{"title":"ภูมิปัญญาการแกะหนังตะลุงอัตลักษณ์ของจังหวัดนครศรีธรรมราช","authors":"สุดาวรรณ์ มีบัว","doi":"10.60101/jla.2023.4.2.3234","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":" ภูมิปัญญาการแกะหนังตะลุงของนครศรีธรรมราชเป็นภูมิปัญญาที่เคียงคู่กับศิลปะการแสดงหนังตะลุงมายาวนาน สะท้อนให้เห็นภูมิปัญญาหนังตะลุงยุคดั้งเดิมและยุคร่วมสมัยที่มีการเปลี่ยนแปลงความคิด ความเชื่อ ภูมิปัญญา มีการผลิตซ้ำ ผสมผสาน และสร้างใหม่ และมีการประยุกต์นำมาใช้ในบริบทใหม่ ๆ ในปัจจุบัน พบว่าภูมิปัญญาการเลือกหนังสำหรับตัวหนังตะลุงยุคดั้งเดิมเลือกหนังจากลูกวัวหรือวัวรุ่น ยุคร่วมสมัยหนังสัตว์ที่ช่างนิยมนำมาแกะรูปหนัง คือ หนังวัวและหนังควายและมีหนังสัตว์อื่น ๆ การเตรียมหนัง ยุคดั้งเดิมเมื่อได้หนังมาจะนำไปขึงให้ตึงเลาะพังผืดและมันที่ติดออกให้หมดแล้วนำไปฝังทราย การฟอกหนังยุคดั้งเดิมจะฟอกหนังโดยการนำไปแช่ในน้ำต้มผลส้มแขกหรือผลไม้รสเปรี้ยว ระยะเวลา 1-2 คืน ยุคร่วมสมัยจะแช่หนังที่ตากแห้งแล้วกับน้ำส้มสายชูผสมน้ำให้พอมีรสเปรี้ยวแช่ไว้ชั่วโมงเศษ และบางครั้งมีการรับซื้อหนังที่ฟอกแล้วจากโรงงานมาใช้ทำตัวหนังด้วย ยุคดั้งเดิมรูปลักษณ์ของตัวหนังตะลุง ช่างจะใช้เหล็กจารหรือเหล็กขีดวาดลายลงบนตัวหนัง ยุคร่วมสมัยช่างเก็บแบบวาดของบรรพบุรุษเป็นต้นแบบในการสร้างตัวหนังตะลุงในปัจจุบัน การแกะหนังตะลุงยุคดั้งเดิมช่างจะเลือกส่วนหนังที่บางที่สุดสำหรับแกะส่วนบนและส่วนล่างของตัวหนังตะลุง ยุคดั้งเดิมและยุคร่วมสมัยกระบวนการแกะฉลุตัวหนังตะลุงมีเครื่องมือที่สำคัญ ได้แก่ เขียงสำหรับรองฉลุ อุปกรณ์การตอกด้วยตุ๊ดตู่หรือมุก และการแกะด้วยมีด การลงสีตัวหนังตะลุง ยุคดั้งเดิมใช้ก้านใบจากหรือหวายมาใช้แทนพู่กัน การให้สีหลักคือสีดำ ยุคร่วมสมัยการลงสีหนังขึ้นอยู่กับลักษณะรูปและประโยชน์การใช้สอย การสร้างไม้ตับทั้งสองยุคจะใช้ไม้ไผ่ที่ไม่อ่อนและแก่เกินไป การทำคันยักสำหรับใช้ชักปากหนังตะลุง ยุคดั้งเดิมและยุคร่วมสมัยจะใช้ไม้ไผ่เหลานำมาดัดด้วยการลนไฟ หรือใช้พลาสติกมาเหลาให้กลมใช้หนังยางช่วยในยุคดั้งเดิมจะใช้เศษหนังในการมัด การแกะหนังตะลุงยังคงเป็นภูมิปัญญาที่เป็นที่เกิดจากต้นทุนทางวัฒนธรรมสำคัญ มีการเปลี่ยนแปลง ปรับตัว และยังดำรงอยู่ได้อย่างน่าสนใจส่งต่อในยุคร่วมสมัย","PeriodicalId":489378,"journal":{"name":"Journal of Liberal Arts RMUTT","volume":"45 10","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2023-12-21","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"ภูมิปัญญาการแกะหนังตะลุงอัตลักษณ์ของจังหวัดนครศรีธรรมราช\",\"authors\":\"สุดาวรรณ์ มีบัว\",\"doi\":\"10.60101/jla.2023.4.2.3234\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\" ภูมิปัญญาการแกะหนังตะลุงของนครศรีธรรมราชเป็นภูมิปัญญาที่เคียงคู่กับศิลปะการแสดงหนังตะลุงมายาวนาน สะท้อนให้เห็นภูมิปัญญาหนังตะลุงยุคดั้งเดิมและยุคร่วมสมัยที่มีการเปลี่ยนแปลงความคิด ความเชื่อ ภูมิปัญญา มีการผลิตซ้ำ ผสมผสาน และสร้างใหม่ และมีการประยุกต์นำมาใช้ในบริบทใหม่ ๆ ในปัจจุบัน พบว่าภูมิปัญญาการเลือกหนังสำหรับตัวหนังตะลุงยุคดั้งเดิมเลือกหนังจากลูกวัวหรือวัวรุ่น ยุคร่วมสมัยหนังสัตว์ที่ช่างนิยมนำมาแกะรูปหนัง คือ หนังวัวและหนังควายและมีหนังสัตว์อื่น ๆ การเตรียมหนัง ยุคดั้งเดิมเมื่อได้หนังมาจะนำไปขึงให้ตึงเลาะพังผืดและมันที่ติดออกให้หมดแล้วนำไปฝังทราย การฟอกหนังยุคดั้งเดิมจะฟอกหนังโดยการนำไปแช่ในน้ำต้มผลส้มแขกหรือผลไม้รสเปรี้ยว ระยะเวลา 1-2 คืน ยุคร่วมสมัยจะแช่หนังที่ตากแห้งแล้วกับน้ำส้มสายชูผสมน้ำให้พอมีรสเปรี้ยวแช่ไว้ชั่วโมงเศษ และบางครั้งมีการรับซื้อหนังที่ฟอกแล้วจากโรงงานมาใช้ทำตัวหนังด้วย ยุคดั้งเดิมรูปลักษณ์ของตัวหนังตะลุง ช่างจะใช้เหล็กจารหรือเหล็กขีดวาดลายลงบนตัวหนัง ยุคร่วมสมัยช่างเก็บแบบวาดของบรรพบุรุษเป็นต้นแบบในการสร้างตัวหนังตะลุงในปัจจุบัน การแกะหนังตะลุงยุคดั้งเดิมช่างจะเลือกส่วนหนังที่บางที่สุดสำหรับแกะส่วนบนและส่วนล่างของตัวหนังตะลุง ยุคดั้งเดิมและยุคร่วมสมัยกระบวนการแกะฉลุตัวหนังตะลุงมีเครื่องมือที่สำคัญ ได้แก่ เขียงสำหรับรองฉลุ อุปกรณ์การตอกด้วยตุ๊ดตู่หรือมุก และการแกะด้วยมีด การลงสีตัวหนังตะลุง ยุคดั้งเดิมใช้ก้านใบจากหรือหวายมาใช้แทนพู่กัน การให้สีหลักคือสีดำ ยุคร่วมสมัยการลงสีหนังขึ้นอยู่กับลักษณะรูปและประโยชน์การใช้สอย การสร้างไม้ตับทั้งสองยุคจะใช้ไม้ไผ่ที่ไม่อ่อนและแก่เกินไป การทำคันยักสำหรับใช้ชักปากหนังตะลุง ยุคดั้งเดิมและยุคร่วมสมัยจะใช้ไม้ไผ่เหลานำมาดัดด้วยการลนไฟ หรือใช้พลาสติกมาเหลาให้กลมใช้หนังยางช่วยในยุคดั้งเดิมจะใช้เศษหนังในการมัด การแกะหนังตะลุงยังคงเป็นภูมิปัญญาที่เป็นที่เกิดจากต้นทุนทางวัฒนธรรมสำคัญ มีการเปลี่ยนแปลง ปรับตัว และยังดำรงอยู่ได้อย่างน่าสนใจส่งต่อในยุคร่วมสมัย\",\"PeriodicalId\":489378,\"journal\":{\"name\":\"Journal of Liberal Arts RMUTT\",\"volume\":\"45 10\",\"pages\":\"\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2023-12-21\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Journal of Liberal Arts RMUTT\",\"FirstCategoryId\":\"0\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.60101/jla.2023.4.2.3234\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Journal of Liberal Arts RMUTT","FirstCategoryId":"0","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60101/jla.2023.4.2.3234","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0