ผลลัพธ์ทางคลินิกของรูปแบบโปรแกรมที่นำโดยพยาบาลในการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ

ไวยพร พรมวงค์, จรูญศรี มีหนองหว้า
{"title":"ผลลัพธ์ทางคลินิกของรูปแบบโปรแกรมที่นำโดยพยาบาลในการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ","authors":"ไวยพร พรมวงค์, จรูญศรี มีหนองหว้า","doi":"10.60099/jtnmc.v39i01.265987","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"บทนำ ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวมีการเจ็บป่วยที่ซับซ้อน ต้องการการดูแลรักษาระยะยาว และมีความเสี่ยงต่อการเข้ารักษาในโรงพยาบาล จึงต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจเพื่อให้มีผลลัพธ์ทางคลินิกที่ดี อันจะนำไปสู่การลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิต \nวัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษารูปแบบของโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจที่นำโดยพยาบาล ต่อผลลัพธ์ทางคลินิกในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว \nการออกแบบการวิจัย การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ \nวิธีการดำเนินการวิจัย การศึกษาที่นำมาทบทวนเป็นรายงานวิจัยเชิงทดลองที่มีกลุ่มควบคุม ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่ได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้รับการตีพิมพ์ระหว่าง พ.ศ. 2557-2566 ฐานข้อมูล ที่สืบค้น ได้แก่ ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ ThaiJO, PubMed, CINAHL, Clinical Key for Nursing, ScienceDirect และ ProQuest Nursing ประเมินคุณภาพงานวิจัยและสกัดข้อมูลงานวิจัยโดยใช้แบบประเมินที่พัฒนา โดยสถาบันโจนนาบริกส์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสรุปเชิงเนื้อหา \nผลการศึกษา พบรายงานวิจัยเชิงทดลองที่มีกลุ่มควบคุมจำนวน 7 เรื่องที่ผ่านเกณฑ์คัดเข้า แนวคิด และทฤษฎีที่นำมาประยุกต์ใช้ในการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจประกอบด้วย การสัมภาษณ์เพื่อเสริมสร้าง แรงจูงใจ การเสริมสร้างพลังอำนาจ การรับรู้สมรรถนะแห่งตน และทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน รูปแบบ การจัดกระทำ ส่วนใหญ่ใช้การออกกำลังกายเพียงอย่างเดียว ส่วนผลของรูปแบบโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพ หัวใจที่นำโดยพยาบาลแสดงให้เห็นถึงผลลัพธ์ทางคลินิกที่ดีจากผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ความสามารถ ในการทำหน้าที่ของร่างกาย และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ยกเว้นระดับ B-type natriuretic peptide (BNP) อย่างไรก็ตาม ทั้งหมดเป็นเพียงข้อสรุปจากงานวิจัยเพียง 1- 3 เรื่องในแต่ละผลลัพธ์ทางคลินิกเท่านั้น การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบครั้งนี้สามารถนำเสนอรูปแบบแต่ยังไม่สามารถยืนยันประสิทธิผล ของโปรแกรมแต่ละรูปแบบได้ชัดเจน เนื่องจากการศึกษาเกี่ยวกับโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจที่นำโดยพยาบาลมีจำนวนจำกัด \nข้อเสนอแนะ ควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับประสิทธิผลของโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ ที่นำโดยพยาบาลเพิ่มมากขึ้น และพยาบาลควรให้ความรู้ร่วมกับการสร้างแรงจูงใจในการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจที่บ้าน และมีการติดตามผู้ป่วยผ่านทางโทรศัพท์","PeriodicalId":507625,"journal":{"name":"The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council","volume":null,"pages":null},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-03-26","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60099/jtnmc.v39i01.265987","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

Abstract

บทนำ ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวมีการเจ็บป่วยที่ซับซ้อน ต้องการการดูแลรักษาระยะยาว และมีความเสี่ยงต่อการเข้ารักษาในโรงพยาบาล จึงต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจเพื่อให้มีผลลัพธ์ทางคลินิกที่ดี อันจะนำไปสู่การลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิต  วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษารูปแบบของโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจที่นำโดยพยาบาล ต่อผลลัพธ์ทางคลินิกในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว  การออกแบบการวิจัย การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ  วิธีการดำเนินการวิจัย การศึกษาที่นำมาทบทวนเป็นรายงานวิจัยเชิงทดลองที่มีกลุ่มควบคุม ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่ได้รับการตีพิมพ์และไม่ได้รับการตีพิมพ์ระหว่าง พ.ศ. 2557-2566 ฐานข้อมูล ที่สืบค้น ได้แก่ ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ ThaiJO, PubMed, CINAHL, Clinical Key for Nursing, ScienceDirect และ ProQuest Nursing ประเมินคุณภาพงานวิจัยและสกัดข้อมูลงานวิจัยโดยใช้แบบประเมินที่พัฒนา โดยสถาบันโจนนาบริกส์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสรุปเชิงเนื้อหา  ผลการศึกษา พบรายงานวิจัยเชิงทดลองที่มีกลุ่มควบคุมจำนวน 7 เรื่องที่ผ่านเกณฑ์คัดเข้า แนวคิด และทฤษฎีที่นำมาประยุกต์ใช้ในการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจประกอบด้วย การสัมภาษณ์เพื่อเสริมสร้าง แรงจูงใจ การเสริมสร้างพลังอำนาจ การรับรู้สมรรถนะแห่งตน และทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน รูปแบบ การจัดกระทำ ส่วนใหญ่ใช้การออกกำลังกายเพียงอย่างเดียว ส่วนผลของรูปแบบโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพ หัวใจที่นำโดยพยาบาลแสดงให้เห็นถึงผลลัพธ์ทางคลินิกที่ดีจากผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ความสามารถ ในการทำหน้าที่ของร่างกาย และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ยกเว้นระดับ B-type natriuretic peptide (BNP) อย่างไรก็ตาม ทั้งหมดเป็นเพียงข้อสรุปจากงานวิจัยเพียง 1- 3 เรื่องในแต่ละผลลัพธ์ทางคลินิกเท่านั้น การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบครั้งนี้สามารถนำเสนอรูปแบบแต่ยังไม่สามารถยืนยันประสิทธิผล ของโปรแกรมแต่ละรูปแบบได้ชัดเจน เนื่องจากการศึกษาเกี่ยวกับโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจที่นำโดยพยาบาลมีจำนวนจำกัด  ข้อเสนอแนะ ควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับประสิทธิผลของโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ ที่นำโดยพยาบาลเพิ่มมากขึ้น และพยาบาลควรให้ความรู้ร่วมกับการสร้างแรงจูงใจในการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจที่บ้าน และมีการติดตามผู้ป่วยผ่านทางโทรศัพท์
查看原文
分享 分享
微信好友 朋友圈 QQ好友 复制链接
本刊更多论文
ผลลัพธ์ทางคลินิกของรูปแบบโปรแกรมที่นำโดยพยาบาลในการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ
ผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหมีการเจ็บป่วยที่ซับซ้อน ต้องกราการดูแลรักษาระยะยาวและมีความเสี่ยงต่อการเข้ารักษาในโรงพยาบาลจึงต้องได้รับการฟืนฟูสมรรถภาพหัวใจเพ่ือให้มีผลัพธ์ทางคลินิกที่ดี อันจะนำไปสู่การลดความเสี่ยงต่อการเสียีวิต วัตถุประสงค์การวิจัยเพือศึกษารูปแบบของโปรแกรมการฟืนฟูสมรรถภาพหัวใจที่นำโดยพยาบาลต่อผลัพธ์ทางคลินิกในผู้ป่วยภาวะหัวใจ้มเหลว การอกแบบารวจัย การทบทวนวรณกรรมอย่างเป็นระบบวิธีการดำเนินารวิจัย การศึกษาที่นำมาทบทวนเป็นรายงานวิจัยเชิงทดองที่มีกลุ่มควบคุม ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่ได้รับการรีพมพ์และไม่ได้รับารตีพมพ์ระหาง พ.ศ.2557-2566 ฐานข้อมูล ที่สืบค้น ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ ThaiJO, PubMed, CINAHL, Clinical Key for Nursing、ScienceDirect และ ProQuest Nursing ประเมินคุณภาพงานวิจัยและสักดข้อมูลงานวิจัยโดยใช้แบบประเมินที่พัฒนา โดยสถาบันโจนนาบริกส์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสรุปเชิงเืน้อหา ผกลารศึกษาพบรายงานวิจัยเชิงทดลองที่มีกลุ่มควบคุมจำนวน 7 เรื่องที่ผ่านเกณฑ์คัดเข้า แนวคิด และทฤษฎีที่นำมาประยุกต์ใช้ในการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจประกอบด้วย การสัมภาษณ์เพื่อเสริมสร้าง แรงจูงใจการเสริมสร้างพลังอำนาจ การรับรู้สมรรถนะแห่งตน และทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน รูปแบบ การจัดกระทำ ส่วนใหญ่ใช้การออกกำลังกายเพียงอย่างเดียว ส่วนผลของรูปแบบโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจที่นำโดยพยาบารผืนผูสมรถภาย หัวใจที่นำโดยพยาบาจที่น้องปฏิบัติการความสามารถ เE43↩นการทำหน้าที่น้าของร่างกาย และคุณภาพชีวิตองผู้ป่วย เว้นระดับ b-型利钠肽 (BNP) อย่างไรก็ตาม ทั้งหมดเป็นเพียงข้อสรุปาจกงานวิจัยเพียง 1-3 เรื่องในแต่ละผลัพธ์ทางคลินิกเท่านั้น การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบครั้งนี้สามารถนำเสนรอูแปบบแต่ยังไม่สามารถยืนยันประสิทธิผลของโปรแกรมแต่ะรูปแบได้ชัดเจน เนื่องจาการศึกษาเกี่ยวกับโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจที่ำนโดยพาบารมจีำนวนจำกัดข้อเสนอแนะ ควรมีการศึกษาวจัยเเกี่ยวกับประทสิธิผลของโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจ ที่นำโดยพยาบาลเพิ่มาขอ้นและพยฟื้นฟสมรรถภาพหัวใจที่บ้าน และีการติตดามผู้ป่วยผ่านทางโทรศัทพ์
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
求助全文
约1分钟内获得全文 去求助
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
期刊最新文献
ปัจจัยทำนายการเกิดภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจากสารทึบรังสีในผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ร่วมกับการฉีดสารทึบรังสี การใช้แนวทางการจัดการรายกรณีที่นำโดยพยาบาลในการดูแลเด็กเปราะบางและครอบครัว ผลลัพธ์ทางคลินิกของรูปแบบโปรแกรมที่นำโดยพยาบาลในการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเครียดของบุคลากรทางการพยาบาลที่หน่วยฉุกเฉินในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร การรับรู้และความคาดหวังต่อการจัดการความรุนแรงในสถานพยาบาลที่ผู้รับบริการกระทำต่อบุคลากรทางการแพทย์ที่หน่วยฉุกเฉินและหน่วยวิกฤต
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
现在去查看 取消
×
提示
确定
0
微信
客服QQ
Book学术公众号 扫码关注我们
反馈
×
意见反馈
请填写您的意见或建议
请填写您的手机或邮箱
已复制链接
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
×
扫码分享
扫码分享
Book学术官方微信
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术
文献互助 智能选刊 最新文献 互助须知 联系我们:info@booksci.cn
Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。
Copyright © 2023 Book学术 All rights reserved.
ghs 京公网安备 11010802042870号 京ICP备2023020795号-1