การรับรู้และความคาดหวังต่อการจัดการความรุนแรงในสถานพยาบาลที่ผู้รับบริการกระทำต่อบุคลากรทางการแพทย์ที่หน่วยฉุกเฉินและหน่วยวิกฤต

ทิพวรรณ เรืองชูพงศ์
{"title":"การรับรู้และความคาดหวังต่อการจัดการความรุนแรงในสถานพยาบาลที่ผู้รับบริการกระทำต่อบุคลากรทางการแพทย์ที่หน่วยฉุกเฉินและหน่วยวิกฤต","authors":"ทิพวรรณ เรืองชูพงศ์","doi":"10.60099/jtnmc.v39i01.266384","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"บทนำ ความรุนแรงที่กระทำโดยผู้ป่วยและญาติต่อบุคลากรทางการแพทย์เป็นปัญหาที่เพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง การศึกษาการรับรู้และความคาดหวังของบุคลากรทางการแพทย์ต่อการจัดการของสถานพยาบาล มีความสำคัญต่อการบริหารจัดการเพื่อป้องกันและแก้ไขสถานการณ์ความรุนแรงดังกล่าว \nวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการรับรู้และความคาดหวังของบุคลากรทางการแพทย์ในหน่วยฉุกเฉิน และหน่วยวิกฤตต่อนโยบายการจัดการโรงพยาบาลสำหรับความรุนแรง ในสถานพยาบาลทั้งระดับหน่วย และระดับโรงพยาบาล \nการออกแบบการวิจัย การวิจัยเชิงพรรณนา โดยใช้กรอบแนวคิดวิธีการจัดการความรุนแรงในสถานพยาบาล \nวิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรทางการแพทย์ที่ปฏิบัติงานในหน่วยฉุกเฉินและ หน่วยวิกฤตของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในจังหวัดพิษณุโลก จำนวน 111 ราย ได้แก่ พยาบาล วิชาชีพ 79 ราย บุคลากรทางการแพทย์อื่น 32 ราย เลือกตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์คัดเข้า กำหนดขนาดตัวอย่างตามหลักการของ Yamane เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถาม การรับรู้และความคาดหวังต่อการจัดการความรุนแรงของหน่วยงานและโรงพยาบาล และคำถามปลายเปิด เกี่ยวกับข้อเสนอแนะ ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาของเครื่องมือวิจัยโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์เท่ากับ .96 ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของเครื่องมือ ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคของแบบสอบถามการรับรู้และความคาดหวังต่อการจัดการความรุนแรง ในสถานพยาบาลเท่ากับ .98 และ .97 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา \nผลการศึกษา กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 82.9) และเป็นพยาบาลวิชาชีพ (ร้อยละ 71.2) มีการรับรู้ต่อการจัดการความรุนแรงของโรงพยาบาลทั้งในระดับหน่วยงานและในระดับโรงพยาบาล อยู่ในระดับปานกลาง (M=3.04, SD=0.71; M=2.80, SD=0.83 ตามลำดับ) และมีความคาดหวัง ต่อการจัดการความรุนแรงทั้งในระดับหน่วยงานและระดับโรงพยาบาลอยู่ในระดับสูง (M=4.42, SD=0.75 และ M=4.42, SD=0.86 ตามลำดับ) การรับรู้ต่อการจัดการความรุนแรงของกลุ่มตัวอย่างในหน่วยฉุกเฉิน อยู่ในระดับน้อยถึงปานกลาง ในขณะที่หน่วยวิกฤตอยู่ในระดับปานกลาง ผลการศึกษาจากคำถามปลายเปิด พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีข้อเสนอแนะให้มีมาตรการและแนวทางการจัดการความรุนแรงที่ชัดเจน \nข้อเสนอแนะ สถานพยาบาลควรกำหนดมาตรการและแนวทางปฏิบัติในการจัดการความรุนแรง ในสถานพยาบาลอย่างชัดเจนโดยเฉพาะที่หน่วยฉุกเฉิน เพื่อให้สอดคล้องกับความคาดหวังของบุคลากร ทางการแพทย์","PeriodicalId":507625,"journal":{"name":"The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council","volume":null,"pages":null},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-03-26","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60099/jtnmc.v39i01.266384","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

Abstract

บทนำ ความรุนแรงที่กระทำโดยผู้ป่วยและญาติต่อบุคลากรทางการแพทย์เป็นปัญหาที่เพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง การศึกษาการรับรู้และความคาดหวังของบุคลากรทางการแพทย์ต่อการจัดการของสถานพยาบาล มีความสำคัญต่อการบริหารจัดการเพื่อป้องกันและแก้ไขสถานการณ์ความรุนแรงดังกล่าว  วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการรับรู้และความคาดหวังของบุคลากรทางการแพทย์ในหน่วยฉุกเฉิน และหน่วยวิกฤตต่อนโยบายการจัดการโรงพยาบาลสำหรับความรุนแรง ในสถานพยาบาลทั้งระดับหน่วย และระดับโรงพยาบาล  การออกแบบการวิจัย การวิจัยเชิงพรรณนา โดยใช้กรอบแนวคิดวิธีการจัดการความรุนแรงในสถานพยาบาล  วิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรทางการแพทย์ที่ปฏิบัติงานในหน่วยฉุกเฉินและ หน่วยวิกฤตของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในจังหวัดพิษณุโลก จำนวน 111 ราย ได้แก่ พยาบาล วิชาชีพ 79 ราย บุคลากรทางการแพทย์อื่น 32 ราย เลือกตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์คัดเข้า กำหนดขนาดตัวอย่างตามหลักการของ Yamane เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถาม การรับรู้และความคาดหวังต่อการจัดการความรุนแรงของหน่วยงานและโรงพยาบาล และคำถามปลายเปิด เกี่ยวกับข้อเสนอแนะ ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาของเครื่องมือวิจัยโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์เท่ากับ .96 ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของเครื่องมือ ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคของแบบสอบถามการรับรู้และความคาดหวังต่อการจัดการความรุนแรง ในสถานพยาบาลเท่ากับ .98 และ .97 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา  ผลการศึกษา กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 82.9) และเป็นพยาบาลวิชาชีพ (ร้อยละ 71.2) มีการรับรู้ต่อการจัดการความรุนแรงของโรงพยาบาลทั้งในระดับหน่วยงานและในระดับโรงพยาบาล อยู่ในระดับปานกลาง (M=3.04, SD=0.71; M=2.80, SD=0.83 ตามลำดับ) และมีความคาดหวัง ต่อการจัดการความรุนแรงทั้งในระดับหน่วยงานและระดับโรงพยาบาลอยู่ในระดับสูง (M=4.42, SD=0.75 และ M=4.42, SD=0.86 ตามลำดับ) การรับรู้ต่อการจัดการความรุนแรงของกลุ่มตัวอย่างในหน่วยฉุกเฉิน อยู่ในระดับน้อยถึงปานกลาง ในขณะที่หน่วยวิกฤตอยู่ในระดับปานกลาง ผลการศึกษาจากคำถามปลายเปิด พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีข้อเสนอแนะให้มีมาตรการและแนวทางการจัดการความรุนแรงที่ชัดเจน  ข้อเสนอแนะ สถานพยาบาลควรกำหนดมาตรการและแนวทางปฏิบัติในการจัดการความรุนแรง ในสถานพยาบาลอย่างชัดเจนโดยเฉพาะที่หน่วยฉุกเฉิน เพื่อให้สอดคล้องกับความคาดหวังของบุคลากร ทางการแพทย์
查看原文
分享 分享
微信好友 朋友圈 QQ好友 复制链接
本刊更多论文
การรับรู้และความคาดหวังต่อการจัดการความรุนแรงในสถานพยาบาลที่ผู้รับบริการกระทำต่อบุคลากรทางการแพทย์ที่หน่วยฉุกเฉินและหน่วยวิกฤต
มติลาควารุนแรงที่กระทำโดยผู้ป่วยและญาติต่อบุคลากรทางการแพทย์เปน็ปัญหาที่เพิ่มข้น อย่างต่อเนื่องการศึกษาการรับรูและควาคมาหดวังของบุคลากรทางการแพทยยตอการจัดการของสถานพยาบาลมีความสำคัญต่อการบริหารจัดการเพื่อปอ้งกันและแก้ถานการณ์ความรุนแรงดังกล่าววัตถุประสงค์ในสถานพยาบาลทั้งระดับหน่วย และระดับโรงพยาบาล การอกแบการวิจัย การวิจัยเชิงพรรณนา โดยใช้กรอบแนวคิดวิธีการจัดการความรุนแรงในสถานพยาบาล วิธีดำเนินการวิจัยกลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรทางการแพทย์ที่ปฏิบัติงานในหน่วยฉุเกฉินและ หน่วยวิกฤตของโรงพยาบาหมาวทยาลัยแหน่งหนึ่งในจังหวัดพิษณุลา จนำวน111 ราย เลือกตัวอย่างแบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์คัดเข้า กำหนดขนาดตัวอย่างตามหลัการของ Yamaneเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้บแบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถาม การรับรู้และความคาดหวังต่อการจัดการวมรุนแรงของหนวยงานและโรงพยาบาล และคำถามปลายเปิดเกี่ยวกับข้อเสนอแนะ ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาของเครืองมือวจิัยโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถงุประสงค์เท่ากับ .96 ตรวจสอบความน่าเช่ือถือของเครื่องมือ ↪Lo_ด้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคของแบบสอบถามการรับรู้และความคาดหวังต่อการจัดการวามรุนแรง ในสถานพยาบาลเท่ากับ .98 และ .97 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการศ↩ึกษา กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญง (ร้อยละ 82.9) และเป็นพยาบาลวิชาชีพ (ร้อยละ 71.2) มีการรับรู้ต่อการจัดการความรุนแรงของโรงยพาบาลทั้งในระดับาหน่วยงนและในระดับโรงพยาบาลอยู่ในระดับาปนกาง (m=3.04, sd=0.71; m=2.80, sd=0.83 ตามลำดับ) และมีความคาดหวัง ต่อการเจัดการความรุนแรงทั้งในระดับหน่วยงานและดับโรงพยาบาลอยู่ในระดับสูง (m=4.42, sd=0.75 และ m=4.42, sd=0.86 ตามลำดับ) การรับรูต่อการจัดการความรุนแรงขงกอลุ่มตัวอย่างในหน่วยฉุกเฉิน อยู่ในระดับน้อยถึงปานกลาง ในขณะที่หน่วยวิกฤตอยู่ในระดับปานกลางผลการศึกษาจากคำถามปลายเปด พบ่า กลุ่มตัวอย่างมี้อเสนอแนะให้มีมาตรการและแนวที่ชัดเจนข้อเสนอแนะ สถานพยาบาลควรกำหนดมาตรการและแนวทางปฏิบัติในการจัดการความรุนแรง ในสถานพยาบาลอย่างชัดเจนโดยเฉพาะที่หน่วยฉุกเฉิน เพื่อให้สอดคล้องกับความคาดหวังของบุคลากร ทางการแพทย์
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
求助全文
约1分钟内获得全文 去求助
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
期刊最新文献
ปัจจัยทำนายการเกิดภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจากสารทึบรังสีในผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ร่วมกับการฉีดสารทึบรังสี การใช้แนวทางการจัดการรายกรณีที่นำโดยพยาบาลในการดูแลเด็กเปราะบางและครอบครัว ผลลัพธ์ทางคลินิกของรูปแบบโปรแกรมที่นำโดยพยาบาลในการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเครียดของบุคลากรทางการพยาบาลที่หน่วยฉุกเฉินในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร การรับรู้และความคาดหวังต่อการจัดการความรุนแรงในสถานพยาบาลที่ผู้รับบริการกระทำต่อบุคลากรทางการแพทย์ที่หน่วยฉุกเฉินและหน่วยวิกฤต
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
现在去查看 取消
×
提示
确定
0
微信
客服QQ
Book学术公众号 扫码关注我们
反馈
×
意见反馈
请填写您的意见或建议
请填写您的手机或邮箱
已复制链接
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
×
扫码分享
扫码分享
Book学术官方微信
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术
文献互助 智能选刊 最新文献 互助须知 联系我们:info@booksci.cn
Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。
Copyright © 2023 Book学术 All rights reserved.
ghs 京公网安备 11010802042870号 京ICP备2023020795号-1