การใช้แนวทางการจัดการรายกรณีที่นำโดยพยาบาลในการดูแลเด็กเปราะบางและครอบครัว

เอมอร ทาระคำ, โชคนิติพัฒน์ วิสูญ
{"title":"การใช้แนวทางการจัดการรายกรณีที่นำโดยพยาบาลในการดูแลเด็กเปราะบางและครอบครัว","authors":"เอมอร ทาระคำ, โชคนิติพัฒน์ วิสูญ","doi":"10.60099/jtnmc.v39i01.265472","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"บทนำ ปัญหาของการดูแลเด็กเปราะบางทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในประเทศไทยทั้งในชุมชนเมืองและชนบท จำเป็นต้องมีความร่วมมือระหว่างทีมงานและเครือข่ายจากหลากหลายสาขาที่เชื่อมโยงทั้งคลินิกและชุมชน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของทีมดูแลสุขภาพแบบสหวิชาชีพในการนำไปปฏิบัติจริงเพื่อส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีของเด็กเปราะบางและครอบครัว \nวัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาความเป็นไปได้และผลของการใช้แนวทางการจัดการรายกรณีที่นำโดยพยาบาลในการดูแลเด็กเปราะบางและครอบครัว \nการออกแบบวิจัย การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยปฏิบัติการ \nวิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างคือเด็กเปราะบางที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิแห่งหนึ่ง ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 18 คน ผู้ดูแลเด็กเปราะบางจำนวน 18 คน และทีมสหวิชาชีพ จำนวน 15 คน เลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์คัดเข้า เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลทั่วไป การจัดการรายกรณี แบบประเมินความพึงพอใจของเด็กเปราะบางและครอบครัว และแบบประเมินความพึงพอใจของทีมสหวิชาชีพ ดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาของการจัดการรายกรณี แบบประเมินความพึงพอใจของเด็กเปราะบางและครอบครัวและแบบประเมินความพึงพอใจของทีมสหวิชาชีพ เท่ากับ .81, .80 และ .85 ตามลำดับ การตรวจสอบความเชื่อมั่นของ แบบประเมินความพึงพอใจ ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ .79 และ .76 ตามลำดับ นำแนวปฏิบัติ เฉพาะแต่ละประเภทของเด็กเปราะบางไปใช้ในกลุ่มตัวอย่างทุกรายที่เข้ารับการรักษา และการตรวจเยี่ยม 4 ครั้งหลังจากออกจากโรงพยาบาล ลงบันทึกข้อมูลการจัดการรายกรณีทุกรายในระหว่างโครงการ รวบรวมข้อมูลความพึงพอใจ ก่อนและหลังการเข้าเยี่ยมครั้งที่ 4 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและการทดสอบวิลคอกซัน \nผลการศึกษา ผู้ป่วยเด็กส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 72.22) อายุเฉลี่ย 11.66 ปี (SD = 3.18) มีภาวะเปราะบาง ด้านสังคม (ร้อยละ 61.1) รองลงมาคือด้านจิตใจ (ร้อยละ 33.33) และด้านร่างกาย (ร้อยละ 5.56) ผู้ดูแลส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 77.78 ) มีอายุเฉลี่ย 53.33 ปี (SD = 3.64) มีความสัมพันธ์กับเด็กโดยเป็นปู่ย่า-ตายาย (ร้อยละ 55.56) และมารดา (ร้อยละ 38.89) ทีมสหวิชาชีพประกอบด้วย พยาบาลวิชาชีพ กุมารแพทย์ นักจิตวิทยา เภสัชกร และนักกายภาพบำบัด ผลการศึกษาพบว่า แนวทางการดูแลถูกนำไปใช้เกือบทุกขั้นตอน ยกเว้นการวางแผนฉุกเฉิน ดำเนินการเพียงบางราย ผลการดำเนินงานด้านความพึงพอใจของเด็กเปราะบางและครอบครัว และของกลุ่มสหวิชาชีพ ต่อแนวทางการจัดการรายกรณีที่นำโดยพยาบาลพบว่า มีคะแนนความพึงพอใจสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (z = -3.626, p<.001; z = -3.430, p = .001 ตามลำดับ) ไม่พบการเกิดภาวะแทรกซ้อนและการกลับมารักษาซ้ำ \nข้อเสนอแนะ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าการดูแลเด็กเปราะบางโดยใช้การจัดการรายกรณีที่นำโดยพยาบาล ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเชิงบวกในเบื้องต้น การสร้างระบบการจัดการการดูแลระยะยาว การเพิ่มขีดความสามารถของทีมในการแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อนของเด็กและครอบครัว และการให้การสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง จะช่วยให้ทีมสามารถนำเด็กและครอบครัวออกจากความเปราะบางได้","PeriodicalId":507625,"journal":{"name":"The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council","volume":null,"pages":null},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-03-26","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60099/jtnmc.v39i01.265472","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

Abstract

บทนำ ปัญหาของการดูแลเด็กเปราะบางทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในประเทศไทยทั้งในชุมชนเมืองและชนบท จำเป็นต้องมีความร่วมมือระหว่างทีมงานและเครือข่ายจากหลากหลายสาขาที่เชื่อมโยงทั้งคลินิกและชุมชน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของทีมดูแลสุขภาพแบบสหวิชาชีพในการนำไปปฏิบัติจริงเพื่อส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีของเด็กเปราะบางและครอบครัว  วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาความเป็นไปได้และผลของการใช้แนวทางการจัดการรายกรณีที่นำโดยพยาบาลในการดูแลเด็กเปราะบางและครอบครัว  การออกแบบวิจัย การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยปฏิบัติการ  วิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างคือเด็กเปราะบางที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิแห่งหนึ่ง ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 18 คน ผู้ดูแลเด็กเปราะบางจำนวน 18 คน และทีมสหวิชาชีพ จำนวน 15 คน เลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์คัดเข้า เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลทั่วไป การจัดการรายกรณี แบบประเมินความพึงพอใจของเด็กเปราะบางและครอบครัว และแบบประเมินความพึงพอใจของทีมสหวิชาชีพ ดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาของการจัดการรายกรณี แบบประเมินความพึงพอใจของเด็กเปราะบางและครอบครัวและแบบประเมินความพึงพอใจของทีมสหวิชาชีพ เท่ากับ .81, .80 และ .85 ตามลำดับ การตรวจสอบความเชื่อมั่นของ แบบประเมินความพึงพอใจ ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ .79 และ .76 ตามลำดับ นำแนวปฏิบัติ เฉพาะแต่ละประเภทของเด็กเปราะบางไปใช้ในกลุ่มตัวอย่างทุกรายที่เข้ารับการรักษา และการตรวจเยี่ยม 4 ครั้งหลังจากออกจากโรงพยาบาล ลงบันทึกข้อมูลการจัดการรายกรณีทุกรายในระหว่างโครงการ รวบรวมข้อมูลความพึงพอใจ ก่อนและหลังการเข้าเยี่ยมครั้งที่ 4 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและการทดสอบวิลคอกซัน  ผลการศึกษา ผู้ป่วยเด็กส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 72.22) อายุเฉลี่ย 11.66 ปี (SD = 3.18) มีภาวะเปราะบาง ด้านสังคม (ร้อยละ 61.1) รองลงมาคือด้านจิตใจ (ร้อยละ 33.33) และด้านร่างกาย (ร้อยละ 5.56) ผู้ดูแลส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 77.78 ) มีอายุเฉลี่ย 53.33 ปี (SD = 3.64) มีความสัมพันธ์กับเด็กโดยเป็นปู่ย่า-ตายาย (ร้อยละ 55.56) และมารดา (ร้อยละ 38.89) ทีมสหวิชาชีพประกอบด้วย พยาบาลวิชาชีพ กุมารแพทย์ นักจิตวิทยา เภสัชกร และนักกายภาพบำบัด ผลการศึกษาพบว่า แนวทางการดูแลถูกนำไปใช้เกือบทุกขั้นตอน ยกเว้นการวางแผนฉุกเฉิน ดำเนินการเพียงบางราย ผลการดำเนินงานด้านความพึงพอใจของเด็กเปราะบางและครอบครัว และของกลุ่มสหวิชาชีพ ต่อแนวทางการจัดการรายกรณีที่นำโดยพยาบาลพบว่า มีคะแนนความพึงพอใจสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (z = -3.626, p<.001; z = -3.430, p = .001 ตามลำดับ) ไม่พบการเกิดภาวะแทรกซ้อนและการกลับมารักษาซ้ำ  ข้อเสนอแนะ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าการดูแลเด็กเปราะบางโดยใช้การจัดการรายกรณีที่นำโดยพยาบาล ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเชิงบวกในเบื้องต้น การสร้างระบบการจัดการการดูแลระยะยาว การเพิ่มขีดความสามารถของทีมในการแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อนของเด็กและครอบครัว และการให้การสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง จะช่วยให้ทีมสามารถนำเด็กและครอบครัวออกจากความเปราะบางได้
查看原文
分享 分享
微信好友 朋友圈 QQ好友 复制链接
本刊更多论文
การใช้แนวทางการจัดการรายกรณีที่นำโดยพยาบาลในการดูแลเด็กเปราะบางและครอบครัว
เด็กเปราะบางทวีความรุนแรงิย่งขึ้นในประเทศไทยทั้งในชุมชนเมอืงและชนบท จ้งมีความร่วมือระหว่าทีมงานและเครอืข่ยาจากหากหายสาขที่เชือมยงทั้งคลินิกและชุมชนเพือเพิ่มขีดความสามารถของทีดมูแลสุขภาพแบสหวิชาชีพในการนำไปปฏิบัติจริงเพือส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีของเด็กเปราะบางและครอบครัวัตถุประสงค์การวิจัยเพือศึกษาความเป็นไปด้และผลของการใช้แนวทางการรายกรณที่นำโดยพยาบาลในการดูแลเด็กเปราบางและครอบครัว การอกแบวจัย การศึษาครั้งนี้เป็นการวจัยปฏิบัติการวิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างือเด็กเปราะบางที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิแหางหนึ่ง ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 18คน เE1C↩ู้ดูแลเด็กเปราะบางจำนวน 18 คน และทีมสหวิชาชีพ จำนวน 15 คน เลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณ↩ฑ์คัดเข้า เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบันทึกข้มลทั่วไปการจัดารรายกรณีแบบประเมินความพึงพอใจองเด็กเปราะบางและครอบครัว และแบบประเมินความพึงพอใจของทีมสหิชาชีพอมตัชนีความตรงเชิงเนือหาของกาจัดการรายกรณี แบประเมินความพึงพอใจอขงเด็กเปราะบางและครอบครัวและแบประเมินความพึงพอใจอขงทีมสหวิชาชีพ เท่าอบ .81, .80 และ .85 ตามลำดับ การตรวจสอบความเชื่อมั่นขงอ แบประเมินความพึงพอใจ ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ .79 และ .76 ตามลำดับ นำแนวปฏิบัติ เฉพาะแต่ะลประเภทของเด็กเปราะบางไปใช้ในกลุ่มตัวอย่างทุกรายที่เข้ารับารรัษา4 ครั้งหาลังจากอกจากโรงพยาบาล งบันทึกข้อมูลการจัดากรายกรณีทุกรายในระหวางครงกรารวบรวมข้อมูลความพึงพอใจ ก่อนและหลังการเข้าเยี่ยมครั้งที่ 4 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและการทดสอบวิลคอกซัน ผลการศึกษา ผู้ป่วยเด็กส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 72.22) อายุเฉลี่ย 11.66 ปี (sd = 3.18) มีภาวะเปราะบาง ด้านสังคม (ร้อยละ 61.1) รองลงมาคือด้านจิตใจ (ร้อยละ 33.33) และด้านรางกาย (ร้อยละ 5.56) ผู้ดูแลส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 77.78 ) มีอายุเฉลี่ย 53.33 ปี (sd = 3.64) มีความสัมพันธ์กับเด็กโดยเป็นปู่ยา-ตายาย (ร้อยละ 55.56) เร้อยละ 38.89) ทีมสหวิชาชีพประกอบด้วย พยาบาลวิชาชีพ กุมารแพทย์ นักจิตวิทยา เภสัชกร และนักกายภาพบำบัด ผลการศึกษาพบว่า แนวทางการดูแลถูกนำไปใช้เกือบทุกขั้นตอน ยกเว้นการวางแผนฉุกเฉิน ดำเนินการเพียงบางราย3.626, p<.001; z = -3.430, p = .001 ตามลำดับ) ไม่พบการเกิดภาวะแทรกซ้อนและการกลับมารักษาซ้ำ ข้อเสนอแนะ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าการดูแลเด็กเปราะบางโดยใช้การจัดการรายกรณีที่นำโดยพยาบาล ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเชิงบวกในเบื้องต้นการสร้างระบบการจัดการการดูแลระยะยาว การเพิ่มขีดความสามารถของทีมในการแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อนของเด็กและครอบครัว และการให้การสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง จะช่วยให้ทีมสามารถนำเด็กและครอบครัวออกจากความเปราะบางได้
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
求助全文
约1分钟内获得全文 去求助
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
期刊最新文献
ปัจจัยทำนายการเกิดภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจากสารทึบรังสีในผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ร่วมกับการฉีดสารทึบรังสี การใช้แนวทางการจัดการรายกรณีที่นำโดยพยาบาลในการดูแลเด็กเปราะบางและครอบครัว ผลลัพธ์ทางคลินิกของรูปแบบโปรแกรมที่นำโดยพยาบาลในการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเครียดของบุคลากรทางการพยาบาลที่หน่วยฉุกเฉินในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร การรับรู้และความคาดหวังต่อการจัดการความรุนแรงในสถานพยาบาลที่ผู้รับบริการกระทำต่อบุคลากรทางการแพทย์ที่หน่วยฉุกเฉินและหน่วยวิกฤต
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
现在去查看 取消
×
提示
确定
0
微信
客服QQ
Book学术公众号 扫码关注我们
反馈
×
意见反馈
请填写您的意见或建议
请填写您的手机或邮箱
已复制链接
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
×
扫码分享
扫码分享
Book学术官方微信
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术
文献互助 智能选刊 最新文献 互助须知 联系我们:info@booksci.cn
Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。
Copyright © 2023 Book学术 All rights reserved.
ghs 京公网安备 11010802042870号 京ICP备2023020795号-1