ภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล ภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด คือ ด้านส่งเสริมการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอน ด้านการมีจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยี ด้านการมีวิสัยทัศน์ และด้านการบริหารงานด้วยเทคโนโลยี และ2) ความคิดเห็นของครูที่มีต่อภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล จำแนกตามเพศ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ทำงาน และขนาดโรงเรียนต่างกันมีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน ส่วนครูที่มีอายุต่างกันมีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ .05\u0000สรุปผล: ผลการวิจัยระบุว่าภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล ในภาพรวมและรายด้านมีระดับมากที่สุด คือ ด้านส่งเสริมการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอน และค่าเฉลี่ยต่ำสุดและด้านการบริหารงานด้วยเทคโนโลยี ส่วนความคิดเห็นของครูที่จำแนกตามเพศ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ทำงาน และขนาดโรงเรียนต่างกันมีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"28 10","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-25","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141805936","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
แนวทางการพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้าน อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก แนวทางการพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้าน อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก
Pub Date : 2024-07-25 DOI: 10.60027/iarj.2024.277016
ชลธิชา ทองทา, ธนัสถา โรจนตระกูล, กัมปนาท วงษ์วัฒนพงษ์
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: กำนันผู้ใหญ่บ้าน เป็นตำแหน่งที่มีบทบาทอันสำคัญในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อประชาชน จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการเพิ่มศักยภาพให้สามารถปฏิบัติงานได้ตรงตามวัตถุประสงค์และความต้องการของชุมชน โดยยึดบทบาทหน้าที่ตามกฎหมายกำหนด การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับความคิดเห็นต่อบทบาทหน้าที่ และศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้าน 2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้าน และ 3) เสนอแนวทางการพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้าน อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลกระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน กลุ่มตัวอย่าง คือ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ในเขตอำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 210 คน และกลุ่มที่ใช้ในการสัมภาษณ์ ได้แก่ นายอำเภอพรหมพิราม ปลัดอำเภอ เสมียนตราอำเภอ เกษตรอำเภอ สาธารณสุขอำเภอ และพัฒนาการอำเภอ จำนวน 7 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้รูปแบบการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัย: 1) บทบาทหน้าที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้าน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านการบริการ ด้านการปกครองและการรักษาความสงบเรียบร้อย ด้านการอำนวยความยุติธรรมให้กับประชาชน ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจและการพัฒนาสังคม ระดับมาก และศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้าน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ ด้านทักษะในการปฏิบัติหน้าที่ ด้านความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติหน้าที่ 2) ปัจจัยบทบาทหน้าที่ ได้แก่ ด้านการปกครองและการรักษาความสงบเรียบร้อย ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจและการพัฒนาสังคม ด้านการอำนวยความยุติธรรมให้กับประชาชน ด้านการบริการ ส่งผลต่อศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้าน อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) แนวทางการพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้าน พบว่า มีการจัดอบรมให้ความรู้ โดยเฉพาะด้านเทคโนโลยี และการใช้สื่อออนไลน์ เช่น Facebook และ LINE เพื่อให้ทันกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง และมีการติดตามประเมินผล เพื่อให้เข้าใจหลักเกณฑ์ กระบวนการ และขั้นตอน ในการปฏิบัติหน้าที่ นำไปสู่การแก้ไขปัญหาอย่างรวดเร็ว รวมถึงจัดเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทำงานของกำนันผู้ใหญ่บ้าน เพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานให้มีศักยภาพมากขึ้นสรุปผล: บทบาทหน้าที่ด้านการปกครองและการรักษาความสงบเรียบร้อย ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจและการพัฒนาสังคม ด้านการอำนวยความยุติธรรมให้กับประชาชน ด้านการบริการ ส่งผลต่อศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้าน อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก จึงมีความจำเป็นที่จะต้องเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจ ความสามารถ และทักษะในการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อให้การปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน มีศักยภาพอย่างเหมาะสม
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:กันันผู้ใหญ่บ้าน เป็นตำแหน่งที่มีบทบาทอันสำคัญในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อประชาชนจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการเพิ่มศักยภาพให้สามารถปฏิบัติงานได้ตรงตามวัตถุประสงค์และความต้องการของชุมชน โดยยึดบทบาทหน้าที่ตามกฎหมายกำหนด การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1)ระดับความคิดเห็นต่อบทบาทหน้าที่ และศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้าน 2) ปัจัยที่สงผจัยที่สงศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้านและ 3) เสนอแนวทางการพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้าน อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลกระเบียบวิธีการวิจัย:การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน กลุ่มตัวอย่าง คือ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ในเขตอำเภอพรหมิพรามจังหวัดพิษณุโลกจำนวน 210 คน และกลุ่มที่ใช้ในการสัมภาษณ์ ได้แก่ นายอำเภอพรหมพิราม ปลัดอำเภอ เสมียนตราอำเภอเกษตรอำเภอ สาธารณสุขอำเภอ และพัฒนาการอเภอ จำนวน 7 คน วิเคราะหข์้อมูลด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้รูปแบการวิเคราะห์เนือหาผลการวิจัย:1) มติเE18↩รมติเE43↩รมติเE1C↩รมษาความสงบเรียบร้อย ด้านการอำนวยควมยุติธรรมใรมติเE1C↩รมษาความสงบเรียบร้อย ด้านการอำนวยควมยุติธรรมใรมติชนด้านการพัฒนาเศรษฐกิจและการพัฒนาสังคม ระดับมาก และศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้าน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ ด้านทักษะในการปฏิบัติหน้าที่2) ปัจัยบทบาทหน้าที่ ได้แก่ ด้านการปกครองและการรักษาความมเข้าใจในการปฏิบัติหน้าที่ 2) ปัจัยบทบาทหน้าที่ ได้แก่ ด้านการปกครองและการรักษาความสงเบรียบร้อย ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจและการพัฒนาสังคมด้านการอำนวยความยุติธรรมให้กับประชาชน ด้านการบริการ ส่งผลต่อศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้าน อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) แนวทางการพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติหนาที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้าน พบว่า มีการจัดอบรมให้ความรู้ โดยเฉพาะด้านเทคนโลยีและการใช้สืออนไลน์ เช่น Facebook และ LINE เพ่ือให้ทันกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง และมีการติดตามประเมินผลเพื่อให้เข้าใจหักเกณฑ์ กระบวนการ และขั้นตอน ในการปฏิบัติหน้าที่ นำไปสู่การแก้าขไปัญหาอย่างรวดเร็วรวมถึงจัดเทีวแลกเปลี่ยนประสบารณ์ทงงานอกงงกำนันผู้ใหญ่บ้าน เพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานให้มีศักายภาพมากขึ้นสรุปผล:บทบาทหน้าที่ด้านการปกครองและการรักษาความสงบเรียบร้อย ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจและการพัฒนาสังคม ด้านการอำนวยความยุติธรรมให้กับประชาชน ด้านการบริการ ส่งผลต่อศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้านอำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก จึงมีความจำเป็นที่จะต้องเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจ ความสามารถ และทักษะในการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อให้การปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน มีศักยภาพอย่างเหมาะสม
{"title":"แนวทางการพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้าน อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก","authors":"ชลธิชา ทองทา, ธนัสถา โรจนตระกูล, กัมปนาท วงษ์วัฒนพงษ์","doi":"10.60027/iarj.2024.277016","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.277016","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: กำนันผู้ใหญ่บ้าน เป็นตำแหน่งที่มีบทบาทอันสำคัญในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อประชาชน จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการเพิ่มศักยภาพให้สามารถปฏิบัติงานได้ตรงตามวัตถุประสงค์และความต้องการของชุมชน โดยยึดบทบาทหน้าที่ตามกฎหมายกำหนด การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับความคิดเห็นต่อบทบาทหน้าที่ และศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้าน 2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้าน และ 3) เสนอแนวทางการพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้าน อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน กลุ่มตัวอย่าง คือ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ในเขตอำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 210 คน และกลุ่มที่ใช้ในการสัมภาษณ์ ได้แก่ นายอำเภอพรหมพิราม ปลัดอำเภอ เสมียนตราอำเภอ เกษตรอำเภอ สาธารณสุขอำเภอ และพัฒนาการอำเภอ จำนวน 7 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้รูปแบบการวิเคราะห์เนื้อหา\u0000ผลการวิจัย: 1) บทบาทหน้าที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้าน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านการบริการ ด้านการปกครองและการรักษาความสงบเรียบร้อย ด้านการอำนวยความยุติธรรมให้กับประชาชน ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจและการพัฒนาสังคม ระดับมาก และศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้าน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ ด้านทักษะในการปฏิบัติหน้าที่ ด้านความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติหน้าที่ 2) ปัจจัยบทบาทหน้าที่ ได้แก่ ด้านการปกครองและการรักษาความสงบเรียบร้อย ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจและการพัฒนาสังคม ด้านการอำนวยความยุติธรรมให้กับประชาชน ด้านการบริการ ส่งผลต่อศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้าน อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) แนวทางการพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้าน พบว่า มีการจัดอบรมให้ความรู้ โดยเฉพาะด้านเทคโนโลยี และการใช้สื่อออนไลน์ เช่น Facebook และ LINE เพื่อให้ทันกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง และมีการติดตามประเมินผล เพื่อให้เข้าใจหลักเกณฑ์ กระบวนการ และขั้นตอน ในการปฏิบัติหน้าที่ นำไปสู่การแก้ไขปัญหาอย่างรวดเร็ว รวมถึงจัดเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทำงานของกำนันผู้ใหญ่บ้าน เพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานให้มีศักยภาพมากขึ้น\u0000สรุปผล: บทบาทหน้าที่ด้านการปกครองและการรักษาความสงบเรียบร้อย ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจและการพัฒนาสังคม ด้านการอำนวยความยุติธรรมให้กับประชาชน ด้านการบริการ ส่งผลต่อศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้าน อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก จึงมีความจำเป็นที่จะต้องเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจ ความสามารถ และทักษะในการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อให้การปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน มีศักยภาพอย่างเหมาะสม","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"21 4","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-25","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141803473","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
อัตลักษณ์ชุมชมศิลปะเซรามิกจิ่งเต๋อเจิ้น สู่การจัดการถนนศิลปะเซรามิกร่วมสมัยในเขตจูซาน อัตลักษณ์ชุมชมศิลปะเซรามิกจิ่งเต๋อเจิ้น สู่การจัดการถนนศิลปะเซรามิกร่วมสมัยในเขตจูซาน
Pub Date : 2024-07-24 DOI: 10.60027/iarj.2024.276441
Qi Yu, Jantana Khochprasert, Poradee Panthupakorn
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อบูรณาการอัตลักษณ์ของชุมชนศิลปะเซรามิกจิ่งเต๋อเจิ้นเข้ากับการจัดการถนนศิลปะเซรามิก โดยศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์ของศิลปะเซรามิกของจีน การพัฒนาของศิลปะเซรามิกร่วมสมัย เอกลักษณ์ของเครื่องปั้นดินเผาร่วมสมัยของจีน นโยบายระดับชาติและภูมิหลังอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง งานวิจัยนี้ยังวิเคราะห์เอกลักษณ์ของชุมชนถนนศิลปะเซรามิกเถาหยางซินชุน ซึ่งประกอบไปด้วยอัตลักษณ์ของภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม และอัตลักษณ์ของวิถีชีวิตทางสังคมของประชาชนในพื้นที่ เพื่อนำมาดำเนินการปรับปรุงและจัดทำแผนการสำหรับการบริหารจัดการ การจัดการเริ่มต้นจากการสร้างพื้นที่โดยรวม เพื่อกำหนดคู่มือแผนการจัดการใหม่และเฉพาะด้าน ซึ่งสอดคล้องกับการพัฒนาที่ยั่งยืนของชุมชนถนนศิลปะเซรามิกเถาหยางซินชุน เพื่อเพิ่มภาพลักษณ์ระดับภูมิภาคของถนนศิลปะเซรามิกในจิ่งเต๋อเจิ้นระเบียบวิธีการวิจัย: งานวิจัยนี้สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ นักท่องเที่ยวและผู้อยู่อาศัยในชุมชนจำนวนมาก นอกจากนี้ยังจัดการพื้นที่ทางวัฒนธรรมและศิลปะของชุมชนถนนศิลปะเถาหยางซินชุน ผ่านการวิเคราะห์เอกสาร การสำรวจภาคสนาม และวิธีการวิจัยแบบสหวิทยาการ และนำมาผสมผสานเข้ากับทฤษฎีการจัดการวัฒนธรรมและศิลปะผลการวิจัย: งานวิจัยนี้ได้เรียบเรียงเอกสารทางประวัติศาสตร์ ดำเนินการสำรวจและวิเคราะห์ชุมชนศิลปะเซรามิกที่สำคัญในจิ่งเต๋อเจิ้น โดยเน้นไปที่วัฒนธรรมและอัตลักษณ์ของชุมชนถนนเซรามิกเถาหยางซินชุน ค้นพบว่ามีความขัดแย้งและข้อบกพร่องในกระบวนการพัฒนา จากพื้นฐานทางทฤษฎีและเอกลักษณ์ของภูมิภาคในท้องถิ่น การวางแผนและการจัดการทางศิลปะใหม่ทั้งหมดของพื้นที่นี้ และยังจัดทำเป็นชุดคู่มือการจัดการที่สมบูรณ์ การศึกษาก่อนหน้านี้ส่วนมากเน้นไปที่วัสดุเซรามิกหรือการออกแบบงานศิลปะเซรามิก แต่เมื่อเปรียบเทียบกับงานวิจัยอื่นแล้ว งานวิจัยนี้มีเนื้อหาที่ครอบคลุมและสามารถนำไปใช้งานได้จริง เพื่อแก้ปัญหาในทางปฏิบัติที่การพัฒนาพื้นที่ของชุมชนศิลปะเซรามิกจิ่งเต๋อเจิ้นกำลังเผชิญอยู่ โดยมีชุมชนถนนศิลปะเซรามิกเถาหยางซินชุน จิ่งเต๋อเจิ้นมาเป็นกรณีศึกษา จัดทำเป็นชุดแผนการจัดการที่สมบูรณ์ เพื่อช่วยให้ชุมชนถนนศิลปะเซรามิกได้รับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อบูรณาการอัตลักษณ์ของชุมชนศิลปะเซรามิกจิ่งเต๋อเจิ้นเข้ากับารจัดการถนศิลปะเซรามิกโดยศึกษากรเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์ของศิลปะเซรามิกขงจีน การพัฒนาของศิลปะเซรามิกร่วมสมัเอกลักษณ์ของเคร่อองปั้นดินเผาร่วมสมัยของจีน นโยบายระดับชาติและภูมิหลังอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องงานวิจัยนี้ยังวิเคราะห์เอกลักษณ์ของชุมชนถนนศิลปะเซรามิกเถายหางซินชุน ซึ่งประกอบไปด้วยอตัลกษณ์ของภูมิหลังทางประวัติศาสตร์อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม และอัตลักษณ์ของวิถีชีวิตทางสังคมของประชาชนในพื้นที่ เพื่อนำมาดำเนินการปรับปรุงและจัดทำแผนการสำหรับการบริหารจัดการ การจัดการเริ่มต้นจากการสร้างพื้นที่โดยรวมเพื่อกำหนดคู่มือแผนการจัดการใหม่และเฉพาะด้าน ซึ่งสอดคล้องกับการพัฒนาที่ยั่งยืนของชุมชนถนนศิลปะเซรามิกเถาหยางซินชุน เพื่อเพิ่มภาพลักษณ์ระดับภูมิภาคของถนนศิลปะเซรามิกในจิ่งเต๋อเจิ้นระเบียบวิธีการวิจัย:งานวิจัยนี้สัภมาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ นักท่องเที่ยวและผู้อยูอ่าศัยใชนุมชนจำนวมาก นอกจากนี้ยังจัดากรพื้นที่ทางวัฒนธรรมและศิลปะของชุมชนถนศิลปะเถาหายงซินชุนผ่านการวิเคราะห์เอกสาร การสำรวจภาคสนาม และวิธีการวิจัยแบบสหวิทยาการและนำมาผสมผสานเข้ากับทฤษฎีการจัดการวัฒนธรรมและศปะผลการวิจัย:งานวิจัยนี้ได้เรียบเรียงเอกสารทางประวัติศาสตร์ ดำเนินการสำรวจและวิเคราะห์ชุมชนศิลปะเซรามิกที่สำคัญในจิ่งเต๋อเจิ้น โดยเน้นไปที่วัฒนธรรมและอัตลักษณ์ของชุมชนถนนเซรามิกเถาหยางซินชุนค้นพบว่ามีความขัดแย้งและข้อบกพร่องในกระบวนการพัฒนา จากพื้นฐานทางทฤษฎีและเอกลักษณ์ของภูมิภาคในท้องถิ่น การวางแผนและการจัดการทางศิลปะใหม่ทั้งหมดของพื้นที่นี้ และยังจัดทำเป็นชุดคู่มือการจัดการที่สมบูรณ์การศึกษาการถนำไปใชี่วัสัยออออออออืเพื่อแกปัญหาในทางปฏิบัติที่การพัฒนาพืนที่ของชุมชนศิลปะเซรามิกจิ่งเต๋อเจิ้นกำลังเผชิญอยู่ โดยมีชุมชนถนศิลปะเซรามิกเถาหยางซินุชนจิ่งเต๋อเจิ้นมาเ็ปนกรณีศึกษา จัดทำเป็นชุดแผนการจัดการที่สมบูรณ์ เพ่อช่วยใหุ้ชมชนถนศิลปะเซรามิกได้ับการพัฒนาย่างยั่งยืน
{"title":"อัตลักษณ์ชุมชมศิลปะเซรามิกจิ่งเต๋อเจิ้น สู่การจัดการถนนศิลปะเซรามิกร่วมสมัยในเขตจูซาน","authors":"Qi Yu, Jantana Khochprasert, Poradee Panthupakorn","doi":"10.60027/iarj.2024.276441","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276441","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อบูรณาการอัตลักษณ์ของชุมชนศิลปะเซรามิกจิ่งเต๋อเจิ้นเข้ากับการจัดการถนนศิลปะเซรามิก โดยศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์ของศิลปะเซรามิกของจีน การพัฒนาของศิลปะเซรามิกร่วมสมัย เอกลักษณ์ของเครื่องปั้นดินเผาร่วมสมัยของจีน นโยบายระดับชาติและภูมิหลังอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง งานวิจัยนี้ยังวิเคราะห์เอกลักษณ์ของชุมชนถนนศิลปะเซรามิกเถาหยางซินชุน ซึ่งประกอบไปด้วยอัตลักษณ์ของภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม และอัตลักษณ์ของวิถีชีวิตทางสังคมของประชาชนในพื้นที่ เพื่อนำมาดำเนินการปรับปรุงและจัดทำแผนการสำหรับการบริหารจัดการ การจัดการเริ่มต้นจากการสร้างพื้นที่โดยรวม เพื่อกำหนดคู่มือแผนการจัดการใหม่และเฉพาะด้าน ซึ่งสอดคล้องกับการพัฒนาที่ยั่งยืนของชุมชนถนนศิลปะเซรามิกเถาหยางซินชุน เพื่อเพิ่มภาพลักษณ์ระดับภูมิภาคของถนนศิลปะเซรามิกในจิ่งเต๋อเจิ้น\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: งานวิจัยนี้สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ นักท่องเที่ยวและผู้อยู่อาศัยในชุมชนจำนวนมาก นอกจากนี้ยังจัดการพื้นที่ทางวัฒนธรรมและศิลปะของชุมชนถนนศิลปะเถาหยางซินชุน ผ่านการวิเคราะห์เอกสาร การสำรวจภาคสนาม และวิธีการวิจัยแบบสหวิทยาการ และนำมาผสมผสานเข้ากับทฤษฎีการจัดการวัฒนธรรมและศิลปะ\u0000ผลการวิจัย: งานวิจัยนี้ได้เรียบเรียงเอกสารทางประวัติศาสตร์ ดำเนินการสำรวจและวิเคราะห์ชุมชนศิลปะเซรามิกที่สำคัญในจิ่งเต๋อเจิ้น โดยเน้นไปที่วัฒนธรรมและอัตลักษณ์ของชุมชนถนนเซรามิกเถาหยางซินชุน ค้นพบว่ามีความขัดแย้งและข้อบกพร่องในกระบวนการพัฒนา จากพื้นฐานทางทฤษฎีและเอกลักษณ์ของภูมิภาคในท้องถิ่น การวางแผนและการจัดการทางศิลปะใหม่ทั้งหมดของพื้นที่นี้ และยังจัดทำเป็นชุดคู่มือการจัดการที่สมบูรณ์ การศึกษาก่อนหน้านี้ส่วนมากเน้นไปที่วัสดุเซรามิกหรือการออกแบบงานศิลปะเซรามิก แต่เมื่อเปรียบเทียบกับงานวิจัยอื่นแล้ว งานวิจัยนี้มีเนื้อหาที่ครอบคลุมและสามารถนำไปใช้งานได้จริง เพื่อแก้ปัญหาในทางปฏิบัติที่การพัฒนาพื้นที่ของชุมชนศิลปะเซรามิกจิ่งเต๋อเจิ้นกำลังเผชิญอยู่ โดยมีชุมชนถนนศิลปะเซรามิกเถาหยางซินชุน จิ่งเต๋อเจิ้นมาเป็นกรณีศึกษา จัดทำเป็นชุดแผนการจัดการที่สมบูรณ์ เพื่อช่วยให้ชุมชนถนนศิลปะเซรามิกได้รับการพัฒนาอย่างยั่งยืน","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"31 12","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-24","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141810191","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบที่มีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบที่มีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
Pub Date : 2024-07-24 DOI: 10.60027/iarj.2024.276985
สุวิชชา เกตุชาติ, เด่นดาว ชลวิทย์
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ เป็นวิธีการฝึกคิด       อย่างรอบด้านพร้อมที่จะคิดได้หลายแบบในสถานการณ์ต่าง ๆ ตามแนวคิดของหมวกแต่ละสี ได้แก่ สีขาว สีแดง สีดำ สีเหลือง สีเขียว และสีฟ้า โดยมี 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นนำ (Lead-in) 2) การชี้แจงรายละเอียด (Explanation) 3) การสาธิต (Demonstration) เป็นการแสดงให้เห็นถึงการใช้หมวกที่มีความสัมพันธ์กับ การคิดแต่ละแบบพร้อมกับอธิบายแนะนำตัวอย่าง เพื่อสร้างความเข้าใจ 4) การฝึกปฏิบัติ (Practice) 5) การหารายละเอียดเพิ่มเติม (Elaboration) 6) การสรุป (Conclusion) ดังนั้น การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ ที่มีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนระเบียบวิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนแดงเป้า (สิงสุขบูรณะ) สำนักงานเขตลาดกระบัง สังกัดกรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 22 คน เลือกโดยวิธีเฉพาะเจาะจง  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้จำนวน 3 แผน 6 ชั่วโมง และแบบทดสอบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ จำนวน 30 ข้อ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติของการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบทีผลการวิจัย: ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบที่มีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 22 คน มีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน 18.18 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 2.91 และค่าเฉลี่ยหลังเรียน 21.95 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 3.47สรุปผล: ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ ที่มีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05         
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคนิคการคดแบหมวกหกใบ เป็นวิธีการรฝึกคิด อย่างรอบด้านพร้อมที่จะคอมที่จะคนิดได้หายแบบในสถานารณต์ๆ ตามแนวคิดของหมวกแต่ละสี ได้แก่ สขีาว สีแดง สีดำ สีเหลือง สีเขียว และสีฟ้า โดยมี 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นำ (Lead-)2) การชี้แแจงรายละเอียด (解释) 3) การสาธิต (演示) เป็นการแสดงให้เห็นถึงการใช้หมวกที่มีความสัมพันธ์กับ4) การเออสร้างความเข้าใจ 4) การเออสร้างความเข้าใจ 4) การเออสร้างความปฏิบัติ (练习) 5) การหาระเอียเดพิมเติม (阐述) 6) การสรุป (结论)ดังนั้น การวิจัยครั้งนี้มีวัตถปุระสงค์ เพื่อศึกษาผการจัดิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิการคดิแบบหมวกหกกใบที่มีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนระเบียบวิธีการศึกษา:ศึษาปีที่ 6 โรงเรียนแดงเป้า (สิงสุบขูรณะ) สำนักงานเขตาดระบังสังกัดกรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 22 คน เลือกโดยวิธีเฉพาะเจาะจง เครื่องมอที่ใช้ในการวิจัย3 แผน 6 ชั่วโมง และแบทดสอบความสามารถ↩ในการคิดวิเคราะห์ จำนวน 30 ข้อวิเคราะห์ข้อมูลโดยใชค่าสถิติของการวิเคราหะ์ข้อมูล ค่าเลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบทีผลการวิจัย:ผลารจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวกหกหาใบที่มีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 22 คน มีคะแนเฉลี่ยกอนเรียน 18.18 คะแน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s.d.) 2.91 และค่าเฉลี่ยหางเรียน 21.95 คะแน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s.d.) 3.47สรุปผล: ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ ที่มีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
{"title":"ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบที่มีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6","authors":"สุวิชชา เกตุชาติ, เด่นดาว ชลวิทย์","doi":"10.60027/iarj.2024.276985","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276985","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ เป็นวิธีการฝึกคิด       อย่างรอบด้านพร้อมที่จะคิดได้หลายแบบในสถานการณ์ต่าง ๆ ตามแนวคิดของหมวกแต่ละสี ได้แก่ สีขาว สีแดง สีดำ สีเหลือง สีเขียว และสีฟ้า โดยมี 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นนำ (Lead-in) 2) การชี้แจงรายละเอียด (Explanation) 3) การสาธิต (Demonstration) เป็นการแสดงให้เห็นถึงการใช้หมวกที่มีความสัมพันธ์กับ การคิดแต่ละแบบพร้อมกับอธิบายแนะนำตัวอย่าง เพื่อสร้างความเข้าใจ 4) การฝึกปฏิบัติ (Practice) 5) การหารายละเอียดเพิ่มเติม (Elaboration) 6) การสรุป (Conclusion) ดังนั้น การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ ที่มีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน\u0000ระเบียบวิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนแดงเป้า (สิงสุขบูรณะ) สำนักงานเขตลาดกระบัง สังกัดกรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 22 คน เลือกโดยวิธีเฉพาะเจาะจง  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้จำนวน 3 แผน 6 ชั่วโมง และแบบทดสอบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ จำนวน 30 ข้อ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติของการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที\u0000ผลการวิจัย: ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบที่มีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 22 คน มีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน 18.18 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 2.91 และค่าเฉลี่ยหลังเรียน 21.95 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 3.47\u0000สรุปผล: ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ ที่มีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05         ","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"21 4","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-24","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141806182","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
Pub Date : 2024-07-24 DOI: 10.60027/iarj.2024.277045
อัครพล อนุพันธ์, วิษณุ สุทธิวรรณ
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: คณิตศาสตร์ช่วยให้มนุษย์มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุ เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างรอบคอบและถี่ถ้วน มากไปกว่านั้น คณิตศาสตร์ยังช่วยให้นักเรียนสามารถคาดการณ์, วางแผน, และตัดสินใจแก้ปัญหาต่างอย่างถูกต้องและเหมาะสม การวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์หลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 และ 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3ระเบียบวิธีการวิจัย: วิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณและใช้รูปแบบการวิจัยแบบกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย 1 กลุ่ม คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 1 ห้องเรียน จำนวน 26 คน โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหา การบวก ลบ คูณ หาร จำนวน 4 แผน ใช้เวลาทั้งหมด 16 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ จำนวน 30 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติทดสอบทีผลการวิจัย: ผลปรากฏว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์คิดเป็นร้อยละ 73.86 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดร้อยละ 70 และ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05สรุปผล: เทคนิค KWDL ช่วยเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยนักเรียนเรียนรู้ผ่านกระบวนการเรียนรู้ตามลําดับและวิธีการที่มีโครงสร้างที่ชัดเจนและนําไปสู่การมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ที่สูงขึ้นของคะแนนหลังเรียนเมื่อเทียบกับเกณฑ์ที่กําหนด
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:คณิตศาสตร์ช่วยให้มนุษย์มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุ เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างรอบคอบและถี่ถ้วน มากไปกว่านั้น คณิตศาสตร์ยังช่วยให้นักเรียนสามารถคาดการณ์,วางแผน、และตัดสินใจแก้ปัญหาต่างอย่างถกตู้องและเหมาะสม การวจัยครั้งนี้จึงมีวัถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์หลังเรียนของนักรียนชันประถมศึกษาปที่3 เทียบกับเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเทียนคณิตศาสตร์ระหว่างก่อนเทียนของนักเทียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3ระเบียบวิธีการวจัย:วิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณและใช้รูปแบการวิจัยแบกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย 1 กลุ่ม คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 1จำนวน 26 คน โรงเรียนสาธิตมหาวิยทยาลัยราชภัฏในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึ่งไดม้าโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมอืที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1)แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหา การบวก ลบ คูณ หาร จำนวน 4 แผน ใช้เวลาทั้งหมด 16 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์จำนวน 30 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมติฐานโดยใช้สถิติทดสอบทีผลการวิจัย:ผลปรากฏว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์คิดเป็นร้อยละ 73.86 สิงกว่าเกณฑ์ที่กหำนดร้อยละ 70 และ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังได้รับารจัดิกจรมการเรียนรูด้วยเทคนิคKWDL มีคะแนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญาทงสถิติที่ระดับ .05สรุปผล:KWDLช่วยเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยนักเรียนเรียนรู้ผ่านกระบวนการเรียนรู้ตามลําดับและวิธีการที่มีโครงสร้างที่ชัดเจนและนําไปสู่การมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ที่สูงขึ้นของคะแนนหลังเรียนเมื่อเทียบกับเกณฑ์ที่กําหนด
{"title":"ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3","authors":"อัครพล อนุพันธ์, วิษณุ สุทธิวรรณ","doi":"10.60027/iarj.2024.277045","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.277045","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: คณิตศาสตร์ช่วยให้มนุษย์มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุ เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างรอบคอบและถี่ถ้วน มากไปกว่านั้น คณิตศาสตร์ยังช่วยให้นักเรียนสามารถคาดการณ์, วางแผน, และตัดสินใจแก้ปัญหาต่างอย่างถูกต้องและเหมาะสม การวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์หลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 และ 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: วิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณและใช้รูปแบบการวิจัยแบบกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย 1 กลุ่ม คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 1 ห้องเรียน จำนวน 26 คน โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหา การบวก ลบ คูณ หาร จำนวน 4 แผน ใช้เวลาทั้งหมด 16 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ จำนวน 30 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติทดสอบที\u0000ผลการวิจัย: ผลปรากฏว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์คิดเป็นร้อยละ 73.86 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดร้อยละ 70 และ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05\u0000สรุปผล: เทคนิค KWDL ช่วยเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยนักเรียนเรียนรู้ผ่านกระบวนการเรียนรู้ตามลําดับและวิธีการที่มีโครงสร้างที่ชัดเจนและนําไปสู่การมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ที่สูงขึ้นของคะแนนหลังเรียนเมื่อเทียบกับเกณฑ์ที่กําหนด","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"58 3","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-24","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141807096","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ผลของการใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R ที่มีต่อความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ผลของการใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R ที่มีต่อความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
Pub Date : 2024-07-24 DOI: 10.60027/iarj.2024.277001
วิชิดา อุ่นใจ, เด่นดาว ชลวิทย์
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การอ่านเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการช่วยให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต และช่วยให้เข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้ง่าย การอ่านอย่างคล่องแคล่วและเข้าใจความหมายจะนำมาซึ่งความรู้ และส่งเสริมให้เกิดการคิดวิเคราะห์ มีวิจารณญาณ และประยุกต์ใช้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อชีวิต หากนักเรียนมีความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ จะส่งผลให้เป็นคนมีความรอบรู้ มีเหตุผล และคิดรอบคอบก่อนตัดสินใจ ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้ศึกษาวิธีการสอนแบบ SQ5R เพื่อมาใช้ในการสอนอ่าน เพราะเป็นวิธีการสอนที่มีขั้นตอนอย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ สามารถเชื่อมโยงความรู้ด้วยการสะท้อนความคิด อีกทั้งสามารถแสดงความคิดเห็นผ่านกระบวนการอภิปรายร่วมกัน ก่อให้เกิดความเข้าใจในบทอ่านมากยิ่งขึ้น โดยการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถ ในการอ่านเชิงวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลังการใช้วิธีการสอนแบบ SQ5Rระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/4 โรงเรียนวัดดอนเมือง (ทหารอากาศอุทิศ) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 41 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้การอ่านเชิงวิเคราะห์ โดยใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R จำนวน 3 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง รวมทั้งสิ้น 6 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่าน เชิงวิเคราะห์ แบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติที่ใช้ในทดสอบสมมติฐานคือทดสอบค่า (t–test dependent)ผลการวิจัย   คะแนนความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 13.98 และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 4.03 และหลังใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 21.27 และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 3.63 สรุปได้ว่า ความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนโดยใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05สรุปผล: หลังจากได้รับการสอนโดยใช้วิธี SQ5R ความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ตามที่ระบุโดยข้อมูล ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการปรับปรุงที่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญ .05
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:การอ่านเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการช่วยให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต และช่วยให้เข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้ง่าย การอ่านอย่างคล่องแคล่วและเข้าใจความหมายจะนำมาซึ่งความรู้ และส่งเสริมให้เกิดการคิดวิเคราะห์มีวิจารณญาณ และประยุกต์ใช้ข้มูลที่เป็นประโยชน์ต่อชีวิต หากนักเรียนมีความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์จะส่งผลให้เป็นคนีความรอบรู้ มีเหตุผล และคิดรอบคอบก่อนตัดสินใจ ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้ศึกษาวิธีการสอนแบSQ5R เพื่อมาใช้ในการสอนอ่าน เพราะเป็นวิธีการสอนที่มีขั้นตอนอย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ สามารถเชื่อมโยงความรู้ด้วยการสะท้อนความคิด อีกทั้งสามารถแสดงความคิดเห็นผ่านกระบวนการอภิปรายร่วมกันใใใจในบทอ่านมากย่ิงขึ้น โดยการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบคาวมสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนแะเE43↩ช้วิธีการสอนแบ sqบ5rระเบียบวิธีการวิจัย:กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/4 โรงเรียนวัดดอนเมือง (ทหารอากาศอุทิศ) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 41 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย(简单随机抽样) เครื่งอมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้การอ่านเชิงวิเคราะห์ เดยใช้วิธีการสนอแบ SQ5R จำนวน 3 แผนละ 2 ชั่วโมง รวมทั้งสิ้น 6 ชั่วโมง 2)แบทดสอบวัดความสามารถในการอ่าน เชิงวิเคราห์ แบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือกจำนวน 30 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าสถิติที่ใช้ในทดสอบสมมติฐานคือทดสอบค่า (t–test dependent)ผลการวิจัย คะแนนความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 13.98 แบดมีย เท่ากับ 4.03 แบดมีย เท่ากับ 4.03 แบดมีย เท่ากับ 21.27 แบดมีย เท่ากับ 21.27 แบดมีย เท่ากับ 3.63 สรุปถในการอ่านเชิงวิเคราห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนโดยใช้วิธีการสอนแบ sq5r สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05สรุปผล:เด็กเด็กเสอนโดยใช้วิธี sq5r ความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5เดียางมีนัยสำคัญ ตามที่ระบุดยข้อมูล ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการปรับปรุงที่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญ .05
{"title":"ผลของการใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R ที่มีต่อความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5","authors":"วิชิดา อุ่นใจ, เด่นดาว ชลวิทย์","doi":"10.60027/iarj.2024.277001","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.277001","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การอ่านเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการช่วยให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต และช่วยให้เข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้ง่าย การอ่านอย่างคล่องแคล่วและเข้าใจความหมายจะนำมาซึ่งความรู้ และส่งเสริมให้เกิดการคิดวิเคราะห์ มีวิจารณญาณ และประยุกต์ใช้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อชีวิต หากนักเรียนมีความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ จะส่งผลให้เป็นคนมีความรอบรู้ มีเหตุผล และคิดรอบคอบก่อนตัดสินใจ ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้ศึกษาวิธีการสอนแบบ SQ5R เพื่อมาใช้ในการสอนอ่าน เพราะเป็นวิธีการสอนที่มีขั้นตอนอย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ สามารถเชื่อมโยงความรู้ด้วยการสะท้อนความคิด อีกทั้งสามารถแสดงความคิดเห็นผ่านกระบวนการอภิปรายร่วมกัน ก่อให้เกิดความเข้าใจในบทอ่านมากยิ่งขึ้น โดยการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถ ในการอ่านเชิงวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลังการใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/4 โรงเรียนวัดดอนเมือง (ทหารอากาศอุทิศ) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 41 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้การอ่านเชิงวิเคราะห์ โดยใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R จำนวน 3 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง รวมทั้งสิ้น 6 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่าน เชิงวิเคราะห์ แบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติที่ใช้ในทดสอบสมมติฐานคือทดสอบค่า (t–test dependent)\u0000ผลการวิจัย   คะแนนความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 13.98 และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 4.03 และหลังใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 21.27 และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 3.63 สรุปได้ว่า ความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนโดยใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05\u0000สรุปผล: หลังจากได้รับการสอนโดยใช้วิธี SQ5R ความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ตามที่ระบุโดยข้อมูล ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการปรับปรุงที่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญ .05","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"58 12","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-24","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141808466","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ผลของการใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ MIA ที่มีต่อความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ผลของการใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ MIA ที่มีต่อความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
Pub Date : 2024-07-24 DOI: 10.60027/iarj.2024.277002
พิริยา ม่วงแจ่ม, เด่นดาว ชลวิทย์
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การอ่านมีความสำคัญ สืบเนื่องจากความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทำให้มนุษย์รู้จักค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ เพื่อให้ทันต่อเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น การอ่านจึงเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้อ่าน มีความรู้และความคิดกว้างไกล โดยเฉพาะการอ่านเพื่อความเข้าใจ จะช่วยให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจสิ่งที่อ่านได้อย่างแท้จริง แต่ด้วยปัญหาการอ่านเพื่อความเข้าใจในปัจจุบัน พบว่าอ่านแล้วไม่เข้าใจเรื่องราวอย่างแท้จริง ไม่สามารถจับประเด็นสำคัญจากเรื่องที่อ่านได้ ส่งผลให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระการอ่านต่ำกว่าเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนดไว้ ประกอบกับขาดความรู้ความเข้าใจในการอ่านที่ถูกต้อง ผู้วิจัยจึงมีความสนใจจะนำวิธีการจัดการเรียนรู้แบบ MIA ที่เป็นการผสมผสานบูรณาการการจัดกิจกรรมมาพัฒนาความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของการใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ MIA ที่มีต่อความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนเรียนและหลังเรียนระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/3 โรงเรียนวัดดอนเมือง (ทหารอากาศอุทิศ) สำนักงานเขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 41 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Pre-Experimental Design) ใช้แบบแผนการวิจัยแบบกลุ่มเดียว ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน (One Group Pretest - Posttest Design) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้การอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ MIA จำนวน 3 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง รวมทั้งสิ้น 6 ชั่วโมง และแบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจ แบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติที่ใช้ในทดสอบสมมติฐานคือทดสอบค่า (t–test dependent)ผลการวิจัย: คะแนนความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ MIA มีค่าเฉลี่ย 13.66 และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 4.09 และหลังใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ MIA มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 18.95 และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 3.09 ซึ่งสรุปได้ว่า ความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจ หลังเรียนโดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ MIA สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 จะเห็นได้ว่าการจัดการเรียนรู้แบบ MIA มีกิจกรรมการสอนที่หลากหลากผสมผสานทั้งฟัง ดู พูด อ่าน เขียน ควบคู่กันไปตลอด เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มทำให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้นและความสนุกสนานจากการทำกิจกรรม สร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง ส่งผลให้นักเรียนเรียนพัฒนาความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจเพิ่มมากขึ้นสรุปผล: ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่าความเข้าใจในการอ่านดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการสอนโดยใช้วิธีบริหารจัดการการเรียนรู้แบบ MIA วิธีการบูรณาการของวิธีการ MIA ซึ่งรวมเอากิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของนักเรียน เน้นย้ำถึงประสิทธิภาพในการพัฒนาทักษะความเข้าใจ และช่วยให้นักเรียนมีบทบาทอย่างแข็งขันในการพัฒนาการอ่านของตนเอง
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:การอ่านมีความสำคัญ สืบเนืองจากความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทำให้มนุษย์รู้ักค้นคว้าหาควมารู้เพิ่เมติมอยู่เสมอ เพือให้ทันต่อเหตุการณ์ตางๆ ที่เกิดข้น การอ่าจนึงเป็นเครอือออออที่ช่วยให้ผู้อ่าน มีความรู้และความคิดกว้างไกล โดยเฉพาะการอ่านเพอือความเข้าใจจะช่วยให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจสิ่งที่อ่านได้อย่างแท้จริงแต่ด้วยปัญหาการอ่านเพื่อความเข้าใจในปัจจุบันพบวาอ่านแล้วไม่เข้าใจเรื่องราวอย่างแทจ้ริง ไม่สามารถจับประเด็นสำคัญจากเรืองที่อานได้ ส่งผลให้ันกเรียนชั้นประถมศึษกาปีที่6 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระการอ่านต่ำกว่าเกณฑ์ที่สถานศึษากหำนดไว้ ประกอบกับขาดความรู้ความเข้าใจในการอ่านที่ถูต้องผู้วิจัยจึงมีความสนใจะนำวิธีการจัดการเรียนรู้แบ mia ที่เป็นการผสมผสานบูรณาการการจัดกิจกรมมาพัฒนาความสามารถในการอ่านเพ่อืความเข้าใจโดยการวิจัยในคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของการใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบ miaที่มีต่อความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนเรียนและหาใเรียนระเบียบวิธีการวจัย:มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/3 โรงเรียนวัดดอนเมือง (ทหารอากาศอุทิศ) สำนักงานเขตดอนเมืองกรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 41 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มอย่าง่าย (简单随机抽样) การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Pre-实验设计) ใช้แบบแผนการวิจัยแบบกลุ่มเดียว ทดสอบก่อนเรียน และหาลงเรียน (一组前测 -后测设计) เครื่องมืที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้การอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบMIA จำนวน 3แผน แผนละ 2 ชั่วโมง รวมทั้งสิ้น 6 ชั่วโมง และแบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านเพื่อควมเข้าใจแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติที่ใช้ในทดสอบสมมติฐานคือทดสอบค่า (t–test dependent)ผลการวิจัย:คะแนความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ก่อนใช้วิธีการจัดากรเรียนรู้แบ mia มีค่าเฉลีย 13.09 เซ่งสรุปถในารอ่านเพื่อความเข้าใจ เซังเรียนโดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบ mia สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05จะเห็นผสมผสานทั้งฟัง ดู พูด อ่าน เขียน ควบคู่กันไปตลอด เน้นผู้เรียนเปน็สำคัญมีการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มทำให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้นและความสนุกสนานจากการทำกิจกรรม สร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง ส่งผลให้นักเรียนเรียนพัฒนาความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจเพิ่มมากขึ้นสรุปผล:6 เที่ธ้รับารสอนโดยใช้วิธีบริหารจัดากรการเรียนรู้แบ mia วิธีการบูรณาการของวิธีการMIA ซึ่งรวมเอากิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของนักเรียน เน้นย้ำถึงประสิทธิภาพในการพัฒนาทักษะความเข้าใจ และช่วยให้นักเรียนมีบทบาทอย่างแข็งขันในการพัฒนาการอ่านของตนเอง
{"title":"ผลของการใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ MIA ที่มีต่อความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6","authors":"พิริยา ม่วงแจ่ม, เด่นดาว ชลวิทย์","doi":"10.60027/iarj.2024.277002","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.277002","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การอ่านมีความสำคัญ สืบเนื่องจากความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทำให้มนุษย์รู้จักค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ เพื่อให้ทันต่อเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น การอ่านจึงเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้อ่าน มีความรู้และความคิดกว้างไกล โดยเฉพาะการอ่านเพื่อความเข้าใจ จะช่วยให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจสิ่งที่อ่านได้อย่างแท้จริง แต่ด้วยปัญหาการอ่านเพื่อความเข้าใจในปัจจุบัน พบว่าอ่านแล้วไม่เข้าใจเรื่องราวอย่างแท้จริง ไม่สามารถจับประเด็นสำคัญจากเรื่องที่อ่านได้ ส่งผลให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระการอ่านต่ำกว่าเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนดไว้ ประกอบกับขาดความรู้ความเข้าใจในการอ่านที่ถูกต้อง ผู้วิจัยจึงมีความสนใจจะนำวิธีการจัดการเรียนรู้แบบ MIA ที่เป็นการผสมผสานบูรณาการการจัดกิจกรรมมาพัฒนาความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของการใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ MIA ที่มีต่อความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนเรียนและหลังเรียน\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/3 โรงเรียนวัดดอนเมือง (ทหารอากาศอุทิศ) สำนักงานเขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 41 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Pre-Experimental Design) ใช้แบบแผนการวิจัยแบบกลุ่มเดียว ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน (One Group Pretest - Posttest Design) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้การอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ MIA จำนวน 3 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง รวมทั้งสิ้น 6 ชั่วโมง และแบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจ แบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติที่ใช้ในทดสอบสมมติฐานคือทดสอบค่า (t–test dependent)\u0000ผลการวิจัย: คะแนนความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ MIA มีค่าเฉลี่ย 13.66 และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 4.09 และหลังใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ MIA มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 18.95 และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 3.09 ซึ่งสรุปได้ว่า ความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจ หลังเรียนโดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบ MIA สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 จะเห็นได้ว่าการจัดการเรียนรู้แบบ MIA มีกิจกรรมการสอนที่หลากหลากผสมผสานทั้งฟัง ดู พูด อ่าน เขียน ควบคู่กันไปตลอด เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มทำให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้นและความสนุกสนานจากการทำกิจกรรม สร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง ส่งผลให้นักเรียนเรียนพัฒนาความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจเพิ่มมากขึ้น\u0000สรุปผล: ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่าความเข้าใจในการอ่านดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการสอนโดยใช้วิธีบริหารจัดการการเรียนรู้แบบ MIA วิธีการบูรณาการของวิธีการ MIA ซึ่งรวมเอากิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของนักเรียน เน้นย้ำถึงประสิทธิภาพในการพัฒนาทักษะความเข้าใจ และช่วยให้นักเรียนมีบทบาทอย่างแข็งขันในการพัฒนาการอ่านของตนเอง","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"67 45","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-24","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141806601","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
期刊
Interdisciplinary Academic and Research Journal
全部 Acc. Chem. Res. ACS Applied Bio Materials ACS Appl. Electron. Mater. ACS Appl. Energy Mater. ACS Appl. Mater. Interfaces ACS Appl. Nano Mater. ACS Appl. Polym. Mater. ACS BIOMATER-SCI ENG ACS Catal. ACS Cent. Sci. ACS Chem. Biol. ACS Chemical Health & Safety ACS Chem. Neurosci. ACS Comb. Sci. ACS Earth Space Chem. ACS Energy Lett. ACS Infect. Dis. ACS Macro Lett. ACS Mater. Lett. ACS Med. Chem. Lett. ACS Nano ACS Omega ACS Photonics ACS Sens. ACS Sustainable Chem. Eng. ACS Synth. Biol. Anal. Chem. BIOCHEMISTRY-US Bioconjugate Chem. BIOMACROMOLECULES Chem. Res. Toxicol. Chem. Rev. Chem. Mater. CRYST GROWTH DES ENERG FUEL Environ. Sci. Technol. Environ. Sci. Technol. Lett. Eur. J. Inorg. Chem. IND ENG CHEM RES Inorg. Chem. J. Agric. Food. Chem. J. Chem. Eng. Data J. Chem. Educ. J. Chem. Inf. Model. J. Chem. Theory Comput. J. Med. Chem. J. Nat. Prod. J PROTEOME RES J. Am. Chem. Soc. LANGMUIR MACROMOLECULES Mol. Pharmaceutics Nano Lett. Org. Lett. ORG PROCESS RES DEV ORGANOMETALLICS J. Org. Chem. J. Phys. Chem. J. Phys. Chem. A J. Phys. Chem. B J. Phys. Chem. C J. Phys. Chem. Lett. Analyst Anal. Methods Biomater. Sci. Catal. Sci. Technol. Chem. Commun. Chem. Soc. Rev. CHEM EDUC RES PRACT CRYSTENGCOMM Dalton Trans. Energy Environ. Sci. ENVIRON SCI-NANO ENVIRON SCI-PROC IMP ENVIRON SCI-WAT RES Faraday Discuss. Food Funct. Green Chem. Inorg. Chem. Front. Integr. Biol. J. Anal. At. Spectrom. J. Mater. Chem. A J. Mater. Chem. B J. Mater. Chem. C Lab Chip Mater. Chem. Front. Mater. Horiz. MEDCHEMCOMM Metallomics Mol. Biosyst. Mol. Syst. Des. Eng. Nanoscale Nanoscale Horiz. Nat. Prod. Rep. New J. Chem. Org. Biomol. Chem. Org. Chem. Front. PHOTOCH PHOTOBIO SCI PCCP Polym. Chem.
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
0
微信
客服QQ
Book学术公众号 扫码关注我们
反馈
×
意见反馈
请填写您的意见或建议
请填写您的手机或邮箱
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
现在去查看 取消
×
提示
确定
Book学术官方微信
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术
文献互助 智能选刊 最新文献 互助须知 联系我们:info@booksci.cn
Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。
Copyright © 2023 Book学术 All rights reserved.
ghs 京公网安备 11010802042870号 京ICP备2023020795号-1