首页 > 最新文献

RMUTT Global Business and Economics Review最新文献

英文 中文
EXPORT DEMAND FOR THAILAND'S KING OF FRUIT 泰国水果之王的出口需求
Pub Date : 2024-04-11 DOI: 10.60101/rmuttgber.2024.269208
Poomthan Rangkakulnuwat
This paper aims to find the determinant of Thailand’s king of fruit exports based on the gravity model. Several primary econometrics methods apply to the gravity model applying to Thailand’s durian export. The result indicates that the country-pair and time-fixed effect PML with interaction regarding the landlock and time dummy variables give the most logical results.  The empirical results suggest that enhancing labor productivity in durian cultivation is a strategy to increase durian cultivation and export. Durian exporters might use the lower price strategy to enhance their income. Thailand’s durian exporters should find a specific country in each income-level group where most people love durian.
本文旨在根据引力模型找出泰国水果出口之王的决定因素。将几种主要计量经济学方法应用于泰国榴莲出口的引力模型。结果表明,国家对和时间固定效应 PML 与内陆和时间虚拟变量的交互作用给出了最合理的结果。 实证结果表明,提高榴莲种植的劳动生产率是增加榴莲种植和出口的一种策略。榴莲出口商可以采用低价策略来增加收入。泰国的榴莲出口商应在每个收入水平组别中找到一个特定的国家,那里有最多的人喜欢吃榴莲。
{"title":"EXPORT DEMAND FOR THAILAND'S KING OF FRUIT","authors":"Poomthan Rangkakulnuwat","doi":"10.60101/rmuttgber.2024.269208","DOIUrl":"https://doi.org/10.60101/rmuttgber.2024.269208","url":null,"abstract":"This paper aims to find the determinant of Thailand’s king of fruit exports based on the gravity model. Several primary econometrics methods apply to the gravity model applying to Thailand’s durian export. The result indicates that the country-pair and time-fixed effect PML with interaction regarding the landlock and time dummy variables give the most logical results.  The empirical results suggest that enhancing labor productivity in durian cultivation is a strategy to increase durian cultivation and export. Durian exporters might use the lower price strategy to enhance their income. Thailand’s durian exporters should find a specific country in each income-level group where most people love durian.","PeriodicalId":508629,"journal":{"name":"RMUTT Global Business and Economics Review","volume":"23 1","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-04-11","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"140713473","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
INFLUENCE OF EMOTIONAL MARKETING ON CUSTOMERS’ IDENTIFICATION WITH CHINESE LOCAL COSMETIC BRANDS 情感营销对消费者认同中国本土化妆品品牌的影响
Pub Date : 2024-04-11 DOI: 10.60101/rmuttgber.2024.275549
Yingxi Liu, Sukontip Wongpun
In the era of social media, brands are increasingly adopting emotional marketing strategies to enhance their competitiveness in the market. In brand marketing, incorporating emotional elements allows for better satisfaction of consumers’ psychological and emotional needs. People always find it hard to forget emotions that touch their hearts, or the feelings evoked by someone. Emotional marketing, as a non-traditional marketing strategy, can assist businesses in engaging in deeper communication with customers and establishing meaningful relationships, thereby inspiring their identification. Enhancing customer identification with the brand is crucial for the long-term development of an enterprise. This article seeks to provide an in-depth understanding of how emotional marketing affects customer identification with Chinese local cosmetics brands. Employing a quantitative approach, this study sampled 468 participants from online consumers of Chinese local cosmetics. Structural Equation Modeling (SEM) was utilized as a data analysis technique. The results of the study indicated that emotional marketing had a positive and significant impact on customer identification.
在社交媒体时代,品牌越来越多地采用情感营销策略来增强其市场竞争力。在品牌营销中,融入情感元素可以更好地满足消费者的心理和情感需求。人们总是很难忘记触动自己心灵的情感,或者被某个人唤起的感觉。情感营销作为一种非传统的营销策略,可以帮助企业与顾客进行更深层次的沟通,建立有意义的关系,从而激发顾客的认同感。增强顾客对品牌的认同感对企业的长远发展至关重要。本文旨在深入了解情感营销如何影响顾客对中国本土化妆品品牌的认同。本研究采用定量方法,从中国本土化妆品的在线消费者中抽取了 468 名参与者。研究采用了结构方程模型(SEM)作为数据分析技术。研究结果表明,情感营销对顾客认同产生了积极而显著的影响。
{"title":"INFLUENCE OF EMOTIONAL MARKETING ON CUSTOMERS’ IDENTIFICATION WITH CHINESE LOCAL COSMETIC BRANDS","authors":"Yingxi Liu, Sukontip Wongpun","doi":"10.60101/rmuttgber.2024.275549","DOIUrl":"https://doi.org/10.60101/rmuttgber.2024.275549","url":null,"abstract":"In the era of social media, brands are increasingly adopting emotional marketing strategies to enhance their competitiveness in the market. In brand marketing, incorporating emotional elements allows for better satisfaction of consumers’ psychological and emotional needs. People always find it hard to forget emotions that touch their hearts, or the feelings evoked by someone. Emotional marketing, as a non-traditional marketing strategy, can assist businesses in engaging in deeper communication with customers and establishing meaningful relationships, thereby inspiring their identification. Enhancing customer identification with the brand is crucial for the long-term development of an enterprise. This article seeks to provide an in-depth understanding of how emotional marketing affects customer identification with Chinese local cosmetics brands. Employing a quantitative approach, this study sampled 468 participants from online consumers of Chinese local cosmetics. Structural Equation Modeling (SEM) was utilized as a data analysis technique. The results of the study indicated that emotional marketing had a positive and significant impact on customer identification.","PeriodicalId":508629,"journal":{"name":"RMUTT Global Business and Economics Review","volume":"1 3","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-04-11","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"140715210","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ปัจจัยหนุนเสริมในการบริหารทางการเงินส่วนบุคคลของบุคลากรสำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน) ปัจจัยหนุนเสริมในการบริหารทางการเงินส่วนบุคคลของบุคลากรสำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน)
Pub Date : 2023-12-20 DOI: 10.60101/rmuttgber.2023.263847
สุภารัตน์ ปานผดุง, ชเนตตี พุ่มพฤกษ์
บทความวิชาการ เรื่อง ปัจจัยหนุนเสริมในการบริหารทางการเงินส่วนบุคคลของบุคลากรสำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน) จัดทำขึ้นจากการศึกษา ค้นคว้า และสรุปผลที่ได้จากการรวบรวมข้อมูลมาจากแหล่งความรู้บนฐานข้อมูลที่ได้รับการเผยแพร่แล้ว บทความทางวิชาการ บทความวิจัย หนังสือ ตำรา และงานวิจัย ที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยหนุนเสริมในการบริหารทางการเงินส่วนบุคคล เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตให้มีประสิทธิภาพ มีความมั่นคงในการบริหารการเงินส่วนบุคคล ทั้งนี้การบริหารการเงินของแต่ละบุคคลอาจมีวิธีการที่แตกต่างกันไปตามความเหมาะสม ซึ่งสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อให้ได้ทราบถึงการบริหารการเงินแบบใดที่เหมาะสมกับตนเอง และเป็นแนวทางในการวางแผนการเงินในอนาคตได้อีกด้วย
มวิชาการ เรอืง ปัจัยหนุนเสริมในการบริหารทางการเงินส่วนบุคคลของุบคลากรสำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน)จัดทำขึ้นจาการศึกษา ค้นคว้า และสรุปผลที่ได้าจาการวบรวมข้มูลมาจากาแหล่งความรู้บนฐานข้อการเผยแพร่แล้ว บทความทางิวชาการ บทความวิจัย หนังสือ ตำรา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับปัจัยหุนเสริมในการบริหารทางการเงินสว่นบุคคล เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินชีีวิตให้มีประสิทธิภาพ มีความั่นคงในการบริหารกรารเงินส่วนบุคคลทั้งนี้การบรงันปตารมเหาะสมเด็กเด็กเอออออออเอออออเอออออเออออเออออเอออเออออเอออเออออเอออเออออเออออเอออ มติเมติเออออออออออออเออออออเออออออออ มติเมติเออออออออออออออ มติเมติเออออออออออ มติเมติออออออออออออออออออออออออออออออออ มติชน
{"title":"ปัจจัยหนุนเสริมในการบริหารทางการเงินส่วนบุคคลของบุคลากรสำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน)","authors":"สุภารัตน์ ปานผดุง, ชเนตตี พุ่มพฤกษ์","doi":"10.60101/rmuttgber.2023.263847","DOIUrl":"https://doi.org/10.60101/rmuttgber.2023.263847","url":null,"abstract":"บทความวิชาการ เรื่อง ปัจจัยหนุนเสริมในการบริหารทางการเงินส่วนบุคคลของบุคลากรสำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน) จัดทำขึ้นจากการศึกษา ค้นคว้า และสรุปผลที่ได้จากการรวบรวมข้อมูลมาจากแหล่งความรู้บนฐานข้อมูลที่ได้รับการเผยแพร่แล้ว บทความทางวิชาการ บทความวิจัย หนังสือ ตำรา และงานวิจัย ที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยหนุนเสริมในการบริหารทางการเงินส่วนบุคคล เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตให้มีประสิทธิภาพ มีความมั่นคงในการบริหารการเงินส่วนบุคคล ทั้งนี้การบริหารการเงินของแต่ละบุคคลอาจมีวิธีการที่แตกต่างกันไปตามความเหมาะสม ซึ่งสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อให้ได้ทราบถึงการบริหารการเงินแบบใดที่เหมาะสมกับตนเอง และเป็นแนวทางในการวางแผนการเงินในอนาคตได้อีกด้วย","PeriodicalId":508629,"journal":{"name":"RMUTT Global Business and Economics Review","volume":"61 5","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2023-12-20","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"139169356","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้ใช้บริการร้านเซเว่น อีเลฟเว่น (7-Eleven) ในจังหวัดปทุมธานี ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้ใช้บริการร้านเซเว่น อีเลฟเว่น (7-Eleven) ในจังหวัดปทุมธานี
Pub Date : 2023-12-16 DOI: 10.60101/rmuttgber.2023.267596
จิตวีณา จาตุรงค์พันธ์, วาสนา ศิลป์รุ่งธรรม
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้ใช้บริการร้านเซเว่น อีเลฟเว่น (7-Eleven) ในจังหวัดปทุมธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้บริโภคที่ใช้บริการในร้านสะดวกซื้อเซเว่น อีเลฟเว่น (7-Eleven) ในจังหวัดปทุมธานี จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าทีแบบอิสระ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษา พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ที่แตกต่างกันมีผลต่อการตัดสินใจของผู้ใช้บริการร้านเซเว่น อีเลฟเว่น (7-Eleven) ในจังหวัดปทุมธานี แตกต่างกัน และปัจจัยส่วนบุคล ได้แก่ เพศ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ที่แตกต่างกัน มีผลต่อการตัดสินใจของผู้ใช้บริการร้านเซเว่น อีเลฟเว่น (7-Eleven) ในจังหวัดปทุมธานี ไม่แตกต่างกัน และปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ ได้แก่ ด้านสินค้าและบริการ ด้านราคา ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านพนักงาน ด้านกระบวนการให้บริการมีผลต่อการตัดสินใจของผู้ใช้บริการร้านเซเว่น อีเลฟเว่น (7-Eleven) ในจังหวัดปทุมธานี ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้ใช้บริการร้านเซเว่น อีเลฟเว่น (7-)ใจังหัดปทุมธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้บริโภทคี่ใช้บริการในร้านสะดวกซื้อเซเว่น อีเลฟเว่น (7-)11) เจังหัดปทุมธานี จำนวน 400 คน โดยใช้แบสอบถามเป็นเครื่องมอืในการเก็บรวบรวม้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอุนมานผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ที่แตกต่างกันมีผลต่อการตัดสินใจของผู้ใช้บริการร้านเซเว่น เอลฟเว่น (7-)Eleven) ในจังหวัดปทุมธานี แตกต่างกัน และปัจจัยส่วนบุคล ได้แก่ เพศ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ที่แตกต่างกัน มีผลต่อการตัดสินใจของผู้ใช้บริการร้านเซเว่น อีเลฟเว่น (7-Eleven) ใจังหวัดปทุมธานี ไม่แตกต่างกัน และปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ ได้แก่ ด้านสินค้าและบริการ ด้านราคาด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านพนักงาน ด้านกระบวนการให้บริการมีผลต่อการตัดสินใจองผู้ใช้บริการร้านเซเว่น อีเลฟเว่น (7-)十一) ใจังหวัดปทุมธานี ที่ระดับันยสำคัญทางสถิติ .05
{"title":"ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้ใช้บริการร้านเซเว่น อีเลฟเว่น (7-Eleven) ในจังหวัดปทุมธานี","authors":"จิตวีณา จาตุรงค์พันธ์, วาสนา ศิลป์รุ่งธรรม","doi":"10.60101/rmuttgber.2023.267596","DOIUrl":"https://doi.org/10.60101/rmuttgber.2023.267596","url":null,"abstract":"การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้ใช้บริการร้านเซเว่น อีเลฟเว่น (7-Eleven) ในจังหวัดปทุมธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้บริโภคที่ใช้บริการในร้านสะดวกซื้อเซเว่น อีเลฟเว่น (7-Eleven) ในจังหวัดปทุมธานี จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอนุมาน ได้แก่ การทดสอบค่าทีแบบอิสระ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษา พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ที่แตกต่างกันมีผลต่อการตัดสินใจของผู้ใช้บริการร้านเซเว่น อีเลฟเว่น (7-Eleven) ในจังหวัดปทุมธานี แตกต่างกัน และปัจจัยส่วนบุคล ได้แก่ เพศ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ที่แตกต่างกัน มีผลต่อการตัดสินใจของผู้ใช้บริการร้านเซเว่น อีเลฟเว่น (7-Eleven) ในจังหวัดปทุมธานี ไม่แตกต่างกัน และปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ ได้แก่ ด้านสินค้าและบริการ ด้านราคา ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านพนักงาน ด้านกระบวนการให้บริการมีผลต่อการตัดสินใจของผู้ใช้บริการร้านเซเว่น อีเลฟเว่น (7-Eleven) ในจังหวัดปทุมธานี ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05","PeriodicalId":508629,"journal":{"name":"RMUTT Global Business and Economics Review","volume":"1205 1","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2023-12-16","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"139176993","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ปัจจัยความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในยุควิถีใหม่ ปัจจัยความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในยุควิถีใหม่
Pub Date : 2023-12-16 DOI: 10.60101/rmuttgber.2023.269434
บุบผา ฐานุตตมานนท์, ธนสุวิทย์ ทับหิรัญรักษ์, สิทธิขัย ธรรมเสน่ห์
ในสภาวะเศรษฐกิจในยุควิถีใหม่มีการแข่งขันทางธุรกิจค่อนข้างสูง การที่ผู้ประกอบการจะดำเนินธุรกิจได้มั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืนได้นั้นจำเป็นต้องมีการปรับตัวให้เหมาะสมกับสถานการณ์ในยุควิถีใหม่ ธุรกิจ แฟรนไชส์เป็นรูปแบบธุรกิจทางเลือกที่มีลักษณะเฉพาะที่ช่วยให้ธุรกิจสามารถขยายธุรกิจ ขยายตลาดและช่องทางการจัดจำหน่ายในลักษณะของสาขาได้อย่างมีประสิทธิภาพ นำไปสู่วัตถุประสงค์ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบไปด้วย 1) เพื่อศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุที่ทำให้ธุรกิจแฟรนไชส์ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในยุควิถึใหม่ประสบความสำเร็จ 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์การบริหารแฟรนไชส์กับความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในยุควิถีใหม่ และเพื่อยกระดับธุรกิจแฟรนไชส์ให้มีความสามารถในการแข่งขัน 3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาแบบจำลองธุรกิจที่เหมาะสมในการทำให้ธุรกิจ  แฟรนไชส์ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลประสบความสำเร็จและสามารถเติบโตได้ในต่างประเทศ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้รับสิทธิ์แฟรนไชส์ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 400 ราย เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสมการเชิงโครงสร้าง ผลการศึกษาพบว่า 1) ปัจจัยด้านนวัตกรรม ปัจจัยด้านจิตวิทยาด้านบวก ความพึงพอใจของลูกค้า และปัจจัยความสำเร็จได้รับความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยและเห็นด้วยอย่างยิ่ง 2) ปัจจัยด้านนวัตกรรมและปัจจัยด้านจิตวิทยาไม่มีอิทธิพลทางตรงต่อปัจจัยความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์แต่มีอิทธิพลทางอ้อมต่อปัจจัยความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์โดยผ่านปัจจัยด้านจิตวิทยาและความพึงพอใจของลูกค้า ในขณะที่ความพึงพอใจของลูกค้ามีอิทธิพลทางตรงต่อปัจจัยความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และ 3) แนวทางการพัฒนาแบบจำลองธุรกิจเสนอให้การบริหารธุรกิจแฟรนไชส์ควรมุ่งเน้นสร้างนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ในด้านนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ นวัตกรรมกระบวนการและนวัตกรรมกลยุทธ์ ตลอดจนมุ่งสร้างความพึงพอใจของลูกค้า ด้านคุณภาพการบริการและผู้ประกอบการต้องมีจิตวิทยาในการที่จะมุ่งหวังที่จะไปให้ถึงเป้าหมายเพื่อความสำเร็จของธุรกิจ แฟรนไชส์และเพื่อยกระดับความสามารถในการแข่งขันในการแข่งขันของธุรกิจแฟรนไชส์ในยุควิถีใหม่
ในสภาวะเศรษฐกิจในยุควิถีใหม่มีการแข่งขันทางธุรกิจค่อนข้างสูง การที่ผู้ประกอบการจะดำเนินธุรกิจได้มั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืนได้นั้นจำเป็นต้องมีการปรับตัวให้เหมาะสมกับสถานการณ์ในยุควิถีใหม่ ธุรกิจแฟรนไชส์เป็นรูปแบบธุรกิจทางเลือกที่มีลักษณะเฉพาะที่ช่วยให้ธุรกิจสามารถขยายธุรกิจ ขยายตลาดและช่องทางการจัดจำหน่ายในลักษณะของสาขาได้อย่างมีประสิทธิภาพ นำไปสู่วัตถุประสงค์ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบไปด้วย1) เพือศึษาปัจัยเชิงสาหเตุที่ทำให้ธหุรกจิแฟรนไชส์ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในยคุวิถึใหม่ประสบควมสำเร็จ 2)และเพื่อยกระดับธุรกจิแฟรนไชส์ให้มีความสามารถในการแข่งขัน 3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาแบจำลองธุรกจิที่เหมาะสมในการทำให้ธุรกจิ แฟรนไชส์ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลประบสความสำเร็จและสามารถเติบโตได้ในต่างประเทศ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผูร้ับสิทธิ์แฟรนไชส์ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑ ลจำนวนทั้งสิน400 เก็บข้อมูลโดยใช้บแบสอบถามแะลวิเคราห์ข้อมูลด้วยสมการเชิงโครงสร้าง ผลการศึกษาพบว่า 1) ปัจจัยด้านวัตกรรม ปัจัยด้านจิตวิทยาด้านบวกความพึงพอใจอขงลูกค้าและปัจัยความสำเร็จได้รับความคินอย่ในระดับเห็นด้วยและเห็นด้วยอย่ง 2)ปัจจัยด้านนวัตกรรมและปัจจัยด้านจิตวิทยาไม่มีอิทธิพลทางตรงต่อปัจจัยความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์แต่มีอิทธิพลทางอ้อมต่อปัจจัยความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์โดยผ่านปัจจัยด้านจิตวิทยาและความพึงพอใจของลูกค้า001 และ 3) แนวทางการพัฒนาแบบจำลองธุรกิจเสนอให้การบริหารธุรกิจแฟรนไชส์ควรมุ่งเน้นสร้างนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ในด้านนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ นวัตกรรมกระบวนการและนวัตกรรมกลยุทธ์ ตลอดจนมุ่งสร้างความพึงพอใจของลูกค้าด้านคุณภาพการบริการและผู้ประกอบการต้องมีจิตวิทยาในการที่จะมุ่งหวังที่จะไปให้ถึงเป้าหมายเพื่อความสำเร็จของธุรกิจ แฟรนไชส์และเพื่อยกระดับความสามารถในการแข่งขันในการแข่งขันของธุรกิจแฟรนไชส์ในยุควิถีใหม่
{"title":"ปัจจัยความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในยุควิถีใหม่","authors":"บุบผา ฐานุตตมานนท์, ธนสุวิทย์ ทับหิรัญรักษ์, สิทธิขัย ธรรมเสน่ห์","doi":"10.60101/rmuttgber.2023.269434","DOIUrl":"https://doi.org/10.60101/rmuttgber.2023.269434","url":null,"abstract":"ในสภาวะเศรษฐกิจในยุควิถีใหม่มีการแข่งขันทางธุรกิจค่อนข้างสูง การที่ผู้ประกอบการจะดำเนินธุรกิจได้มั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืนได้นั้นจำเป็นต้องมีการปรับตัวให้เหมาะสมกับสถานการณ์ในยุควิถีใหม่ ธุรกิจ แฟรนไชส์เป็นรูปแบบธุรกิจทางเลือกที่มีลักษณะเฉพาะที่ช่วยให้ธุรกิจสามารถขยายธุรกิจ ขยายตลาดและช่องทางการจัดจำหน่ายในลักษณะของสาขาได้อย่างมีประสิทธิภาพ นำไปสู่วัตถุประสงค์ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบไปด้วย 1) เพื่อศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุที่ทำให้ธุรกิจแฟรนไชส์ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในยุควิถึใหม่ประสบความสำเร็จ 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์การบริหารแฟรนไชส์กับความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลในยุควิถีใหม่ และเพื่อยกระดับธุรกิจแฟรนไชส์ให้มีความสามารถในการแข่งขัน 3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาแบบจำลองธุรกิจที่เหมาะสมในการทำให้ธุรกิจ  แฟรนไชส์ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลประสบความสำเร็จและสามารถเติบโตได้ในต่างประเทศ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้รับสิทธิ์แฟรนไชส์ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 400 ราย เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสมการเชิงโครงสร้าง ผลการศึกษาพบว่า 1) ปัจจัยด้านนวัตกรรม ปัจจัยด้านจิตวิทยาด้านบวก ความพึงพอใจของลูกค้า และปัจจัยความสำเร็จได้รับความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยและเห็นด้วยอย่างยิ่ง 2) ปัจจัยด้านนวัตกรรมและปัจจัยด้านจิตวิทยาไม่มีอิทธิพลทางตรงต่อปัจจัยความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์แต่มีอิทธิพลทางอ้อมต่อปัจจัยความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์โดยผ่านปัจจัยด้านจิตวิทยาและความพึงพอใจของลูกค้า ในขณะที่ความพึงพอใจของลูกค้ามีอิทธิพลทางตรงต่อปัจจัยความสำเร็จของธุรกิจแฟรนไชส์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และ 3) แนวทางการพัฒนาแบบจำลองธุรกิจเสนอให้การบริหารธุรกิจแฟรนไชส์ควรมุ่งเน้นสร้างนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ในด้านนวัตกรรมผลิตภัณฑ์ นวัตกรรมกระบวนการและนวัตกรรมกลยุทธ์ ตลอดจนมุ่งสร้างความพึงพอใจของลูกค้า ด้านคุณภาพการบริการและผู้ประกอบการต้องมีจิตวิทยาในการที่จะมุ่งหวังที่จะไปให้ถึงเป้าหมายเพื่อความสำเร็จของธุรกิจ แฟรนไชส์และเพื่อยกระดับความสามารถในการแข่งขันในการแข่งขันของธุรกิจแฟรนไชส์ในยุควิถีใหม่","PeriodicalId":508629,"journal":{"name":"RMUTT Global Business and Economics Review","volume":"1191 1","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2023-12-16","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"139176996","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
อิทธิพลของความสามารถเชิงพลวัตและนวัตกรรมต่อผลการดำเนินงานของอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย อิทธิพลของความสามารถเชิงพลวัตและนวัตกรรมต่อผลการดำเนินงานของอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย
Pub Date : 2023-12-16 DOI: 10.60101/rmuttgber.2023.269079
บุญฑริกา วงษ์วานิช, ทิพย์รัตน์ เลาหวิเชียร
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของความสามารถเชิงพลวัต และนวัตกรรมที่มีต่อผลการดำเนินงานของอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ที่มีสถานประกอบการที่แน่นอนสามารถติดต่อได้และจดทะเบียนนิติบุคคลกับกระทรวงพาณิชย์ ส่วนผู้ตอบแบบสอบถามคือ ผู้บริหาร พนักงานหรือผู้แทนองค์การที่มีความเข้าใจภาพรวมการบริหารจัดการในองค์การจำนวน 336 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ และสถิติการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า โมเดลที่ผู้วิจัยได้ปรับปรุงและพัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าดัชนี ตรวจสอบความกลมกลืน ได้แก่ Chi-square = 62.492, df = 51, p-value = 0.130, Chi-square/df = 1.225, GFI = 0.975, AGFI = 0.948, NFI = 0.975, CFI = 0.995, RMSEA = 0.026 ประกอบด้วยความสามารถเชิงพลวัต และนวัตกรรม มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อผลการดำเนินงานของอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาิทธิพลของความสามารถเชิงพลวัตและนวัตกรรมที่มี่อผลารดำเนินงานของุอตสาหากรรมไฟฟ้าและอเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย กลุ่มตัวอย่งได้แกทยผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ที่มีสถานประกอบการที่แน่นอนสามารถติดต่อได้และจดทะเบียนนิติบุคคลกับกระทรวงพาณิชย์ ส่วนผู้ตอบแบบสอบถามคือ ผู้บริหารพนักงานหรือผู้แทนองค์การที่มีความเข้าใจภาพรวมการบริหารจัดการในองค์การจำนวน 336 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ และสถิติการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ผลการวจัยพบว่ามเด็กเดี่ผู้วิจัยไดปรับปรุงและพัฒนาขึ้นีความสอดคล้องกลมกลืนับขอ้มลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าดัชนี ตรวจสอบความกลมกลืน ได้แก่ Chi-square = 62.492, df = 51, p-value = 0.130, Chi-square/df = 1.225, GFI = 0.975, AGFI = 0.948, NFI = 0.975, CFI = 0.995, RMSEA = 0.026 ประกอบด้วยความสามารถเชิงพลวัต และนวัตกรรม มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อผลการดำเนินงานของอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
{"title":"อิทธิพลของความสามารถเชิงพลวัตและนวัตกรรมต่อผลการดำเนินงานของอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย","authors":"บุญฑริกา วงษ์วานิช, ทิพย์รัตน์ เลาหวิเชียร","doi":"10.60101/rmuttgber.2023.269079","DOIUrl":"https://doi.org/10.60101/rmuttgber.2023.269079","url":null,"abstract":"การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของความสามารถเชิงพลวัต และนวัตกรรมที่มีต่อผลการดำเนินงานของอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ที่มีสถานประกอบการที่แน่นอนสามารถติดต่อได้และจดทะเบียนนิติบุคคลกับกระทรวงพาณิชย์ ส่วนผู้ตอบแบบสอบถามคือ ผู้บริหาร พนักงานหรือผู้แทนองค์การที่มีความเข้าใจภาพรวมการบริหารจัดการในองค์การจำนวน 336 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ และสถิติการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า โมเดลที่ผู้วิจัยได้ปรับปรุงและพัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าดัชนี ตรวจสอบความกลมกลืน ได้แก่ Chi-square = 62.492, df = 51, p-value = 0.130, Chi-square/df = 1.225, GFI = 0.975, AGFI = 0.948, NFI = 0.975, CFI = 0.995, RMSEA = 0.026 ประกอบด้วยความสามารถเชิงพลวัต และนวัตกรรม มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อผลการดำเนินงานของอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05","PeriodicalId":508629,"journal":{"name":"RMUTT Global Business and Economics Review","volume":"1397 ","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2023-12-16","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"139176874","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
FINANCIAL PLANNING BEHAVIOR FOR RETIREMENT OF THE PERSONNAL IN RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY TAWAN-OK, CHANTHABURI CAMPUS 尖竹汶府塔万谷拉惹曼嘎拉理工大学学生的退休财务规划行为
Pub Date : 2023-12-16 DOI: 10.60101/rmuttgber.2023.264328
Narinjong Wongaud, Siripa Wittayapornpipat
The purposes of this research were to study the following: (1) Behavior (2) Factors affecting behavior and (3) Financial planning model for retirement of the personel at Rajamangala University of Technology Tawan-ok, Chanthaburi Campus. The total of 97 samples were collected. Using a purposive sampling. An important instrument used to collect data was the questionnaires. The researchers employed descriptive and inferential statistics, such as frequency, percentage, average, and standard deviation. and multiple regression analysis. The findings of the study revealed that the in retirement planning behavior, there is a preparation after retirement (83.33%), savings and investments in style of bank deposits (79.38%), no fixed proportion of savings (32.99%). The factors of preparing for retirement had the greatest impact on financial planning (3.51). The factors of current income size had the moderate impact on financial planning (3.22), The factors of Current cost size had the moderate impact on financial planning (3.15). The factors of debt burden had the low impact on financial planning (2.33). The factors of return from savings had the moderate impact on financial planning (3.12). The factors of the certainty of the expected income level after retirement had the moderate impact on financial planning (3.31). A found appropriate investment and savings model is associated with 1) Provident Fund 2) Government Pension Fund 3) cooperative stock and 4) set/ securities.
本研究的目的是研究以下内容:(1)行为;(2)影响行为的因素;(3)尖竹汶府塔旺角拉贾曼加拉理工大学的退休财务规划模式。共收集了 97 个样本。采用目的性抽样。调查问卷是收集数据的重要工具。研究人员采用了描述性和推论性统计方法,如频率、百分比、平均值和标准偏差,以及多元回归分析。研究结果显示,在退休规划行为中,有退休后准备(83.33%)、银行存款式储蓄和投资(79.38%)、无固定比例储蓄(32.99%)。为退休做准备这一因素对财务规划的影响最大(3.51)。当前收入规模对财务规划的影响适中(3.22),当前成本规模对财务规划的影响适中(3.15)。债务负担因素对财务规划的影响较小(2.33)。储蓄收益因素对财务规划的影响适中(3.12)。退休后预期收入水平的确定性对财务规划的影响适中(3.31)。发现合适的投资和储蓄模式与 1) 公积金 2) 政府养老基金 3) 合作股票和 4) 集资/证券有关。
{"title":"FINANCIAL PLANNING BEHAVIOR FOR RETIREMENT OF THE PERSONNAL IN RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY TAWAN-OK, CHANTHABURI CAMPUS","authors":"Narinjong Wongaud, Siripa Wittayapornpipat","doi":"10.60101/rmuttgber.2023.264328","DOIUrl":"https://doi.org/10.60101/rmuttgber.2023.264328","url":null,"abstract":"The purposes of this research were to study the following: (1) Behavior (2) Factors affecting behavior and (3) Financial planning model for retirement of the personel at Rajamangala University of Technology Tawan-ok, Chanthaburi Campus. The total of 97 samples were collected. Using a purposive sampling. An important instrument used to collect data was the questionnaires. The researchers employed descriptive and inferential statistics, such as frequency, percentage, average, and standard deviation. and multiple regression analysis. The findings of the study revealed that the in retirement planning behavior, there is a preparation after retirement (83.33%), savings and investments in style of bank deposits (79.38%), no fixed proportion of savings (32.99%). The factors of preparing for retirement had the greatest impact on financial planning (3.51). The factors of current income size had the moderate impact on financial planning (3.22), The factors of Current cost size had the moderate impact on financial planning (3.15). The factors of debt burden had the low impact on financial planning (2.33). The factors of return from savings had the moderate impact on financial planning (3.12). The factors of the certainty of the expected income level after retirement had the moderate impact on financial planning (3.31). A found appropriate investment and savings model is associated with 1) Provident Fund 2) Government Pension Fund 3) cooperative stock and 4) set/ securities.","PeriodicalId":508629,"journal":{"name":"RMUTT Global Business and Economics Review","volume":"1242 ","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2023-12-16","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"139176990","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
สมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัตเพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนของบริษัทโทรคมนาคมในประเทศไทยผ่านตัวแปรส่งผ่าน “ความมุ่งมั่นของผู้บริหารระดับสูง” สมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัตเพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนของบริษัทโทรคมนาคมในประเทศไทยผ่านตัวแปรส่งผ่าน“ความมุ่งมั่นของผู้บริหารระดับสูง”
Pub Date : 2023-12-16 DOI: 10.60101/rmuttgber.2023.269399
วิศาลศรี นิโลดม, สวัสดิ์ วรรณรัตน์
การวิจัยเชิงปริมาณนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของสมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัตที่มีต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืน และศึกษาอิทธิพลทางอ้อมของสมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัตที่มีต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืน โดยผ่านตัวแปรส่งผ่านความมุ่งมั่นของผู้บริหาร โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหารที่รับผิดชอบหน่วยงานต่าง ๆ ขององค์กร จำนวน 379 คน และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยแบบจำลองสมการโครงสร้าง (SEM) จากการศึกษาพบว่า สมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัตมีอิทธิพลทางตรงต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืน ด้านผลประกอบการขององค์กร ด้านการตลาด และด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เท่ากับ 0.65, 0.55 และ 0.49 ตามลำดับ (p-value < 0.01) และมีอิทธิพลทางอ้อมต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนด้านการตลาดโดยผ่านความมุ่งมั่นของผู้บริหารระดับสูง โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เท่ากับ 0.17 (p-value < 0.05) และมีค่าสัมประสิทธิ์ของอิทธิพลรวมเท่ากับ 0.72 (p-value < 0.01) ส่วนผลการตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของตัวแปรแฝง สมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัต ความมุ่งมั่นของผู้บริหาร ผลประกอบการองค์การ ผลการดำเนินงานด้านการตลาด และผลการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และองค์ประกอบย่อยของโมเดลโครงสร้าง โดยมีค่า /df = 3.300, NFI = 0.921, IFI = 0.944, TLI = 0.929, CFI = 0.943, RMR = 0.047, RMSEA = 0.078 (p-value < 0.01)
栨闉憵灕และศึกษาอิทธิพลทาง้อมของสมรรถนะในการวิผ่นตัวแปรส่งผ่นความุ่งมันขงผู้บริหารโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหารที่รับผิดชอบหน่วยงานต่าง ๆ ขององค์กร จำนวน 379 คน และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยแบบจำลองสมการโครงสร้าง (SEM) จากการศึกษาพบว่าสมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัตมอีิทธิพลทางตรงต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งืยน ด้านผลประกอบการของค์กร ด้านการตลาด และด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เท่ากับ 0.65, 0.55 และ 0.49 ตามลำดับ (p-value < 0.01) และีอิทธิพลทางอ้อมต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนด้านการตลาดโยผ่านความุ่งมั่นของผู้บริหาระดับสูง โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เท่ากับ 0.17 (p-value < 0.05) และมีค่าสัมประสิทธิ์ของอิทธิพลรวมเท่ากับ 0.72 (p-value < 0. 01) ส่วนธิ์ของอิทธิพลรวมเท่ากับ 0.01) ส่วนผลการตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของตัวแปรแฝง สมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัตความุ่งมันของผู้บริหาร ผลประกอบารองค์การ300, NFI = 0.921, IFI = 0.944, TLI = 0.929, CFI = 0.943, RMR = 0.047, RMSEA = 0.078 (p-value < 0.01)
{"title":"สมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัตเพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนของบริษัทโทรคมนาคมในประเทศไทยผ่านตัวแปรส่งผ่าน “ความมุ่งมั่นของผู้บริหารระดับสูง”","authors":"วิศาลศรี นิโลดม, สวัสดิ์ วรรณรัตน์","doi":"10.60101/rmuttgber.2023.269399","DOIUrl":"https://doi.org/10.60101/rmuttgber.2023.269399","url":null,"abstract":"การวิจัยเชิงปริมาณนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของสมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัตที่มีต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืน และศึกษาอิทธิพลทางอ้อมของสมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัตที่มีต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืน โดยผ่านตัวแปรส่งผ่านความมุ่งมั่นของผู้บริหาร โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหารที่รับผิดชอบหน่วยงานต่าง ๆ ขององค์กร จำนวน 379 คน และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยแบบจำลองสมการโครงสร้าง (SEM) จากการศึกษาพบว่า สมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัตมีอิทธิพลทางตรงต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืน ด้านผลประกอบการขององค์กร ด้านการตลาด และด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เท่ากับ 0.65, 0.55 และ 0.49 ตามลำดับ (p-value < 0.01) และมีอิทธิพลทางอ้อมต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนด้านการตลาดโดยผ่านความมุ่งมั่นของผู้บริหารระดับสูง โดยมีค่าสัมประสิทธิ์เท่ากับ 0.17 (p-value < 0.05) และมีค่าสัมประสิทธิ์ของอิทธิพลรวมเท่ากับ 0.72 (p-value < 0.01) ส่วนผลการตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของตัวแปรแฝง สมรรถนะในการวิเคราะห์ข้อมูลมหัต ความมุ่งมั่นของผู้บริหาร ผลประกอบการองค์การ ผลการดำเนินงานด้านการตลาด และผลการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และองค์ประกอบย่อยของโมเดลโครงสร้าง โดยมีค่า /df = 3.300, NFI = 0.921, IFI = 0.944, TLI = 0.929, CFI = 0.943, RMR = 0.047, RMSEA = 0.078 (p-value < 0.01)","PeriodicalId":508629,"journal":{"name":"RMUTT Global Business and Economics Review","volume":"944 ","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2023-12-16","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"139177034","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ของผู้บริโภค จังหวัดนครราชสีมา ปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ของผู้บริโภค จังหวัดนครราชสีมา
Pub Date : 2023-12-16 DOI: 10.60101/rmuttgber.2023.267698
อัจฉราพรรณ ตั้งจาตุรโสภณ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ของผู้บริโภค จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างคือผู้บริโภคที่อาศัยอยู่ในจังหวัดนครราชสีมา ที่มีความสนใจหรือมีความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ จำนวน 384 ตัวอย่าง โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติเชิงพรรณนาที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ ด้วยวิธี Enter ผลการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง สถานภาพโสด มีอายุในช่วง 25-34 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ในช่วง 15,001-25,000 บาท และมีอาชีพเป็นข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ ให้ความสําคัญกับปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีและมีระดับความคิดเห็นในความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ โดยรวมอยู่ระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีมีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ของผู้บริโภค จังหวัดนครราชสีมา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 สามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 68.80 โดยแสดงในรูปคะแนนมาตรฐาน Y = 0.296 + 0.484 x6 (การนำมาใช้จริง) + 0.184 x5 (ความตั้งใจที่จะใช้) + 0.124 x1 (การรับรู้ถึงประโยชน์)
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปจัยการอยมรับเทคโนโลยีที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซ้อรถยนต์ไฟฟ้าแบแบตเตอรี่อขงผู้บริโภค จังหวัดนครราชสีมากลุ่มตัวอยย่างคือผูบริโภคที่าอศัยอยยู่ในจังหวัดนคราชสีมา ที่มีความสนใจหรือมีความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบแบตเอตรี จำนวน 384 ตัวอย่างโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติเชิงพรรณนาที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าความถี่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมตารฐานสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ ด้วยวิธี Enter ผลการศึกษา พบว่า ผู้ตอแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญง สถานภาพโดส มีอายุในช่วง 25-34 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ในช่วง 15、001-25,000 บาท และมีอาชีพเป็นข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ ให้ความสําคัญกับปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีและมีระดับความคิดเห็นในความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ โดยรวมอยู่ระดับมากผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจัยการยอมรับเทคโนโลยีมีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบเตอรี่ของผู้บริโภค จังหวัดนคราชสีมา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 สามารถพยากรณ์ไดร้ยอละ 68.80 โดยแสดงในรูปคะแนมาตรฐาน Y = 0.296 + 0.484 x6 (การนำมาใช้จริง) + 0.184 x5 (ความตั้งใจที่จะใช้) + 0.124 x1 (การรับรู้ถึงประโยชน์)
{"title":"ปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ของผู้บริโภค จังหวัดนครราชสีมา","authors":"อัจฉราพรรณ ตั้งจาตุรโสภณ","doi":"10.60101/rmuttgber.2023.267698","DOIUrl":"https://doi.org/10.60101/rmuttgber.2023.267698","url":null,"abstract":"การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ของผู้บริโภค จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างคือผู้บริโภคที่อาศัยอยู่ในจังหวัดนครราชสีมา ที่มีความสนใจหรือมีความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ จำนวน 384 ตัวอย่าง โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติเชิงพรรณนาที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ ด้วยวิธี Enter ผลการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง สถานภาพโสด มีอายุในช่วง 25-34 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ในช่วง 15,001-25,000 บาท และมีอาชีพเป็นข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ ให้ความสําคัญกับปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีและมีระดับความคิดเห็นในความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ โดยรวมอยู่ระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีมีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ของผู้บริโภค จังหวัดนครราชสีมา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 สามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 68.80 โดยแสดงในรูปคะแนนมาตรฐาน Y = 0.296 + 0.484 x6 (การนำมาใช้จริง) + 0.184 x5 (ความตั้งใจที่จะใช้) + 0.124 x1 (การรับรู้ถึงประโยชน์)","PeriodicalId":508629,"journal":{"name":"RMUTT Global Business and Economics Review","volume":"246 1","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2023-12-16","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"139176878","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
EVALUATING THE EFFECTS OF TRADE ON LAO PDR'S LDC GRADUATION 评估贸易对老挝人民民主共和国毕业的影响
Pub Date : 2023-12-16 DOI: 10.60101/rmuttgber.2023.267180
Piya Wongpit
Lao PDR has achieved remarkable progress in terms of economic development, but it still faces many challenges to achieve its goal of graduation from LDC status by 2026. LDC graduation also comes with some challenges, including the phasing out of international support measures that are associated with LDC status, which will need to be addressed. The objectives of this paper are to identify lessons learned from other countries’ LDC graduation; analyze trade access to the market and expected impacts under LDC and evaluate the perceptions of private sectors on LDC graduation. The Export Potential Indicator was applied to evaluate potential products after graduation from LDC. As there are no changes in tariff preferences and huge export potential in Thailand, Vietnam, and China markets therefore the impact on exports after is expected to be minor. However, LDC graduation is projected to significantly impact exports to the European Union market.
老挝人民民主共和国在经济发展方面取得了令人瞩目的进步,但要实现到 2026 年脱离最不发达国家地位的目标,仍面临许多挑战。脱离最不发达国家地位也伴随着一些挑战,包括逐步取消与最不发达国家地位相关的国际支持措施,这些都需要加以解决。本文的目的是找出其他国家从最不发达国家地位毕业的经验教训;分析最不发达国家地位下的市场贸易准入和预期影响,以及评估私营部门对最不发达国家毕业的看法。出口潜力指标用于评估从最不发达国家毕业后的潜在产品。由于关税优惠没有变化,而且泰国、越南和中国市场的出口潜力巨大,因此预计毕业后对出口的影响较小。然而,脱离最不发达国家地位后,预计将对欧盟市场的出口产生重大影响。
{"title":"EVALUATING THE EFFECTS OF TRADE ON LAO PDR'S LDC GRADUATION","authors":"Piya Wongpit","doi":"10.60101/rmuttgber.2023.267180","DOIUrl":"https://doi.org/10.60101/rmuttgber.2023.267180","url":null,"abstract":"Lao PDR has achieved remarkable progress in terms of economic development, but it still faces many challenges to achieve its goal of graduation from LDC status by 2026. LDC graduation also comes with some challenges, including the phasing out of international support measures that are associated with LDC status, which will need to be addressed. The objectives of this paper are to identify lessons learned from other countries’ LDC graduation; analyze trade access to the market and expected impacts under LDC and evaluate the perceptions of private sectors on LDC graduation. The Export Potential Indicator was applied to evaluate potential products after graduation from LDC. As there are no changes in tariff preferences and huge export potential in Thailand, Vietnam, and China markets therefore the impact on exports after is expected to be minor. However, LDC graduation is projected to significantly impact exports to the European Union market.","PeriodicalId":508629,"journal":{"name":"RMUTT Global Business and Economics Review","volume":"991 1","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2023-12-16","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"139176955","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
期刊
RMUTT Global Business and Economics Review
全部 Acc. Chem. Res. ACS Applied Bio Materials ACS Appl. Electron. Mater. ACS Appl. Energy Mater. ACS Appl. Mater. Interfaces ACS Appl. Nano Mater. ACS Appl. Polym. Mater. ACS BIOMATER-SCI ENG ACS Catal. ACS Cent. Sci. ACS Chem. Biol. ACS Chemical Health & Safety ACS Chem. Neurosci. ACS Comb. Sci. ACS Earth Space Chem. ACS Energy Lett. ACS Infect. Dis. ACS Macro Lett. ACS Mater. Lett. ACS Med. Chem. Lett. ACS Nano ACS Omega ACS Photonics ACS Sens. ACS Sustainable Chem. Eng. ACS Synth. Biol. Anal. Chem. BIOCHEMISTRY-US Bioconjugate Chem. BIOMACROMOLECULES Chem. Res. Toxicol. Chem. Rev. Chem. Mater. CRYST GROWTH DES ENERG FUEL Environ. Sci. Technol. Environ. Sci. Technol. Lett. Eur. J. Inorg. Chem. IND ENG CHEM RES Inorg. Chem. J. Agric. Food. Chem. J. Chem. Eng. Data J. Chem. Educ. J. Chem. Inf. Model. J. Chem. Theory Comput. J. Med. Chem. J. Nat. Prod. J PROTEOME RES J. Am. Chem. Soc. LANGMUIR MACROMOLECULES Mol. Pharmaceutics Nano Lett. Org. Lett. ORG PROCESS RES DEV ORGANOMETALLICS J. Org. Chem. J. Phys. Chem. J. Phys. Chem. A J. Phys. Chem. B J. Phys. Chem. C J. Phys. Chem. Lett. Analyst Anal. Methods Biomater. Sci. Catal. Sci. Technol. Chem. Commun. Chem. Soc. Rev. CHEM EDUC RES PRACT CRYSTENGCOMM Dalton Trans. Energy Environ. Sci. ENVIRON SCI-NANO ENVIRON SCI-PROC IMP ENVIRON SCI-WAT RES Faraday Discuss. Food Funct. Green Chem. Inorg. Chem. Front. Integr. Biol. J. Anal. At. Spectrom. J. Mater. Chem. A J. Mater. Chem. B J. Mater. Chem. C Lab Chip Mater. Chem. Front. Mater. Horiz. MEDCHEMCOMM Metallomics Mol. Biosyst. Mol. Syst. Des. Eng. Nanoscale Nanoscale Horiz. Nat. Prod. Rep. New J. Chem. Org. Biomol. Chem. Org. Chem. Front. PHOTOCH PHOTOBIO SCI PCCP Polym. Chem.
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
0
微信
客服QQ
Book学术公众号 扫码关注我们
反馈
×
意见反馈
请填写您的意见或建议
请填写您的手机或邮箱
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
现在去查看 取消
×
提示
确定
Book学术官方微信
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术
文献互助 智能选刊 最新文献 互助须知 联系我们:info@booksci.cn
Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。
Copyright © 2023 Book学术 All rights reserved.
ghs 京公网安备 11010802042870号 京ICP备2023020795号-1