ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

อัครพล อนุพันธ์, วิษณุ สุทธิวรรณ
{"title":"ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3","authors":"อัครพล อนุพันธ์, วิษณุ สุทธิวรรณ","doi":"10.60027/iarj.2024.277045","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: คณิตศาสตร์ช่วยให้มนุษย์มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุ เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างรอบคอบและถี่ถ้วน มากไปกว่านั้น คณิตศาสตร์ยังช่วยให้นักเรียนสามารถคาดการณ์, วางแผน, และตัดสินใจแก้ปัญหาต่างอย่างถูกต้องและเหมาะสม การวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์หลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 และ 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3\nระเบียบวิธีการวิจัย: วิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณและใช้รูปแบบการวิจัยแบบกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย 1 กลุ่ม คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 1 ห้องเรียน จำนวน 26 คน โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหา การบวก ลบ คูณ หาร จำนวน 4 แผน ใช้เวลาทั้งหมด 16 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ จำนวน 30 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติทดสอบที\nผลการวิจัย: ผลปรากฏว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์คิดเป็นร้อยละ 73.86 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดร้อยละ 70 และ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05\nสรุปผล: เทคนิค KWDL ช่วยเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยนักเรียนเรียนรู้ผ่านกระบวนการเรียนรู้ตามลําดับและวิธีการที่มีโครงสร้างที่ชัดเจนและนําไปสู่การมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ที่สูงขึ้นของคะแนนหลังเรียนเมื่อเทียบกับเกณฑ์ที่กําหนด","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"58 3","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-07-24","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.277045","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

Abstract

ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: คณิตศาสตร์ช่วยให้มนุษย์มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุ เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างรอบคอบและถี่ถ้วน มากไปกว่านั้น คณิตศาสตร์ยังช่วยให้นักเรียนสามารถคาดการณ์, วางแผน, และตัดสินใจแก้ปัญหาต่างอย่างถูกต้องและเหมาะสม การวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์หลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 และ 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ระเบียบวิธีการวิจัย: วิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณและใช้รูปแบบการวิจัยแบบกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย 1 กลุ่ม คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 1 ห้องเรียน จำนวน 26 คน โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหา การบวก ลบ คูณ หาร จำนวน 4 แผน ใช้เวลาทั้งหมด 16 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ จำนวน 30 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติทดสอบที ผลการวิจัย: ผลปรากฏว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์คิดเป็นร้อยละ 73.86 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดร้อยละ 70 และ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สรุปผล: เทคนิค KWDL ช่วยเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยนักเรียนเรียนรู้ผ่านกระบวนการเรียนรู้ตามลําดับและวิธีการที่มีโครงสร้างที่ชัดเจนและนําไปสู่การมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ที่สูงขึ้นของคะแนนหลังเรียนเมื่อเทียบกับเกณฑ์ที่กําหนด
查看原文
分享 分享
微信好友 朋友圈 QQ好友 复制链接
本刊更多论文
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:คณิตศาสตร์ช่วยให้มนุษย์มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุ เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างรอบคอบและถี่ถ้วน มากไปกว่านั้น คณิตศาสตร์ยังช่วยให้นักเรียนสามารถคาดการณ์,วางแผน、และตัดสินใจแก้ปัญหาต่างอย่างถกตู้องและเหมาะสม การวจัยครั้งนี้จึงมีวัถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์หลังเรียนของนักรียนชันประถมศึกษาปที่3 เทียบกับเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเทียนคณิตศาสตร์ระหว่างก่อนเทียนของนักเทียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3ระเบียบวิธีการวจัย:วิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณและใช้รูปแบการวิจัยแบกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย 1 กลุ่ม คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565 1จำนวน 26 คน โรงเรียนสาธิตมหาวิยทยาลัยราชภัฏในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึ่งไดม้าโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมอืที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1)แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหา การบวก ลบ คูณ หาร จำนวน 4 แผน ใช้เวลาทั้งหมด 16 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์จำนวน 30 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมติฐานโดยใช้สถิติทดสอบทีผลการวิจัย:ผลปรากฏว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์คิดเป็นร้อยละ 73.86 สิงกว่าเกณฑ์ที่กหำนดร้อยละ 70 และ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังได้รับารจัดิกจรมการเรียนรูด้วยเทคนิคKWDL มีคะแนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญาทงสถิติที่ระดับ .05สรุปผล:KWDLช่วยเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยนักเรียนเรียนรู้ผ่านกระบวนการเรียนรู้ตามลําดับและวิธีการที่มีโครงสร้างที่ชัดเจนและนําไปสู่การมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ที่สูงขึ้นของคะแนนหลังเรียนเมื่อเทียบกับเกณฑ์ที่กําหนด
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
求助全文
约1分钟内获得全文 去求助
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
期刊最新文献
ปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อ ภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ แนวทางการพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้าน อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก Storytelling in the Digital Age: How It Came to be and what should or Should Not Be Done ผลของการใช้กลวิธี REAP ที่มีต่อความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
现在去查看 取消
×
提示
确定
0
微信
客服QQ
Book学术公众号 扫码关注我们
反馈
×
意见反馈
请填写您的意见或建议
请填写您的手机或邮箱
已复制链接
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
×
扫码分享
扫码分享
Book学术官方微信
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术
文献互助 智能选刊 最新文献 互助须知 联系我们:info@booksci.cn
Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。
Copyright © 2023 Book学术 All rights reserved.
ghs 京公网安备 11010802042870号 京ICP备2023020795号-1