首页 > 最新文献

Journal of Liberal Arts RMUTT最新文献

英文 中文
Analysis of Slang Words Used in the Movie “How to Train Your Dragon” 电影《驯龙高手》中的俚语分析
Pub Date : 2023-12-21 DOI: 10.60101/jla.2023.4.2.2791
Nuntapong Wuttavipart, Nipat Pho-ong, Sutthasinee Ngamkaew, Pakjira U-thorn, Tawatchai Chaisiri
       Animation movies have become increasingly popular among people of all ages, including children. Sometimes, the use of slang in character dialogues can confuse or mislead young viewers. This study aimed to investigate slang words used in the animation “How to Train Your Dragon” (2010) since the dialogues are enjoyable, and the characters are intriguing to a wide range of audiences, though slang words in the movie could be identified and used as guidance for young children. As a result, the slang words used in the movie were identified and explained in terms of definitions in the context of use, categorized into designated types, and calculated using descriptive statistics, including frequency and percentage. The data used in this study were the script in the form of a PDF file derived from Netflix and online dictionary websites. It was found that there are 28 slang words that appear in the movie. There are five types of slang words including the most common type of Fresh and Creative, followed by Clipping, Imitative, and Flippant, respectively, while Acronym was not found. These slang words are useful for young audiences to make sense of the movie when guided by adult audiences, and they can be beneficial for ESL/ESL English learners who are interested in learning English through films.
动画电影越来越受到包括儿童在内的各年龄段观众的欢迎。有时,角色对话中使用的俚语会混淆或误导年轻观众。本研究旨在调查动画片《驯龙高手》(How to Train Your Dragon,2010 年)中使用的俚语,因为影片中的对白令人愉悦,人物形象引人入胜,吸引了众多观众,但影片中的俚语可能会被识别出来,并被用作对幼儿的指导。因此,我们对电影中使用的俚语进行了识别,并在使用语境中对其定义进行了解释,将其分为指定类型,并使用描述性统计方法(包括频率和百分比)进行了计算。本研究使用的数据是从 Netflix 和在线词典网站上获取的 PDF 格式的剧本。研究发现,电影中出现了 28 个俚语词汇。俚语有五种类型,其中最常见的是 "新鲜"(Fresh)和 "创意"(Creative),其次分别是 "剪辑"(Clipping)、"模仿"(Imitative)和 "嬉皮"(Flippant),而没有发现 "缩略语"(Acronym)。这些俚语有助于年轻观众在成人观众的引导下理解电影,也有利于 ESL/ESL 英语学习者通过电影学习英语。
{"title":"Analysis of Slang Words Used in the Movie “How to Train Your Dragon”","authors":"Nuntapong Wuttavipart, Nipat Pho-ong, Sutthasinee Ngamkaew, Pakjira U-thorn, Tawatchai Chaisiri","doi":"10.60101/jla.2023.4.2.2791","DOIUrl":"https://doi.org/10.60101/jla.2023.4.2.2791","url":null,"abstract":"       Animation movies have become increasingly popular among people of all ages, including children. Sometimes, the use of slang in character dialogues can confuse or mislead young viewers. This study aimed to investigate slang words used in the animation “How to Train Your Dragon” (2010) since the dialogues are enjoyable, and the characters are intriguing to a wide range of audiences, though slang words in the movie could be identified and used as guidance for young children. As a result, the slang words used in the movie were identified and explained in terms of definitions in the context of use, categorized into designated types, and calculated using descriptive statistics, including frequency and percentage. The data used in this study were the script in the form of a PDF file derived from Netflix and online dictionary websites. It was found that there are 28 slang words that appear in the movie. There are five types of slang words including the most common type of Fresh and Creative, followed by Clipping, Imitative, and Flippant, respectively, while Acronym was not found. These slang words are useful for young audiences to make sense of the movie when guided by adult audiences, and they can be beneficial for ESL/ESL English learners who are interested in learning English through films.","PeriodicalId":489378,"journal":{"name":"Journal of Liberal Arts RMUTT","volume":"31 10","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2023-12-21","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"138948128","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ความเชื่อ ความศรัทธา ที่สนับสนุนการท่องเที่ยวในพื้นที่จังหวัดพัทลุง ความเชื่อ ความศรัทธา ที่สนับสนุนการท่องเที่ยวในพื้นที่จังหวัดพัทลุง
Pub Date : 2023-12-21 DOI: 10.60101/jla.2023.4.2.3287
เมทิกา พ่วงแสง, เพ็ญพิมพ์ พวงสุวรรณ
        งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและนําเสนอกิจกรรมความเชื่อ ความศรัทธา กับการท่องเที่ยวในพื้นที่จังหวัดพัทลุง ซึ่งสามารถเชื่อมโยงให้เกิดแรงจูงใจและเกิดแรงผลักดันในการเดินทางทองเที่ยวของนักท่องเที่ยว โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการศึกษาเอกสารทบทวนแนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ใช้กระบวนการศึกษาอิงพื้นที่ด้วยการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม พื้นที่วิจัยคือ จังหวัดพัทลุง แต่ไม่ได้อาศัยศึกษาในพื้นที่วิจัยที่ต้องอาศัยปรากฏการณ์อันสำคัญ (grounded theory) เป็นการวิจัยเอกสารสำคัญ ดังนั้นการพบข้อมูลต่าง ๆ จึงใช้หลักการแบ่งเป็นหมวดหมู่ด้วยเทคนิคการจัดกลุ่มร่วมกับเทคนิคการจำแนกประเภท       ผลการศึกษาพบว่า ความเชื่อ ความศรัทธา ในพื้นที่จังหวัดพัทลุง แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1) ความเชื่อและศรัทธาที่เกี่ยวกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ คือ โนราโรงครูวัดท่าแค ซึ่งกลายเป็น soft power ของพัทลุง 2) ความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับเกจิอาจารย์หรือบุคคลสำคัญ คือ วัดเขาอ้อ มีชื่อเสียงเลื่องลือในเรื่องของไสยเวทย์ด้วยที่มาของมือปราบแดนใต้              พล.ต.ต. ขุนพันธรักษ์ราชเดช หรือ ขุนพันธ์ ตำนานจอมขมังเวท และเกจิอาจารย์ด้านไสยเวทย์พิธีกรรมต่าง ๆ 3) ความเชื่อที่มีความสัมพันธ์กับแนวคิดศาสนา คือ พระบรมธาตุเจดีย์วัดเขียนบางแก้ว ซึ่งตามความเชื่อเป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ จากความเชื่อ ความศรัทธาทั้ง 3 ประเภท นำไปสู่การเชื่อมโยงการท่องเที่ยวเชิงความเชื่อและความศรัทธา หรือการท่องเที่ยว "มูเตลู" ที่สร้างรายได้หมุนเวียนมหาศาลในพื้นที่ และทำให้นักท่องเที่ยวเดินทางไปเยือนเพิ่มขึ้นทุกปี ทั้งนี้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการพัฒนาด้านกายภาพของพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ รวมถึงการพัฒนาเส้นทางการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว เชื่อมโยงกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงความเชื่อ และความศรัทธา ทำให้นักท่องเที่ยวได้รับความรู้ที่เชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นปัจจัยภายนอกที่ดึงดูดใจนักท่องเที่ยวนอกเหนือจากปัจจัยภายในที่เกิดจากความเชื่อและความศรัทธาภายในตัวบุคคล ซึ่งมีผลต่อความคิดและการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยว
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและนําเสนอกจิกรรมความเชื่อ ความศรัทธา กับการท่องเที่ยวในพื้นที่จังหวัดพัทลุงมารถเชื่อมโยงให้เกิดแด็จงจงใและเกิดแรงผลักดันในารเที่ยวของนักท่องเที่ยวโดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพด้ยวการศึกษาเอกสารทบทวนแนวคิดและงนาวิจัยที่เี่ยวข้อง ใช้กระบวนการศึษกาองื้นที่ด้วยการสัเกอตบไมี่สวนร่วมเด็กันที่วิจัยคือ จังหวัดพัทลุง แต่ม่ได้อาศัยศกึษาในพื้นที่วิจัยที่ต้องอาศัยปรากฏการณ์อันสำคัญ (grounded theory)เป็นการวิจัยเอกสารสำคัญ ดังนั้นการพบข้อมูลต่าง ๆจึงใช้หาลัการแบ่งเป็นหมวดหมู่ด้วยเทคนิคการจัดกลุ่มร่วมกับเทคนิคการจำแนกประเภท ผลการศึษกาพบว่า ความเชื่ ความศรัทธา ในพื้นที่จังหวัดพัทลุง แบ่งอกเป็น 3 ประเภท คือ 1)ความเชือและศรัทธาที่เกี่ยวักบสิ่งศักดิ์สิทธิ์ คือ โนราโรงครูวัดท่าแค ซึ่งกลายเป็น soft power ของพัลุง 2)ความเชอื่ที่เกี่ยวข้องกับเกจิอาจารย์หรอืบุคคลสำคัญ คือ วัดเขาอ้อ มีชื่อเสียงเลือในเรอืงขอไสยเวทย์ด้วยที่มาของมือปราบแดนใต้ พล.ต.ต.ขุนพันธรักษ์ราชเดช หรือ ขุนพันธ์ ตำนานจอมขมังเวท และเกจิอาจารย์ด้านไสยเวทย์พิธีกรรมต่าง ๆ 3).ความเช่ือที่มีความสัมพันธ์กับแนวคิดศาสนา คือ พระบรมธาตุเจดีย์วัดเขียนบางแก้ว ซึ่งตามความเชื่อเป็นืพ้นที่ศักดิ์สิทธ์จากความเชื่อ ความศรัทธาทั้ง 3 ประเภท นำไปส่การเชื่อมโยงการท่องเที่ยวเชิงความเชื่อและความศรัทธา หรอืการท่องเที่ยว"มตันเที่องเที่ยวเดินเที่องปเยออืนเพินมขึนทุกปีทั้งนี้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการพัฒนาด้านกายภาพของพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ รวมถึงการพัฒนาเส้นทางการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว เชื่อมโยงกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงความเชื่อ และความศรัทธาทำให้นักท่องเที่ยวได้รับความรู้ที่เชือมโยงกับประวัติศาสตร์เด็จัยภายนอกที่ดึงดดใจันกที่งเทียวนอกเหนอจากปัจัยภายใที่เกทียจากทียวมเชออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออออ
{"title":"ความเชื่อ ความศรัทธา ที่สนับสนุนการท่องเที่ยวในพื้นที่จังหวัดพัทลุง","authors":"เมทิกา พ่วงแสง, เพ็ญพิมพ์ พวงสุวรรณ","doi":"10.60101/jla.2023.4.2.3287","DOIUrl":"https://doi.org/10.60101/jla.2023.4.2.3287","url":null,"abstract":"        งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและนําเสนอกิจกรรมความเชื่อ ความศรัทธา กับการท่องเที่ยวในพื้นที่จังหวัดพัทลุง ซึ่งสามารถเชื่อมโยงให้เกิดแรงจูงใจและเกิดแรงผลักดันในการเดินทางทองเที่ยวของนักท่องเที่ยว โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการศึกษาเอกสารทบทวนแนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ใช้กระบวนการศึกษาอิงพื้นที่ด้วยการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม พื้นที่วิจัยคือ จังหวัดพัทลุง แต่ไม่ได้อาศัยศึกษาในพื้นที่วิจัยที่ต้องอาศัยปรากฏการณ์อันสำคัญ (grounded theory) เป็นการวิจัยเอกสารสำคัญ ดังนั้นการพบข้อมูลต่าง ๆ จึงใช้หลักการแบ่งเป็นหมวดหมู่ด้วยเทคนิคการจัดกลุ่มร่วมกับเทคนิคการจำแนกประเภท\u0000       ผลการศึกษาพบว่า ความเชื่อ ความศรัทธา ในพื้นที่จังหวัดพัทลุง แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1) ความเชื่อและศรัทธาที่เกี่ยวกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ คือ โนราโรงครูวัดท่าแค ซึ่งกลายเป็น soft power ของพัทลุง 2) ความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับเกจิอาจารย์หรือบุคคลสำคัญ คือ วัดเขาอ้อ มีชื่อเสียงเลื่องลือในเรื่องของไสยเวทย์ด้วยที่มาของมือปราบแดนใต้              พล.ต.ต. ขุนพันธรักษ์ราชเดช หรือ ขุนพันธ์ ตำนานจอมขมังเวท และเกจิอาจารย์ด้านไสยเวทย์พิธีกรรมต่าง ๆ 3) ความเชื่อที่มีความสัมพันธ์กับแนวคิดศาสนา คือ พระบรมธาตุเจดีย์วัดเขียนบางแก้ว ซึ่งตามความเชื่อเป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ จากความเชื่อ ความศรัทธาทั้ง 3 ประเภท นำไปสู่การเชื่อมโยงการท่องเที่ยวเชิงความเชื่อและความศรัทธา หรือการท่องเที่ยว \"มูเตลู\" ที่สร้างรายได้หมุนเวียนมหาศาลในพื้นที่ และทำให้นักท่องเที่ยวเดินทางไปเยือนเพิ่มขึ้นทุกปี ทั้งนี้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการพัฒนาด้านกายภาพของพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ รวมถึงการพัฒนาเส้นทางการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว เชื่อมโยงกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงความเชื่อ และความศรัทธา ทำให้นักท่องเที่ยวได้รับความรู้ที่เชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นปัจจัยภายนอกที่ดึงดูดใจนักท่องเที่ยวนอกเหนือจากปัจจัยภายในที่เกิดจากความเชื่อและความศรัทธาภายในตัวบุคคล ซึ่งมีผลต่อความคิดและการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยว","PeriodicalId":489378,"journal":{"name":"Journal of Liberal Arts RMUTT","volume":"46 7","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2023-12-21","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"138949039","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
อิทธิพลส่วนประสมทางการตลาดบริการที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการ ห้องอาหารบุฟเฟ่ต์ของโรงแรม ระดับ 5 ดาว ในกรุงเทพมหานคร อิทธิพลส่วนประสมทางการตลาดบริการที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการ ห้องอาหารบุฟเฟ่ต์ของโรงแรม ระดับ 5 ดาว ในกรุงเทพมหานคร
Pub Date : 2023-12-21 DOI: 10.60101/jla.2023.4.2.3824
Thiyapa Sathiankomsorakrai, กนกภรณ์ ครุฑภาพันธ์, บุศรา ตั้งศิริพัฒน์ภรณ์
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบการตัดสินใจเลือกใช้บริการห้องอาหารบุฟเฟ่ต์ของโรงแรม ระดับ 5 ดาว ในกรุงเทพมหานคร จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ 2) ศึกษาอิทธิพลส่วนประสมทางการตลาดบริการที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการห้องอาหารบุฟเฟ่ต์ของโรงแรม ระดับ 5 ดาว ในกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ  ผู้ใช้บริการชาวไทยที่มีประสบการณ์การใช้บริการห้องอาหารบุฟเฟ่ต์ในโรงแรมระดับ 5 ดาว ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน โดยใช้วิธีการสุ่มอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่  ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยหาค่า t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว เมื่อพบความแตกต่างจึงเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการ LSD สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของ Pearson และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่อเดือน ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการห้องอาหารบุฟเฟ่ต์ของโรงแรม ระดับ 5 ดาว ในกรุงเทพมหานคร ที่แตกต่างกัน ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่มีเพศ อายุ และสถานภาพสมรสที่แตกต่างกัน ไม่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการห้องอาหารบุฟเฟ่ต์ของโรงแรม ระดับ 5 ดาว ในกรุงเทพมหานคร และอิทธิพลส่วนประสมทางการตลาดบริการ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านพนักงาน และด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกของผู้บริโภคที่ใช้บริการห้องอาหาร   บุฟเฟ่ต์ของโรงแรม ระดับ 5 ดาว ในกรุงเทพมหานคร ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.01
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบการตัดสินใจเลือกใช้บริการรุฟเฟ่ต์ของโรงแรม ระดับ 5 ดาว ในกรุงเทพมหานคร จำนแกตามปัจัยส่วบุคคล และ 2)ศึกษาอิทธิพลส่วนประสมทางการตาดรบิการที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการห้องการรุบฟเฟ่ต์ขอโงรแงรม ระดับ 5 ดาว ในกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยคือผูใช้บริการชาวไทยที่มีประสกบารณ์การใช้บริการ้อฟเฟ่ต์ในโรงแรมระดับ 5 ดาว ในพืนที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน โดยใช้วิธีการสุ่มอย่างแบหลายขันตอนเครืองมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม แะลวิเคราห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ทดสอบความแตกลางของค่าเฉลี่ยโดยหาค่า t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว เมื่อพบความแตกต่างจึงเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการ LSD สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของ Pearson และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างที่มีระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่อเดอืน ที่แตกตางกันส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใชบริการห้องฟเฟ่ต์ของโรงแรม ระดับ 5 ดาว ในกรุงเทพมหานคร ที่แตกต่างกัน ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่มีเพศ อายุและสถานภาพสมรสที่แตกต่างกัน ไม่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการห้องอาหารบุฟเฟ่ต์ของโรงแรม ระดับ 5 ดาว ในกรุงเทพมหานคร และอิทธิพลส่วนประสมทางการตลาดบริการ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่ายด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านพนักงาน และด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ส่งผตล่อการตัดสินใจเลือกของผู้บริโภคที่ใช้บริการห้องอาร ระดับ 5 ดาว ในกรุงเทพมหานคร ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.01
{"title":"อิทธิพลส่วนประสมทางการตลาดบริการที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการ ห้องอาหารบุฟเฟ่ต์ของโรงแรม ระดับ 5 ดาว ในกรุงเทพมหานคร","authors":"Thiyapa Sathiankomsorakrai, กนกภรณ์ ครุฑภาพันธ์, บุศรา ตั้งศิริพัฒน์ภรณ์","doi":"10.60101/jla.2023.4.2.3824","DOIUrl":"https://doi.org/10.60101/jla.2023.4.2.3824","url":null,"abstract":"การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบการตัดสินใจเลือกใช้บริการห้องอาหารบุฟเฟ่ต์ของโรงแรม ระดับ 5 ดาว ในกรุงเทพมหานคร จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ 2) ศึกษาอิทธิพลส่วนประสมทางการตลาดบริการที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการห้องอาหารบุฟเฟ่ต์ของโรงแรม ระดับ 5 ดาว ในกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ  ผู้ใช้บริการชาวไทยที่มีประสบการณ์การใช้บริการห้องอาหารบุฟเฟ่ต์ในโรงแรมระดับ 5 ดาว ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน โดยใช้วิธีการสุ่มอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่  ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยหาค่า t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว เมื่อพบความแตกต่างจึงเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการ LSD สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของ Pearson และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ\u0000ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างที่มีระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่อเดือน ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการห้องอาหารบุฟเฟ่ต์ของโรงแรม ระดับ 5 ดาว ในกรุงเทพมหานคร ที่แตกต่างกัน ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่มีเพศ อายุ และสถานภาพสมรสที่แตกต่างกัน ไม่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการห้องอาหารบุฟเฟ่ต์ของโรงแรม ระดับ 5 ดาว ในกรุงเทพมหานคร และอิทธิพลส่วนประสมทางการตลาดบริการ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านพนักงาน และด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกของผู้บริโภคที่ใช้บริการห้องอาหาร   บุฟเฟ่ต์ของโรงแรม ระดับ 5 ดาว ในกรุงเทพมหานคร ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.01","PeriodicalId":489378,"journal":{"name":"Journal of Liberal Arts RMUTT","volume":"51 27","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2023-12-21","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"138949537","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ภูมิปัญญาการแกะหนังตะลุงอัตลักษณ์ของจังหวัดนครศรีธรรมราช ภูมิปัญญาการแกะหนังตะลุงอัตลักษณ์ของจังหวัดนครศรีธรรมราช
Pub Date : 2023-12-21 DOI: 10.60101/jla.2023.4.2.3234
สุดาวรรณ์ มีบัว
       ภูมิปัญญาการแกะหนังตะลุงของนครศรีธรรมราชเป็นภูมิปัญญาที่เคียงคู่กับศิลปะการแสดงหนังตะลุงมายาวนาน สะท้อนให้เห็นภูมิปัญญาหนังตะลุงยุคดั้งเดิมและยุคร่วมสมัยที่มีการเปลี่ยนแปลงความคิด ความเชื่อ ภูมิปัญญา มีการผลิตซ้ำ ผสมผสาน และสร้างใหม่ และมีการประยุกต์นำมาใช้ในบริบทใหม่ ๆ  ในปัจจุบัน พบว่าภูมิปัญญาการเลือกหนังสำหรับตัวหนังตะลุงยุคดั้งเดิมเลือกหนังจากลูกวัวหรือวัวรุ่น ยุคร่วมสมัยหนังสัตว์ที่ช่างนิยมนำมาแกะรูปหนัง คือ หนังวัวและหนังควายและมีหนังสัตว์อื่น ๆ  การเตรียมหนัง ยุคดั้งเดิมเมื่อได้หนังมาจะนำไปขึงให้ตึงเลาะพังผืดและมันที่ติดออกให้หมดแล้วนำไปฝังทราย การฟอกหนังยุคดั้งเดิมจะฟอกหนังโดยการนำไปแช่ในน้ำต้มผลส้มแขกหรือผลไม้รสเปรี้ยว ระยะเวลา 1-2 คืน ยุคร่วมสมัยจะแช่หนังที่ตากแห้งแล้วกับน้ำส้มสายชูผสมน้ำให้พอมีรสเปรี้ยวแช่ไว้ชั่วโมงเศษ และบางครั้งมีการรับซื้อหนังที่ฟอกแล้วจากโรงงานมาใช้ทำตัวหนังด้วย ยุคดั้งเดิมรูปลักษณ์ของตัวหนังตะลุง ช่างจะใช้เหล็กจารหรือเหล็กขีดวาดลายลงบนตัวหนัง ยุคร่วมสมัยช่างเก็บแบบวาดของบรรพบุรุษเป็นต้นแบบในการสร้างตัวหนังตะลุงในปัจจุบัน การแกะหนังตะลุงยุคดั้งเดิมช่างจะเลือกส่วนหนังที่บางที่สุดสำหรับแกะส่วนบนและส่วนล่างของตัวหนังตะลุง ยุคดั้งเดิมและยุคร่วมสมัยกระบวนการแกะฉลุตัวหนังตะลุงมีเครื่องมือที่สำคัญ ได้แก่ เขียงสำหรับรองฉลุ อุปกรณ์การตอกด้วยตุ๊ดตู่หรือมุก และการแกะด้วยมีด  การลงสีตัวหนังตะลุง ยุคดั้งเดิมใช้ก้านใบจากหรือหวายมาใช้แทนพู่กัน การให้สีหลักคือสีดำ ยุคร่วมสมัยการลงสีหนังขึ้นอยู่กับลักษณะรูปและประโยชน์การใช้สอย การสร้างไม้ตับทั้งสองยุคจะใช้ไม้ไผ่ที่ไม่อ่อนและแก่เกินไป การทำคันยักสำหรับใช้ชักปากหนังตะลุง ยุคดั้งเดิมและยุคร่วมสมัยจะใช้ไม้ไผ่เหลานำมาดัดด้วยการลนไฟ หรือใช้พลาสติกมาเหลาให้กลมใช้หนังยางช่วยในยุคดั้งเดิมจะใช้เศษหนังในการมัด  การแกะหนังตะลุงยังคงเป็นภูมิปัญญาที่เป็นที่เกิดจากต้นทุนทางวัฒนธรรมสำคัญ มีการเปลี่ยนแปลง ปรับตัว และยังดำรงอยู่ได้อย่างน่าสนใจส่งต่อในยุคร่วมสมัย
ภูมิปัญญาการแกะหนังตะลุงของนครศรีธรรมราชเป็นภูมิปัญญาที่เคียงคู่กับศิลปะการแสดงหนังตะลุงมายาวนาน สะท้อนให้เห็นภูมิปัญญาหนังตะลุงยุคดั้งเดิมและยุคร่วมสมัยที่มีการเปลี่ยนแปลงความคิดความเชื่อ ภูมิปัญญา มีการผลิตซ้ำ ผสมผสาน และสร้างใหม่ และมีการประยุกต์นำมาใช้ในบริบทใหม่ ๆ ในปัจจุบันพบว่าภูมิปัญญาการเลือกหนังสำหรับตัวหนังตะลุงยุคดั้งเดิมเลือกหนังจากลูกวัวหรือวัวรุ่น ยุคร่วมสมัยหนังสัตว์ที่ช่างนิยมนำมาแกะรูปหนัง คือ หนังวัวและหนังควายและมีหนังสัตว์อื่น ๆ การเตรียมหนังยุคดั้งเดิมเมื่อได้หนังมาจะนำไปขึงให้ตึงเลาะพังผืดและมันที่ติดออกให้หมดแล้วนำไปฝังทราย การฟอกหนังยุคดั้งเดิมจะฟอกหนังโดยการนำไปแช่ในน้ำต้มผลส้มแขกหรือผลไม้รสเปรี้ยว ระยะเวลา 1-2 คืน ยุคร่วมสมัยจะแช่หนังที่ตากแห้งแล้วกับน้ำส้มสายชูผสมน้ำให้พอมีรสเปรี้ยวแช่ไว้ัช่วโมเงศษและบางครั้งมีการรับซือหนงที่ฟอกแล้วจากโรงานมาใช้ทำตัวหนังด้วย ยุคดั้งเดิมรูปลักษณ์ของตัวหนัง ช่างจะใช้เหล็กจารรือเหล็กขีดวาดลายงบนตัวหนังเลุค่วมสมัยช่างเลุค่วมสมัยช่างเลุรพบรุษเปน็ต้นแบบในการสร้างตัวหนงที่บางที่สุดสำหัรบแกะส่วนลางของตัวหนังตะลุงและการแกะด้วยมีดการลงสีตัวหนังตะลุง ยุคดั้งเดิมใช้กานใบจากหรือหวายมาใช้แทนพู่กัน การใหสีหลักคือสีดำยุคร่วมสมัยการลงสีหนังขึ้นอยู่กับลักษณะรูปและประโยชน์การ↪LoE43↩ช้สอยอย การสร้างไมตับทั้งสองยุคจะใช้ไม้ไ↪LoE1C↩่ที่ไม่อนและแก่เกินไปการทำคันยักสำหรับ↪LoE43↩ช้ักปากหนังตลุงเดิมและยุค่รวมสมัยจะใช้ไม้ไผเหาน้ารทำัยงช่วยในยุคดั้งเดิมจะใช้เ↪E28↩ษหนังในการมัด ญญาที่เป็นที่เกิดจากต้นทุนทางวัฒนธรรมสำคัญ มีการเปลี่ยนแปลง ปรับตัว และยังดำรงอยู่ได้อย่างนา่สนใจส่งต่อในยุค่วมสมัย
{"title":"ภูมิปัญญาการแกะหนังตะลุงอัตลักษณ์ของจังหวัดนครศรีธรรมราช","authors":"สุดาวรรณ์ มีบัว","doi":"10.60101/jla.2023.4.2.3234","DOIUrl":"https://doi.org/10.60101/jla.2023.4.2.3234","url":null,"abstract":"       ภูมิปัญญาการแกะหนังตะลุงของนครศรีธรรมราชเป็นภูมิปัญญาที่เคียงคู่กับศิลปะการแสดงหนังตะลุงมายาวนาน สะท้อนให้เห็นภูมิปัญญาหนังตะลุงยุคดั้งเดิมและยุคร่วมสมัยที่มีการเปลี่ยนแปลงความคิด ความเชื่อ ภูมิปัญญา มีการผลิตซ้ำ ผสมผสาน และสร้างใหม่ และมีการประยุกต์นำมาใช้ในบริบทใหม่ ๆ  ในปัจจุบัน พบว่าภูมิปัญญาการเลือกหนังสำหรับตัวหนังตะลุงยุคดั้งเดิมเลือกหนังจากลูกวัวหรือวัวรุ่น ยุคร่วมสมัยหนังสัตว์ที่ช่างนิยมนำมาแกะรูปหนัง คือ หนังวัวและหนังควายและมีหนังสัตว์อื่น ๆ  การเตรียมหนัง ยุคดั้งเดิมเมื่อได้หนังมาจะนำไปขึงให้ตึงเลาะพังผืดและมันที่ติดออกให้หมดแล้วนำไปฝังทราย การฟอกหนังยุคดั้งเดิมจะฟอกหนังโดยการนำไปแช่ในน้ำต้มผลส้มแขกหรือผลไม้รสเปรี้ยว ระยะเวลา 1-2 คืน ยุคร่วมสมัยจะแช่หนังที่ตากแห้งแล้วกับน้ำส้มสายชูผสมน้ำให้พอมีรสเปรี้ยวแช่ไว้ชั่วโมงเศษ และบางครั้งมีการรับซื้อหนังที่ฟอกแล้วจากโรงงานมาใช้ทำตัวหนังด้วย ยุคดั้งเดิมรูปลักษณ์ของตัวหนังตะลุง ช่างจะใช้เหล็กจารหรือเหล็กขีดวาดลายลงบนตัวหนัง ยุคร่วมสมัยช่างเก็บแบบวาดของบรรพบุรุษเป็นต้นแบบในการสร้างตัวหนังตะลุงในปัจจุบัน การแกะหนังตะลุงยุคดั้งเดิมช่างจะเลือกส่วนหนังที่บางที่สุดสำหรับแกะส่วนบนและส่วนล่างของตัวหนังตะลุง ยุคดั้งเดิมและยุคร่วมสมัยกระบวนการแกะฉลุตัวหนังตะลุงมีเครื่องมือที่สำคัญ ได้แก่ เขียงสำหรับรองฉลุ อุปกรณ์การตอกด้วยตุ๊ดตู่หรือมุก และการแกะด้วยมีด  การลงสีตัวหนังตะลุง ยุคดั้งเดิมใช้ก้านใบจากหรือหวายมาใช้แทนพู่กัน การให้สีหลักคือสีดำ ยุคร่วมสมัยการลงสีหนังขึ้นอยู่กับลักษณะรูปและประโยชน์การใช้สอย การสร้างไม้ตับทั้งสองยุคจะใช้ไม้ไผ่ที่ไม่อ่อนและแก่เกินไป การทำคันยักสำหรับใช้ชักปากหนังตะลุง ยุคดั้งเดิมและยุคร่วมสมัยจะใช้ไม้ไผ่เหลานำมาดัดด้วยการลนไฟ หรือใช้พลาสติกมาเหลาให้กลมใช้หนังยางช่วยในยุคดั้งเดิมจะใช้เศษหนังในการมัด  การแกะหนังตะลุงยังคงเป็นภูมิปัญญาที่เป็นที่เกิดจากต้นทุนทางวัฒนธรรมสำคัญ มีการเปลี่ยนแปลง ปรับตัว และยังดำรงอยู่ได้อย่างน่าสนใจส่งต่อในยุคร่วมสมัย","PeriodicalId":489378,"journal":{"name":"Journal of Liberal Arts RMUTT","volume":"45 10","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2023-12-21","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"138951674","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
เรื่องเล่าการท่องเที่ยวแบบกางเต็นท์สู่แนวทางการจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เรื่องเล่าการท่องเที่ยวแบบกางเต็นท์สู่แนวทางการจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
Pub Date : 2023-12-21 DOI: 10.60101/jla.2023.4.2.3201
Wanwisa Ploy Insawang, พิทักษ์ ศิริวงศ์
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเรื่องเล่าของนักท่องเที่ยวแบบกางเต็นท์ (Camper) และนำเสนอแนวทางในการจัดการการท่องเที่ยวแบบกางเต็นท์อย่างยั่งยืน โดยการเล่าเรื่องราวผ่านประสบการณ์การท่องเที่ยวแบบกางเต็นท์ของผู้วิจัยและสะท้อนภาพความคิดของกลุ่มนักท่องเที่ยวดังกล่าวที่ผู้วิจัยมีฐานะเป็น “คนในกลุ่ม” (Emic) ด้วยวิธีวิทยาแนวอัตชาติพันธุ์วรรณาเชิงวิพากษ์ (Critical Autoethnography) พร้อมด้วยนักกางเต็นท์ที่มีประสบการณ์มากกว่า 3 ปีขึ้นไป จำนวน 15 คน เป็นผู้ร่วมสนทนา ผ่านการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) แบบไม่เป็นทางการ เน้นการร่วมสนทนาและการสร้างประสบการณ์ระหว่างกัน พร้อมกับการสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant Observation) ผลการวิจัยพบว่า กระแสสังคมในปัจจุบันส่งผลให้รูปแบบการท่องเที่ยวกางเต็นท์เปลี่ยนแปลงไป ทั้งในด้านลักษณะทางกายภาพ ได้แก่ สถานที่ อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ตลอดจนด้านลักษณะพฤติกรรมของนักกางเต็นท์รุ่นใหม่ จึงทำให้ต้องมีแนวทางในการจัดการการท่องเที่ยวแบบกางเต็นท์ให้มีความยั่งยืนครอบคลุมทั้ง 4 มิติ ได้แก่ มิติที่ 1) การบริหารจัดการอย่างยั่งยืน มิติที่ 2) การเพิ่มผลประโยชน์และลดผลกระทบเชิงลบทางสังคม เศรษฐกิจแก่ชุมชนท้องถิ่น มิติที่ 3) การเพิ่มผลประโยชน์และลดผลกระทบเชิงลบทางวัฒนธรรมแก่ชุมชนและนักท่องเที่ยว และมิติที่ 4) การเพิ่มผลประโยชน์และลดผลกระทบด้านลบทางสิ่งแวดล้อม เพื่อให้การท่องเที่ยวในรูปแบบการกางเต็นท์สร้างประโยชน์สูงสุด มีความยั่งยืนและคงอยู่ต่อไป
การวจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่↪LoE28↩ึกษาเรืองเล่าของนักท่องเที่ยวแบกางเต็นท์ (Camper)และนำเสนอแนวทางในการจัดากรการท่องเที่ยวแบกางเต็นทอ์ย่างยั่ยืนโดยการเลืองราวผ่านประสบการณ์การท่องเที่ยวแบกางเต็นท์ของผู้วิจัยและสะท้อนภาพความคิของกลุ่มนักท่องเที่ยวดังกล่าวที่ผู้วิจัยมีไป็น"คนในกลุ่ม" (Emic) ด้วยวิธีวิทยาแนวอัตชาติพันธุ์วรรณาเชิงวิพากษ์ (Critical Autoethnography)พร้อมด้วยนักกางเต็นท์ที่มีประสบากรณ์มากกว่า 3 ปีขึ้นไป จำนวน 15 คน เป็นผู้ร่วมสนทนา ผ่านการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-深度访谈) เชิงลางกร เน้นการร่วมสนทนาและการสร้างประสบารณ์ระหว่างกัน พร้มอกับารสังกเตแบมีส่วนร่วม(参与者观察) เE1C↩ลการวจัยพบว่า กระแสสังคมในปัจจุบันส่งผลให้รูปแบการท่องเที่ยวกางเต็นท์เปลี่ยนแปลงไปเทั้งในด้านลักษณะทางกายภาพ ได้แก่ สถานที่ อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ตลอดจนด้านลักษณะพฤติกรรมของนักางเต็นท์รุ่นใหม่เต็งทำใ4 มิติ ได้แก่ มิติที่ 1) การบริหารจัดการอย่างยั่งยืน มิติที่ 2) การเพิ่มผลประโยชน์และลดผลกระทบเชิงลบทางสังคมเศรษฐกจิแก่ชุมชนท้องถิ่น มิติที่ 3) การเพิ่มผลประโยชน์และดผลกระทบเชิงลบทางวัฒนธรมแก่ชุมชนและนักท่องเที่ยว4) การเพิ่มผลประโยชน์และลดผลกระทบด้าน ลบทางสิ่งแวดล้อม เพื่อให้การท่องเที่ยวในรูปแบบารกางเต็นท์สร้างประโยชน์สูงสุด มีควายั่งยืนและคงอยู่ตอไป
{"title":"เรื่องเล่าการท่องเที่ยวแบบกางเต็นท์สู่แนวทางการจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน","authors":"Wanwisa Ploy Insawang, พิทักษ์ ศิริวงศ์","doi":"10.60101/jla.2023.4.2.3201","DOIUrl":"https://doi.org/10.60101/jla.2023.4.2.3201","url":null,"abstract":"การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเรื่องเล่าของนักท่องเที่ยวแบบกางเต็นท์ (Camper) และนำเสนอแนวทางในการจัดการการท่องเที่ยวแบบกางเต็นท์อย่างยั่งยืน โดยการเล่าเรื่องราวผ่านประสบการณ์การท่องเที่ยวแบบกางเต็นท์ของผู้วิจัยและสะท้อนภาพความคิดของกลุ่มนักท่องเที่ยวดังกล่าวที่ผู้วิจัยมีฐานะเป็น “คนในกลุ่ม” (Emic) ด้วยวิธีวิทยาแนวอัตชาติพันธุ์วรรณาเชิงวิพากษ์ (Critical Autoethnography) พร้อมด้วยนักกางเต็นท์ที่มีประสบการณ์มากกว่า 3 ปีขึ้นไป จำนวน 15 คน เป็นผู้ร่วมสนทนา ผ่านการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) แบบไม่เป็นทางการ เน้นการร่วมสนทนาและการสร้างประสบการณ์ระหว่างกัน พร้อมกับการสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant Observation) ผลการวิจัยพบว่า กระแสสังคมในปัจจุบันส่งผลให้รูปแบบการท่องเที่ยวกางเต็นท์เปลี่ยนแปลงไป ทั้งในด้านลักษณะทางกายภาพ ได้แก่ สถานที่ อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ตลอดจนด้านลักษณะพฤติกรรมของนักกางเต็นท์รุ่นใหม่ จึงทำให้ต้องมีแนวทางในการจัดการการท่องเที่ยวแบบกางเต็นท์ให้มีความยั่งยืนครอบคลุมทั้ง 4 มิติ ได้แก่ มิติที่ 1) การบริหารจัดการอย่างยั่งยืน มิติที่ 2) การเพิ่มผลประโยชน์และลดผลกระทบเชิงลบทางสังคม เศรษฐกิจแก่ชุมชนท้องถิ่น มิติที่ 3) การเพิ่มผลประโยชน์และลดผลกระทบเชิงลบทางวัฒนธรรมแก่ชุมชนและนักท่องเที่ยว และมิติที่ 4) การเพิ่มผลประโยชน์และลดผลกระทบด้านลบทางสิ่งแวดล้อม เพื่อให้การท่องเที่ยวในรูปแบบการกางเต็นท์สร้างประโยชน์สูงสุด มีความยั่งยืนและคงอยู่ต่อไป","PeriodicalId":489378,"journal":{"name":"Journal of Liberal Arts RMUTT","volume":"139 10","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2023-12-21","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"138953366","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
Enhancing Vocabulary Acquisition through Progressive Word Increments in English Language Learning 在英语学习中通过单词渐进增量促进词汇习得
Pub Date : 2023-12-21 DOI: 10.60101/jla.2023.4.2.3172
Mongkolchai Tiansoodeenon, Benjaporn Meeporm, Nutthapat Kaewrattanapat, Sarochrus Tarapond
For language learning, vocabulary is essential and of considerable importance. It broadens the abilities of language learners to establish effective communication, foster deeper comprehension, and plays a fundamental role in language proficiency level assessment. However, learners possess difficulty managing their vocabulary as it continues to expand as their language exposure increases, especially for beginners and second language learners. This article aims to provide concepts for those who are interested in acquiring vocabulary in a second language and seeking where to begin. It suggests the number of words learners should learn, the rationale, and resources to obtain vocabulary. It discusses the general concept of vocabulary acquisition, the role of memory in learning vocabulary, and certain useful vocabulary learning strategies for learners that facilitate their vocabulary acquisition. 
对于语言学习来说,词汇是必不可少的,也是相当重要的。它拓宽了语言学习者建立有效交流的能力,促进了更深层次的理解,并在语言能力水平评估中发挥着基础性作用。然而,随着语言接触的增加,学习者的词汇量也在不断扩大,尤其是对于初学者和第二语言学习者来说,他们在管理词汇方面遇到了困难。本文旨在为那些有兴趣学习第二语言词汇并寻求从何入手的人提供一些概念。文章提出了学习者应该学习的词汇数量、理由以及获取词汇的资源。文章还讨论了词汇学习的一般概念、记忆在词汇学习中的作用,以及一些有助于学习者掌握词汇的有用的词汇学习策略。
{"title":"Enhancing Vocabulary Acquisition through Progressive Word Increments in English Language Learning","authors":"Mongkolchai Tiansoodeenon, Benjaporn Meeporm, Nutthapat Kaewrattanapat, Sarochrus Tarapond","doi":"10.60101/jla.2023.4.2.3172","DOIUrl":"https://doi.org/10.60101/jla.2023.4.2.3172","url":null,"abstract":"For language learning, vocabulary is essential and of considerable importance. It broadens the abilities of language learners to establish effective communication, foster deeper comprehension, and plays a fundamental role in language proficiency level assessment. However, learners possess difficulty managing their vocabulary as it continues to expand as their language exposure increases, especially for beginners and second language learners. This article aims to provide concepts for those who are interested in acquiring vocabulary in a second language and seeking where to begin. It suggests the number of words learners should learn, the rationale, and resources to obtain vocabulary. It discusses the general concept of vocabulary acquisition, the role of memory in learning vocabulary, and certain useful vocabulary learning strategies for learners that facilitate their vocabulary acquisition.\u0000 ","PeriodicalId":489378,"journal":{"name":"Journal of Liberal Arts RMUTT","volume":"51 13","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2023-12-21","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"138950733","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
Factors Influencing the Work Efficiency of Student Cadres in the University 影响高校学生干部工作效率的因素
Pub Date : 2023-10-24 DOI: 10.60101/jla.2023.4.2.3460
Ma Zheyao, Supit Boonlab
Student cadres are the main force of student work in a university and the "key minority" among students. The efficiency of student cadres at the university directly affects the overall process of student work. The research objectives are: 1) to study factors of role productivity and work efficiency of student cadres in the university; 2) to study the factors that influence the work efficiency of student cadres in the university; and 3) to propose a new model for the work efficiency of student cadres in the university. This study takes ordinary students from Hainan Tropical Ocean University as the research object and uses a survey questionnaire as a data collection tool to conduct a survey on 630 respondents. 623 questionnaires were collected, with 616 valid questionnaires and an effective rate of 97.7%. The questionnaire had reliability (0.98) and validity (0.96). All respondents evaluated the leadership, executive force, learning ability, credibility, and innovation of student cadres. For university student cadres, leadership, executive force, credibility, and innovation are all related to their work efficiency. Multiple regression analysis (stepwise) was used to test the research hypothesis, and the results show that the productivity role of student cadres is closely related to work efficiency, and leadership, executive force, credibility, and innovation all have a significant positive impact on work efficiency.
学生干部是高校学生工作的主力军,是学生中的“关键少数”。高校学生干部的工作效率直接影响到学生工作的整体进程。研究目标是:1)研究大学生干部角色生产力和工作效率的影响因素;2)研究影响高校学生干部工作效率的因素;3)提出了提高高校学生干部工作效率的新模式。本研究以海南热带海洋大学普通学生为研究对象,采用调查问卷作为数据收集工具,对630名被调查者进行了调查。共回收问卷623份,有效问卷616份,有效问卷率为97.7%。问卷信度为0.98,效度为0.96。受访者对学生干部的领导力、执行力、学习能力、公信力、创新性进行了评价。对于大学生干部来说,领导力、执行力、公信力、创新性都关系到他们的工作效率。采用多元回归分析(逐步回归)对研究假设进行检验,结果表明学生干部的生产力作用与工作效率密切相关,领导力、执行力、可信度、创新能力对工作效率均有显著的正向影响。
{"title":"Factors Influencing the Work Efficiency of Student Cadres in the University","authors":"Ma Zheyao, Supit Boonlab","doi":"10.60101/jla.2023.4.2.3460","DOIUrl":"https://doi.org/10.60101/jla.2023.4.2.3460","url":null,"abstract":"Student cadres are the main force of student work in a university and the \"key minority\" among students. The efficiency of student cadres at the university directly affects the overall process of student work. The research objectives are: 1) to study factors of role productivity and work efficiency of student cadres in the university; 2) to study the factors that influence the work efficiency of student cadres in the university; and 3) to propose a new model for the work efficiency of student cadres in the university. This study takes ordinary students from Hainan Tropical Ocean University as the research object and uses a survey questionnaire as a data collection tool to conduct a survey on 630 respondents. 623 questionnaires were collected, with 616 valid questionnaires and an effective rate of 97.7%. The questionnaire had reliability (0.98) and validity (0.96). All respondents evaluated the leadership, executive force, learning ability, credibility, and innovation of student cadres. For university student cadres, leadership, executive force, credibility, and innovation are all related to their work efficiency. Multiple regression analysis (stepwise) was used to test the research hypothesis, and the results show that the productivity role of student cadres is closely related to work efficiency, and leadership, executive force, credibility, and innovation all have a significant positive impact on work efficiency.","PeriodicalId":489378,"journal":{"name":"Journal of Liberal Arts RMUTT","volume":"24 6","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2023-10-24","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"135267366","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
English Vocabulary Board Game for Upper Primary School Students in Small and Medium-Sized Schools 中小学校高年级学生英语词汇桌游
Pub Date : 2023-10-04 DOI: 10.60101/jla.2023.4.2.2814
Chayakorn Jeenpracha, Chayanin Pongtornvivan, Nattanan Wongsatit, Montchatry Ketmuni
The objectives of this research were 1) to study the results of using board game to improve English vocabulary for upper primary school students in small and medium-sized schools, and 2) to study the students’ satisfaction after using board game. There were a total of 100 students: 50 students from small-sized schools, and 50 students from a medium-sized school. The samples were selected by using multi-stage sampling method. The research instruments were the English vocabulary board game, pre- and post-tests, a behavior observation form, an interview form, and a satisfaction evaluation form. Frequency, mean, percentage, standard deviation, and t-tests, were used to analyze the data. The research findings indicated that both small and medium-sized school students' scores were increased after using the board game at the statistically significant level of .001. Additionally, students’ satisfaction was at a high level supported by the observation data and interview results.
本研究的目的是:1)研究使用桌游提高中小学校小学高年级学生英语词汇量的效果;2)研究学生使用桌游后的满意度。共有100名学生参加了此次活动,其中50名学生来自小型学校,50名学生来自中型学校。采用多阶段抽样法对样本进行选择。研究工具为英语词汇棋盘游戏、前测和后测、行为观察表、访谈表和满意度评价表。使用频率、平均值、百分比、标准差和t检验对数据进行分析。研究结果表明,中小学校学生在使用桌游后得分均有显著提高,且均达到了0.001的统计学显著水平。此外,观察数据和访谈结果也支持学生的满意度处于较高水平。
{"title":"English Vocabulary Board Game for Upper Primary School Students in Small and Medium-Sized Schools","authors":"Chayakorn Jeenpracha, Chayanin Pongtornvivan, Nattanan Wongsatit, Montchatry Ketmuni","doi":"10.60101/jla.2023.4.2.2814","DOIUrl":"https://doi.org/10.60101/jla.2023.4.2.2814","url":null,"abstract":"The objectives of this research were 1) to study the results of using board game to improve English vocabulary for upper primary school students in small and medium-sized schools, and 2) to study the students’ satisfaction after using board game. There were a total of 100 students: 50 students from small-sized schools, and 50 students from a medium-sized school. The samples were selected by using multi-stage sampling method. The research instruments were the English vocabulary board game, pre- and post-tests, a behavior observation form, an interview form, and a satisfaction evaluation form. Frequency, mean, percentage, standard deviation, and t-tests, were used to analyze the data. The research findings indicated that both small and medium-sized school students' scores were increased after using the board game at the statistically significant level of .001. Additionally, students’ satisfaction was at a high level supported by the observation data and interview results.","PeriodicalId":489378,"journal":{"name":"Journal of Liberal Arts RMUTT","volume":"55 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2023-10-04","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"135591000","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
期刊
Journal of Liberal Arts RMUTT
全部 Acc. Chem. Res. ACS Applied Bio Materials ACS Appl. Electron. Mater. ACS Appl. Energy Mater. ACS Appl. Mater. Interfaces ACS Appl. Nano Mater. ACS Appl. Polym. Mater. ACS BIOMATER-SCI ENG ACS Catal. ACS Cent. Sci. ACS Chem. Biol. ACS Chemical Health & Safety ACS Chem. Neurosci. ACS Comb. Sci. ACS Earth Space Chem. ACS Energy Lett. ACS Infect. Dis. ACS Macro Lett. ACS Mater. Lett. ACS Med. Chem. Lett. ACS Nano ACS Omega ACS Photonics ACS Sens. ACS Sustainable Chem. Eng. ACS Synth. Biol. Anal. Chem. BIOCHEMISTRY-US Bioconjugate Chem. BIOMACROMOLECULES Chem. Res. Toxicol. Chem. Rev. Chem. Mater. CRYST GROWTH DES ENERG FUEL Environ. Sci. Technol. Environ. Sci. Technol. Lett. Eur. J. Inorg. Chem. IND ENG CHEM RES Inorg. Chem. J. Agric. Food. Chem. J. Chem. Eng. Data J. Chem. Educ. J. Chem. Inf. Model. J. Chem. Theory Comput. J. Med. Chem. J. Nat. Prod. J PROTEOME RES J. Am. Chem. Soc. LANGMUIR MACROMOLECULES Mol. Pharmaceutics Nano Lett. Org. Lett. ORG PROCESS RES DEV ORGANOMETALLICS J. Org. Chem. J. Phys. Chem. J. Phys. Chem. A J. Phys. Chem. B J. Phys. Chem. C J. Phys. Chem. Lett. Analyst Anal. Methods Biomater. Sci. Catal. Sci. Technol. Chem. Commun. Chem. Soc. Rev. CHEM EDUC RES PRACT CRYSTENGCOMM Dalton Trans. Energy Environ. Sci. ENVIRON SCI-NANO ENVIRON SCI-PROC IMP ENVIRON SCI-WAT RES Faraday Discuss. Food Funct. Green Chem. Inorg. Chem. Front. Integr. Biol. J. Anal. At. Spectrom. J. Mater. Chem. A J. Mater. Chem. B J. Mater. Chem. C Lab Chip Mater. Chem. Front. Mater. Horiz. MEDCHEMCOMM Metallomics Mol. Biosyst. Mol. Syst. Des. Eng. Nanoscale Nanoscale Horiz. Nat. Prod. Rep. New J. Chem. Org. Biomol. Chem. Org. Chem. Front. PHOTOCH PHOTOBIO SCI PCCP Polym. Chem.
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
0
微信
客服QQ
Book学术公众号 扫码关注我们
反馈
×
意见反馈
请填写您的意见或建议
请填写您的手机或邮箱
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
现在去查看 取消
×
提示
确定
Book学术官方微信
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术
文献互助 智能选刊 最新文献 互助须知 联系我们:info@booksci.cn
Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。
Copyright © 2023 Book学术 All rights reserved.
ghs 京公网安备 11010802042870号 京ICP备2023020795号-1