{"title":"ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบที่มีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6","authors":"สุวิชชา เกตุชาติ, เด่นดาว ชลวิทย์","doi":"10.60027/iarj.2024.276985","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ เป็นวิธีการฝึกคิด อย่างรอบด้านพร้อมที่จะคิดได้หลายแบบในสถานการณ์ต่าง ๆ ตามแนวคิดของหมวกแต่ละสี ได้แก่ สีขาว สีแดง สีดำ สีเหลือง สีเขียว และสีฟ้า โดยมี 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นนำ (Lead-in) 2) การชี้แจงรายละเอียด (Explanation) 3) การสาธิต (Demonstration) เป็นการแสดงให้เห็นถึงการใช้หมวกที่มีความสัมพันธ์กับ การคิดแต่ละแบบพร้อมกับอธิบายแนะนำตัวอย่าง เพื่อสร้างความเข้าใจ 4) การฝึกปฏิบัติ (Practice) 5) การหารายละเอียดเพิ่มเติม (Elaboration) 6) การสรุป (Conclusion) ดังนั้น การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ ที่มีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน\nระเบียบวิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนแดงเป้า (สิงสุขบูรณะ) สำนักงานเขตลาดกระบัง สังกัดกรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 22 คน เลือกโดยวิธีเฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้จำนวน 3 แผน 6 ชั่วโมง และแบบทดสอบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ จำนวน 30 ข้อ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติของการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที\nผลการวิจัย: ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบที่มีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 22 คน มีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน 18.18 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 2.91 และค่าเฉลี่ยหลังเรียน 21.95 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 3.47\nสรุปผล: ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ ที่มีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"21 4","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-07-24","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276985","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบที่มีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคนิคการคดแบหมวกหกใบ เป็นวิธีการรฝึกคิด อย่างรอบด้านพร้อมที่จะคอมที่จะคนิดได้หายแบบในสถานารณต์ๆ ตามแนวคิดของหมวกแต่ละสี ได้แก่ สขีาว สีแดง สีดำ สีเหลือง สีเขียว และสีฟ้า โดยมี 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นำ (Lead-)2) การชี้แแจงรายละเอียด (解释) 3) การสาธิต (演示) เป็นการแสดงให้เห็นถึงการใช้หมวกที่มีความสัมพันธ์กับ4) การเออสร้างความเข้าใจ 4) การเออสร้างความเข้าใจ 4) การเออสร้างความปฏิบัติ (练习) 5) การหาระเอียเดพิมเติม (阐述) 6) การสรุป (结论)ดังนั้น การวิจัยครั้งนี้มีวัตถปุระสงค์ เพื่อศึกษาผการจัดิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิการคดิแบบหมวกหกกใบที่มีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนระเบียบวิธีการศึกษา:ศึษาปีที่ 6 โรงเรียนแดงเป้า (สิงสุบขูรณะ) สำนักงานเขตาดระบังสังกัดกรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 22 คน เลือกโดยวิธีเฉพาะเจาะจง เครื่องมอที่ใช้ในการวิจัย3 แผน 6 ชั่วโมง และแบทดสอบความสามารถ↩ในการคิดวิเคราะห์ จำนวน 30 ข้อวิเคราะห์ข้อมูลโดยใชค่าสถิติของการวิเคราหะ์ข้อมูล ค่าเลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบทีผลการวิจัย:ผลารจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวกหกหาใบที่มีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 22 คน มีคะแนเฉลี่ยกอนเรียน 18.18 คะแน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s.d.) 2.91 และค่าเฉลี่ยหางเรียน 21.95 คะแน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s.d.) 3.47สรุปผล: ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการคิดแบบหมวกหกใบ ที่มีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。