{"title":"ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองต่อพฤติกรรมป้องกันการกำเริบของโรคในเด็กวัยรุ่นโรคเอสแอลอี","authors":"ปาณิสรา กิจเจริญรุ่งโรจน์, ชยนุช ไชยรัตนะ, นันทกา สวัสดิพานิช, ธวัชชัย ดีขจรเดช","doi":"10.60099/jtnmc.v39i01.266616","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"บทนำ โรคเอสแอลอี เกิดจากความแปรปรวนของระบบภูมิต้านทานที่มีออโตแอนติบอดีเกิดขึ้น ทำให้มีการทำลายเนื้อเยื่อในร่างกาย พบได้มากในเด็กวัยรุ่น หากเด็กวัยรุ่นโรคเอสแอลอีมีการจัดการตนเองอย่างถูกต้อง เหมาะสมและต่อเนื่อง จะช่วยป้องกันการกำเริบของโรค และลดระยะเวลาในการนอนโรงพยาบาลได้ \nวัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการตนเองต่อพฤติกรรมป้องกันการกำเริบของโรคในเด็กวัยรุ่นโรคเอสแอลอี\nการออกแบบการวิจัย การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง \nวิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กวัยรุ่นโรคเอสแอลอีอายุ 10 – 18 ปี ที่มารับบริการที่คลินิกกุมารเวชกรรม โรคไตและโรคข้อในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิขั้นสูงแห่งหนึ่งในจังหวัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 40 คน คัดเลือก กลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์คัดเข้า จัดเข้ากลุ่มแบบเจาะจงแบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 20 คนได้รับการพยาบาล ตามปกติ และกลุ่มทดลอง 20 คน ได้รับการพยาบาลตามปกติร่วมกับโปรแกรมการจัดการตนเอง ใช้แนวคิด การจัดการตนเองของเครียร์เป็นกรอบแนวคิดการวิจัย ประกอบด้วย การให้ความรู้ ฝึกทักษะการจัดการตนเอง และเข้าสู่กระบวนการจัดการตนเอง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความรู้เด็กโรคเอสแอลอี และแบบสอบถามพฤติกรรมป้องกันการกำเริบของโรค ซึ่งทดสอบ ความตรงตามเนื้อหาได้ค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ .88 และ .95 ตามลำดับ และทดสอบความเที่ยงของแบบสอบถามความรู้เด็กโรคเอสแอลอีได้ค่าคูเดอร์-ริชาร์ดสัน 20 เท่ากับ .74 และแบบสอบถามพฤติกรรมป้องกัน การกำเริบของโรคได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคเท่ากับ .73 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย ไคสแควร์ การทดสอบทีคู่ และการทดสอบทีอิสระ กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 \nผลการวิจัย คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมป้องกันการกำเริบของโรคในกลุ่มควบคุมหลังการทดลองสูงกว่า ก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = -2.656, p = .016) ภายหลังได้รับโปรแกรม คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรม ป้องกันการกำเริบของโรคในกลุ่มทดลอง (M = 2.334, SD = 0.296) สูงกว่าก่อนการทดลอง (M=2.072, SD = 0.475) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = -3.285, p = .002) ส่วนคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมป้องกันการกำเริบของโรค ระหว่างกลุ่มควบคุม (M = 2.188, SD = 0.326) และกลุ่มทดลอง (M = 2.334, SD = 0.296) ไม่แตกต่างกัน อย่างนัยสำคัญทางสถิติ (t = -1.481, p = .074) แสดงว่าโปรแกรมการจัดการตัวเองยังไม่มีผลช่วยปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการป้องกันการกำเริบของโรคในเด็กวัยรุ่นโรคเอสแอลอีอย่างมีประสิทธิภาพ \nข้อเสนอแนะ แม้โปรแกรมการจัดการตนเองไม่มีผลต่อพฤติกรรมป้องกันการกำเริบของโรค แต่มีแนวโน้ม ว่าพฤติกรรมป้องกันการกำเริบของโรคดีขึ้น ดังนั้นพยาบาลควรพัฒนาโปรแกรมให้มีความเฉพาะเจาะจง เพื่อให้เด็กวัยรุ่นโรคเอสแอลอีเกิดการจัดการตนเองอย่างถูกต้องและเหมาะสม ทั้งด้านการรับประทานอาหาร ด้านการรับประทานยา และด้านการปฏิบัติกิจกรรมทั่วไป","PeriodicalId":507625,"journal":{"name":"The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council","volume":null,"pages":null},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-03-26","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60099/jtnmc.v39i01.266616","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองต่อพฤติกรรมป้องกันการกำเริบของโรคในเด็กวัยรุ่นโรคเอสแอลอี
มติลานทานที่มีออมติลานทานที่มีออมติลานทานที่มีออมติลานทานที่มีออมติลานทานที่มีออมติลานททำให้มีการทำลายเนือเยื่อใหางกาย พบได้มากในเด็กวัยรุ่นเหากเด็กวัยรุ่นโรคเอสแอลีมีการจัดการตนเองย่องาถูกต้อง เหมาะสมและต่อเนือง จะช่วยปอ้งกันการกำเริบของโรค และดระยะเวลาในการนอนโรงยพาบาลได้วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาผลขงโปรแรมการจัดการตนเองต่อพฤติกรรมปองกันารกำเริบของโรคใเด็ักวยรุ่นโรคเออสอีการออกแบารวจั10 - 18 ปี ที่มารับริกรที่มารับริกรที่มารัน เด็กวัยรุ่น เด็กวัยรุ่น เรอสแอลีอยุ 10 - 18 ปี ที่มารับริกรที่มารัน เด็กวัยรุ่น เรอสแอลีอยุ 10 - 18 ปี ที่มารับริชรมโรคไตและรคข้อในโรงพยาบาลระดับตติยภูมขั้นสงแห่งนึ่งในจังหวัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 40 คน คัดเลือก กลุ่มตัวอย่าง แบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์คัดเข้า จัดเข้ากลุ่มแบบเจาะจงแบ่งเป็นกลุ่มควบคุม20 คน ได้รับการพยาบาล ตามกปติ และกลุ่มทดลอง 20 คน ได้รับการพยาบาลตามปติ่รวมกับโปรแกรมการจักดารนเอง ใช้แนวคิด การจัดการตนเองของเครียร์เปน็กรอบแนวคิดการวิจัยประกอบด้วย การให้ความรู้ ฝ ึกทักษะการจัดการนตเอง และเข้าสู่กระบวนการจัดการตนเอง เครื่องมืที่ใช้ในการเ็กบรวบรมข้อมูล ได้แก่ แบบบันึทกข้อมลูส่วนบุคลแบสอบถามความรู้เด็กโรคเอสแอลี และแบสอบถามพฤติกรรมป้องกันารกำเริบของโรค ซึ่งทดสอบ ความตรงตามเออือหาได้ค่าดัชนีความตรเชิงเนีความตรเท่าับ .88 และ .95 ตามลำดับ และทดสอบความเที่ยงของแบบสอบถามความรู้เด็กโรคเอสแอลอีได้ค่าคูเดอร์-ริชาร์ดสัน 20 เท่ากับ .74 และแบบสอบถามพฤติกรรมป้องกัน การกำเริบของโรคได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคเท่ากับ .73 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรยาย ไคสแควร์ การทดสอบทีคู่ และการทดสอบทีอิสระ กำหนดระดับันยสำคัญทางสถิติที่ .05 ผลการวิจัย คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมป้งอกันการกำเริบของโรคในกลุ่มควบคุมหลังการทดลองสูงกว่า ก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = -2.656, p = .016) ภายหลังไดร้ับโปรแกรม คะแนนเฉลี่ยพฤติกรม ป้องกันการกำเริบของโรคในกลุ่มทดลอง (M = 2.334, SD = 0.296) สูงกว่ากอ่นการทดลอง (M=2.072, SD = 0.475) อย่างมีนัยสคำัญทางสถิติ (t = -3.285, p = .002) ส่วนคะแนเฉลี่ยพฤติกรรม้ปองกันการำกเริบของโรค ระหว่างกลุ่มควบคุม (M = 2.188, SD = 0.326) และกลุ่มทดลอง (M = 2.334, SD = 0.296) ไม่แตกลางกัน อย่างนัยสำคัญทางสถติิ (t = -1.481, p = .074) แสดงว่าโปรแกรมากรจัดการตัวเองยังไม่มีผลช่วยปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการป้องกันการกรำเริบของโรคในเด็กวัยรุ่นโรคเอสอแลอีย่างมประสิทธิภาพข้อเสนอแนะแม้โปรแกรมการจัดการตนเองไม่มีผลต่อพฤติกรรมป้องกันการกำเริบของโรค แต่มีแนวโน้มว่าพฤติกรรมป้องกันการกำเรริบขงโรคีดขึ้น ดังนั้นพยาบาลควรพัฒนาโปรแกรรมให้มีความเฉพาะเจาะจงเพือให้เด็กวัยรุ่นโรคเอสแอลีเกิดการจัดการนเองยางถูกต้องและเหมาะสม ทั้งด้านการรับประทานอาหารรับประทานยา และด้านการปฏิบัติกจกรมทั่วไป
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。