ผลของการใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R ที่มีต่อความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

วิชิดา อุ่นใจ, เด่นดาว ชลวิทย์
{"title":"ผลของการใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R ที่มีต่อความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5","authors":"วิชิดา อุ่นใจ, เด่นดาว ชลวิทย์","doi":"10.60027/iarj.2024.277001","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การอ่านเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการช่วยให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต และช่วยให้เข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้ง่าย การอ่านอย่างคล่องแคล่วและเข้าใจความหมายจะนำมาซึ่งความรู้ และส่งเสริมให้เกิดการคิดวิเคราะห์ มีวิจารณญาณ และประยุกต์ใช้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อชีวิต หากนักเรียนมีความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ จะส่งผลให้เป็นคนมีความรอบรู้ มีเหตุผล และคิดรอบคอบก่อนตัดสินใจ ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้ศึกษาวิธีการสอนแบบ SQ5R เพื่อมาใช้ในการสอนอ่าน เพราะเป็นวิธีการสอนที่มีขั้นตอนอย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ สามารถเชื่อมโยงความรู้ด้วยการสะท้อนความคิด อีกทั้งสามารถแสดงความคิดเห็นผ่านกระบวนการอภิปรายร่วมกัน ก่อให้เกิดความเข้าใจในบทอ่านมากยิ่งขึ้น โดยการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถ ในการอ่านเชิงวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลังการใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R\nระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/4 โรงเรียนวัดดอนเมือง (ทหารอากาศอุทิศ) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 41 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้การอ่านเชิงวิเคราะห์ โดยใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R จำนวน 3 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง รวมทั้งสิ้น 6 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่าน เชิงวิเคราะห์ แบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติที่ใช้ในทดสอบสมมติฐานคือทดสอบค่า (t–test dependent)\nผลการวิจัย   คะแนนความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 13.98 และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 4.03 และหลังใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 21.27 และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 3.63 สรุปได้ว่า ความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนโดยใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05\nสรุปผล: หลังจากได้รับการสอนโดยใช้วิธี SQ5R ความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ตามที่ระบุโดยข้อมูล ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการปรับปรุงที่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญ .05","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"58 12","pages":""},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-07-24","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"ผลของการใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R ที่มีต่อความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5\",\"authors\":\"วิชิดา อุ่นใจ, เด่นดาว ชลวิทย์\",\"doi\":\"10.60027/iarj.2024.277001\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การอ่านเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการช่วยให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต และช่วยให้เข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้ง่าย การอ่านอย่างคล่องแคล่วและเข้าใจความหมายจะนำมาซึ่งความรู้ และส่งเสริมให้เกิดการคิดวิเคราะห์ มีวิจารณญาณ และประยุกต์ใช้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อชีวิต หากนักเรียนมีความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ จะส่งผลให้เป็นคนมีความรอบรู้ มีเหตุผล และคิดรอบคอบก่อนตัดสินใจ ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้ศึกษาวิธีการสอนแบบ SQ5R เพื่อมาใช้ในการสอนอ่าน เพราะเป็นวิธีการสอนที่มีขั้นตอนอย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ สามารถเชื่อมโยงความรู้ด้วยการสะท้อนความคิด อีกทั้งสามารถแสดงความคิดเห็นผ่านกระบวนการอภิปรายร่วมกัน ก่อให้เกิดความเข้าใจในบทอ่านมากยิ่งขึ้น โดยการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถ ในการอ่านเชิงวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลังการใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R\\nระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/4 โรงเรียนวัดดอนเมือง (ทหารอากาศอุทิศ) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 41 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้การอ่านเชิงวิเคราะห์ โดยใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R จำนวน 3 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง รวมทั้งสิ้น 6 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่าน เชิงวิเคราะห์ แบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติที่ใช้ในทดสอบสมมติฐานคือทดสอบค่า (t–test dependent)\\nผลการวิจัย   คะแนนความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 13.98 และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 4.03 และหลังใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 21.27 และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 3.63 สรุปได้ว่า ความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนโดยใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05\\nสรุปผล: หลังจากได้รับการสอนโดยใช้วิธี SQ5R ความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ตามที่ระบุโดยข้อมูล ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการปรับปรุงที่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญ .05\",\"PeriodicalId\":505621,\"journal\":{\"name\":\"Interdisciplinary Academic and Research Journal\",\"volume\":\"58 12\",\"pages\":\"\"},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2024-07-24\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"Interdisciplinary Academic and Research Journal\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.277001\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.277001","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

摘要

ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:การอ่านเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการช่วยให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต และช่วยให้เข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้ง่าย การอ่านอย่างคล่องแคล่วและเข้าใจความหมายจะนำมาซึ่งความรู้ และส่งเสริมให้เกิดการคิดวิเคราะห์มีวิจารณญาณ และประยุกต์ใช้ข้มูลที่เป็นประโยชน์ต่อชีวิต หากนักเรียนมีความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์จะส่งผลให้เป็นคนีความรอบรู้ มีเหตุผล และคิดรอบคอบก่อนตัดสินใจ ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้ศึกษาวิธีการสอนแบSQ5R เพื่อมาใช้ในการสอนอ่าน เพราะเป็นวิธีการสอนที่มีขั้นตอนอย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ สามารถเชื่อมโยงความรู้ด้วยการสะท้อนความคิด อีกทั้งสามารถแสดงความคิดเห็นผ่านกระบวนการอภิปรายร่วมกันใใใจในบทอ่านมากย่ิงขึ้น โดยการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบคาวมสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนแะเE43↩ช้วิธีการสอนแบ sqบ5rระเบียบวิธีการวิจัย:กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/4 โรงเรียนวัดดอนเมือง (ทหารอากาศอุทิศ) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 41 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย(简单随机抽样) เครื่งอมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้การอ่านเชิงวิเคราะห์ เดยใช้วิธีการสนอแบ SQ5R จำนวน 3 แผนละ 2 ชั่วโมง รวมทั้งสิ้น 6 ชั่วโมง 2)แบทดสอบวัดความสามารถในการอ่าน เชิงวิเคราห์ แบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือกจำนวน 30 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าสถิติที่ใช้ในทดสอบสมมติฐานคือทดสอบค่า (t–test dependent)ผลการวิจัย คะแนนความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 13.98 แบดมีย เท่ากับ 4.03 แบดมีย เท่ากับ 4.03 แบดมีย เท่ากับ 21.27 แบดมีย เท่ากับ 21.27 แบดมีย เท่ากับ 3.63 สรุปถในการอ่านเชิงวิเคราห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนโดยใช้วิธีการสอนแบ sq5r สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05สรุปผล:เด็กเด็กเสอนโดยใช้วิธี sq5r ความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5เดียางมีนัยสำคัญ ตามที่ระบุดยข้อมูล ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการปรับปรุงที่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญ .05
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
查看原文
分享 分享
微信好友 朋友圈 QQ好友 复制链接
本刊更多论文
ผลของการใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R ที่มีต่อความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การอ่านเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการช่วยให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต และช่วยให้เข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้ง่าย การอ่านอย่างคล่องแคล่วและเข้าใจความหมายจะนำมาซึ่งความรู้ และส่งเสริมให้เกิดการคิดวิเคราะห์ มีวิจารณญาณ และประยุกต์ใช้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อชีวิต หากนักเรียนมีความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ จะส่งผลให้เป็นคนมีความรอบรู้ มีเหตุผล และคิดรอบคอบก่อนตัดสินใจ ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้ศึกษาวิธีการสอนแบบ SQ5R เพื่อมาใช้ในการสอนอ่าน เพราะเป็นวิธีการสอนที่มีขั้นตอนอย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ สามารถเชื่อมโยงความรู้ด้วยการสะท้อนความคิด อีกทั้งสามารถแสดงความคิดเห็นผ่านกระบวนการอภิปรายร่วมกัน ก่อให้เกิดความเข้าใจในบทอ่านมากยิ่งขึ้น โดยการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถ ในการอ่านเชิงวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลังการใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R ระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/4 โรงเรียนวัดดอนเมือง (ทหารอากาศอุทิศ) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 41 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้การอ่านเชิงวิเคราะห์ โดยใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R จำนวน 3 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง รวมทั้งสิ้น 6 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่าน เชิงวิเคราะห์ แบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติที่ใช้ในทดสอบสมมติฐานคือทดสอบค่า (t–test dependent) ผลการวิจัย   คะแนนความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 13.98 และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 4.03 และหลังใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 21.27 และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 3.63 สรุปได้ว่า ความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนโดยใช้วิธีการสอนแบบ SQ5R สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สรุปผล: หลังจากได้รับการสอนโดยใช้วิธี SQ5R ความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ตามที่ระบุโดยข้อมูล ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการปรับปรุงที่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญ .05
求助全文
通过发布文献求助,成功后即可免费获取论文全文。 去求助
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
期刊最新文献
ปัจจัยการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อ ภาวะหมดไฟในการทำงานของครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ แนวทางการพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของกำนันผู้ใหญ่บ้าน อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก Storytelling in the Digital Age: How It Came to be and what should or Should Not Be Done ผลของการใช้กลวิธี REAP ที่มีต่อความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
现在去查看 取消
×
提示
确定
0
微信
客服QQ
Book学术公众号 扫码关注我们
反馈
×
意见反馈
请填写您的意见或建议
请填写您的手机或邮箱
已复制链接
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
×
扫码分享
扫码分享
Book学术官方微信
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术
文献互助 智能选刊 最新文献 互助须知 联系我们:info@booksci.cn
Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。
Copyright © 2023 Book学术 All rights reserved.
ghs 京公网安备 11010802042870号 京ICP备2023020795号-1