ประสบการณ์ความจำบกพร่องในผู้สูงอายุ

วิวินท์ ปุรณะ
{"title":"ประสบการณ์ความจำบกพร่องในผู้สูงอายุ","authors":"วิวินท์ ปุรณะ","doi":"10.60099/jtnmc.v39i01.265864","DOIUrl":null,"url":null,"abstract":"บทนำ ปัญหาความจำบกพร่องเป็นหนึ่งในปัญหาของผู้สูงอายุที่อาจเป็นได้ทั้งความเสื่อม ตามวัยปกติและจากการมีภาวะสมองเสื่อมก่อนเวลาเนื่องจากเมื่อมีอายุมากขึ้นร่างกายจะมีความเสื่อมถอยที่เกิดการเปลี่ยนแปลงจากพยาธิสภาพที่มีการตายของเซลล์ประสาทในสมอง หลายบริเวณส่งผลให้ผู้สูงอายุเกิดการถดถอยของความจำ ขาดความมั่นใจในตนเองเกิดความเครียด ความกลัว ต้องพึ่งพาผู้อื่นและนำไปสู่การขาดแรงจูงใจในการดำเนินชีวิตประจำวันและขาดสังคมของผู้สูงอายุ \nวัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาประสบการณ์ความจำบกพร่องในชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุ \nการออกแบบการวิจัย การวิจัยเชิงคุณภาพแบบพรรณนา \nวิธีดำเนินการวิจัย ผู้ให้ข้อมูลคือ ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในพื้นที่แห่งหนึ่งของจังหวัด ทางภาคกลาง เลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 15 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกตามเวลาที่ผู้ให้ข้อมูลสะดวกเก็บข้อมูลตั้งแต่เดือน พฤษภาคม-ตุลาคม พ.ศ. 2566 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหาตามแนวคิดของ Sandelowski มีการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูล การยืนยันความถูกต้องของข้อมูลและการนำผลการวิจัยไปใช้อ้างอิง \nผลการวิจัย ประสบการณ์ความจำบกพร่องในชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุสรุปได้เป็น 3 ประเด็นหลัก ดังนี้ 1) อาการหลงลืม ประกอบด้วย การรับรู้ว่ามีอาการหลงลืม กิจวัตรประจำวันที่หลงลืม อาการหลงลืม ที่เกิดภายนอกบ้าน 2) อารมณ์เปลี่ยนแปลง ได้แก่ ผลของการหลงลืม ประกอบด้วย อารมณ์หงุดหงิด ความกังวลและกลัว และ 3) การจัดการเมื่อหลงลืม ประกอบด้วย การเริ่มต้นใหม่ การช่วยเหลือโดยญาติ การกำหนดจุดวางของให้ชัดเจน การทำกิจกรรม \nข้อเสนอแนะ ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า อาการหลงลืม อารมณ์เปลี่ยนแปลง และการจัดการ เมื่อหลงลืมเป็นประสบการณ์สำคัญของผู้สูงอายุ ทีมสุขภาพสามารถนำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนร่วมกับครอบครัวของผู้สูงอายุเพื่อการคัดกรอง ติดตามและจัดกิจกรรมกระตุ้นความจำเพื่อชะลอภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุ","PeriodicalId":507625,"journal":{"name":"The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council","volume":null,"pages":null},"PeriodicalIF":0.0000,"publicationDate":"2024-03-26","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":"0","resultStr":"{\"title\":\"ประสบการณ์ความจำบกพร่องในผู้สูงอายุ\",\"authors\":\"วิวินท์ ปุรณะ\",\"doi\":\"10.60099/jtnmc.v39i01.265864\",\"DOIUrl\":null,\"url\":null,\"abstract\":\"บทนำ ปัญหาความจำบกพร่องเป็นหนึ่งในปัญหาของผู้สูงอายุที่อาจเป็นได้ทั้งความเสื่อม ตามวัยปกติและจากการมีภาวะสมองเสื่อมก่อนเวลาเนื่องจากเมื่อมีอายุมากขึ้นร่างกายจะมีความเสื่อมถอยที่เกิดการเปลี่ยนแปลงจากพยาธิสภาพที่มีการตายของเซลล์ประสาทในสมอง หลายบริเวณส่งผลให้ผู้สูงอายุเกิดการถดถอยของความจำ ขาดความมั่นใจในตนเองเกิดความเครียด ความกลัว ต้องพึ่งพาผู้อื่นและนำไปสู่การขาดแรงจูงใจในการดำเนินชีวิตประจำวันและขาดสังคมของผู้สูงอายุ \\nวัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาประสบการณ์ความจำบกพร่องในชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุ \\nการออกแบบการวิจัย การวิจัยเชิงคุณภาพแบบพรรณนา \\nวิธีดำเนินการวิจัย ผู้ให้ข้อมูลคือ ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในพื้นที่แห่งหนึ่งของจังหวัด ทางภาคกลาง เลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 15 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกตามเวลาที่ผู้ให้ข้อมูลสะดวกเก็บข้อมูลตั้งแต่เดือน พฤษภาคม-ตุลาคม พ.ศ. 2566 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหาตามแนวคิดของ Sandelowski มีการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูล การยืนยันความถูกต้องของข้อมูลและการนำผลการวิจัยไปใช้อ้างอิง \\nผลการวิจัย ประสบการณ์ความจำบกพร่องในชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุสรุปได้เป็น 3 ประเด็นหลัก ดังนี้ 1) อาการหลงลืม ประกอบด้วย การรับรู้ว่ามีอาการหลงลืม กิจวัตรประจำวันที่หลงลืม อาการหลงลืม ที่เกิดภายนอกบ้าน 2) อารมณ์เปลี่ยนแปลง ได้แก่ ผลของการหลงลืม ประกอบด้วย อารมณ์หงุดหงิด ความกังวลและกลัว และ 3) การจัดการเมื่อหลงลืม ประกอบด้วย การเริ่มต้นใหม่ การช่วยเหลือโดยญาติ การกำหนดจุดวางของให้ชัดเจน การทำกิจกรรม \\nข้อเสนอแนะ ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า อาการหลงลืม อารมณ์เปลี่ยนแปลง และการจัดการ เมื่อหลงลืมเป็นประสบการณ์สำคัญของผู้สูงอายุ ทีมสุขภาพสามารถนำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนร่วมกับครอบครัวของผู้สูงอายุเพื่อการคัดกรอง ติดตามและจัดกิจกรรมกระตุ้นความจำเพื่อชะลอภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุ\",\"PeriodicalId\":507625,\"journal\":{\"name\":\"The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council\",\"volume\":null,\"pages\":null},\"PeriodicalIF\":0.0000,\"publicationDate\":\"2024-03-26\",\"publicationTypes\":\"Journal Article\",\"fieldsOfStudy\":null,\"isOpenAccess\":false,\"openAccessPdf\":\"\",\"citationCount\":\"0\",\"resultStr\":null,\"platform\":\"Semanticscholar\",\"paperid\":null,\"PeriodicalName\":\"The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council\",\"FirstCategoryId\":\"1085\",\"ListUrlMain\":\"https://doi.org/10.60099/jtnmc.v39i01.265864\",\"RegionNum\":0,\"RegionCategory\":null,\"ArticlePicture\":[],\"TitleCN\":null,\"AbstractTextCN\":null,\"PMCID\":null,\"EPubDate\":\"\",\"PubModel\":\"\",\"JCR\":\"\",\"JCRName\":\"\",\"Score\":null,\"Total\":0}","platform":"Semanticscholar","paperid":null,"PeriodicalName":"The Journal of Thailand Nursing and Midwifery Council","FirstCategoryId":"1085","ListUrlMain":"https://doi.org/10.60099/jtnmc.v39i01.265864","RegionNum":0,"RegionCategory":null,"ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":null,"EPubDate":"","PubModel":"","JCR":"","JCRName":"","Score":null,"Total":0}
引用次数: 0

摘要

มติลาลาลาลาลาจำบกพร่องเป็นหนึ่งในปัญหาของผู้สูงอายุที่อาจเป็นได้ทั้งความเสือมตามวัยปกติและจาการมีภาวะสมองเสือมก่อนเวลาเมออืหลายบริเวณส่งผลให้ผู้สูงอายุเกิดการถดถอยของความจำ ขาดความมั่นใจในตนเองเกิดความเครียด ความกลัว ต้องพึ่งพาผู้อื่นและนำไปสู่การขาดแรงจูงใจในการดำเนินชีวิตประจำวันและขาดสังคมของผู้สูงอายุวัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาประสบการณ์ความจำบกพร่องในชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุ การออกแบบการวิจัย การวิจัยเชิงคุณภาพแบบพรรณนา วิธีดำเนินการวิจัย ผู้ให้ข้อมูลคือ ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปอาศัยอยู่ในพื้นที่แห่งหนึ่งของจังหวัด ทางภาคกลาง เลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 15 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกตามเวลาที่ผู้ให้ข้อมูลสะดวกเก็บข้อมูลตั้งแต่เดือน พฤษภาคม-ตุลาคม พ.ศ.2566 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงเนือหาตามแนวคิดของ Sandelowski มีการตรวจอสบความน่าเชือถือของข้อมูลการยืนยันความถูกต้องของข้อมูลและการนำผลการวิจัยไปใชีวิตปะจำวันของผูสูงอายุสรุไปด้เป็น3 ประเด็น หลัก ดังนี้ 1) อาการหลงลืม ประกอบด้วย การับรู้ว่ามี้อาการหลงลืม กจิวัตรประจำวันที่หลงลืม อาการหลงลืม ที่เกิดภายนอกบาน 2) อารมณ์เปลี่ยนแปลง ได้แก่ ผลของการหลงลืม ประกอบด้วย3) การจัดการเม่อยหงลืม ประกอบด้วย การเริ่มต้นใหม่ การช่วยเหลอืโดยญาติการกำหนดจุดวางของใหชัดเจน การทำกิจกรรม ข้อเสนอแนะ ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า อารมณ์เปลี่ยนแปลงและการจัดการเมือหลงลืมเป็นประสบการณ์สำคัญของผู้สูงอายุ ทีมสุขภาพสามารถนำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนร่วมกับคอรบครรวัของผู้สูงอายุเพ่อการคัดกรองติดตามและจัดกิจกรรมกระตุ้นควาจมำเพื่อชะลอภาวะสมองเสือมของผู้สูงอายุ
本文章由计算机程序翻译,如有差异,请以英文原文为准。
查看原文
分享 分享
微信好友 朋友圈 QQ好友 复制链接
本刊更多论文
ประสบการณ์ความจำบกพร่องในผู้สูงอายุ
บทนำ ปัญหาความจำบกพร่องเป็นหนึ่งในปัญหาของผู้สูงอายุที่อาจเป็นได้ทั้งความเสื่อม ตามวัยปกติและจากการมีภาวะสมองเสื่อมก่อนเวลาเนื่องจากเมื่อมีอายุมากขึ้นร่างกายจะมีความเสื่อมถอยที่เกิดการเปลี่ยนแปลงจากพยาธิสภาพที่มีการตายของเซลล์ประสาทในสมอง หลายบริเวณส่งผลให้ผู้สูงอายุเกิดการถดถอยของความจำ ขาดความมั่นใจในตนเองเกิดความเครียด ความกลัว ต้องพึ่งพาผู้อื่นและนำไปสู่การขาดแรงจูงใจในการดำเนินชีวิตประจำวันและขาดสังคมของผู้สูงอายุ  วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาประสบการณ์ความจำบกพร่องในชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุ  การออกแบบการวิจัย การวิจัยเชิงคุณภาพแบบพรรณนา  วิธีดำเนินการวิจัย ผู้ให้ข้อมูลคือ ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป อาศัยอยู่ในพื้นที่แห่งหนึ่งของจังหวัด ทางภาคกลาง เลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 15 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกตามเวลาที่ผู้ให้ข้อมูลสะดวกเก็บข้อมูลตั้งแต่เดือน พฤษภาคม-ตุลาคม พ.ศ. 2566 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหาตามแนวคิดของ Sandelowski มีการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูล การยืนยันความถูกต้องของข้อมูลและการนำผลการวิจัยไปใช้อ้างอิง  ผลการวิจัย ประสบการณ์ความจำบกพร่องในชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุสรุปได้เป็น 3 ประเด็นหลัก ดังนี้ 1) อาการหลงลืม ประกอบด้วย การรับรู้ว่ามีอาการหลงลืม กิจวัตรประจำวันที่หลงลืม อาการหลงลืม ที่เกิดภายนอกบ้าน 2) อารมณ์เปลี่ยนแปลง ได้แก่ ผลของการหลงลืม ประกอบด้วย อารมณ์หงุดหงิด ความกังวลและกลัว และ 3) การจัดการเมื่อหลงลืม ประกอบด้วย การเริ่มต้นใหม่ การช่วยเหลือโดยญาติ การกำหนดจุดวางของให้ชัดเจน การทำกิจกรรม  ข้อเสนอแนะ ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า อาการหลงลืม อารมณ์เปลี่ยนแปลง และการจัดการ เมื่อหลงลืมเป็นประสบการณ์สำคัญของผู้สูงอายุ ทีมสุขภาพสามารถนำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนร่วมกับครอบครัวของผู้สูงอายุเพื่อการคัดกรอง ติดตามและจัดกิจกรรมกระตุ้นความจำเพื่อชะลอภาวะสมองเสื่อมของผู้สูงอายุ
求助全文
通过发布文献求助,成功后即可免费获取论文全文。 去求助
来源期刊
自引率
0.00%
发文量
0
期刊最新文献
ปัจจัยทำนายการเกิดภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจากสารทึบรังสีในผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ร่วมกับการฉีดสารทึบรังสี การใช้แนวทางการจัดการรายกรณีที่นำโดยพยาบาลในการดูแลเด็กเปราะบางและครอบครัว ผลลัพธ์ทางคลินิกของรูปแบบโปรแกรมที่นำโดยพยาบาลในการฟื้นฟูสมรรถภาพหัวใจของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเครียดของบุคลากรทางการพยาบาลที่หน่วยฉุกเฉินในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร การรับรู้และความคาดหวังต่อการจัดการความรุนแรงในสถานพยาบาลที่ผู้รับบริการกระทำต่อบุคลากรทางการแพทย์ที่หน่วยฉุกเฉินและหน่วยวิกฤต
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
现在去查看 取消
×
提示
确定
0
微信
客服QQ
Book学术公众号 扫码关注我们
反馈
×
意见反馈
请填写您的意见或建议
请填写您的手机或邮箱
已复制链接
已复制链接
快去分享给好友吧!
我知道了
×
扫码分享
扫码分享
Book学术官方微信
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术
文献互助 智能选刊 最新文献 互助须知 联系我们:info@booksci.cn
Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。
Copyright © 2023 Book学术 All rights reserved.
ghs 京公网安备 11010802042870号 京ICP备2023020795号-1