首页 > 最新文献

Interdisciplinary Academic and Research Journal最新文献

英文 中文
การใช้เทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการร้านขายยาแผนปัจจุบัน การใช้เทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการร้านขายยาแผนปัจจุบัน
Pub Date : 2024-04-08 DOI: 10.60027/iarj.2024.274604
พชร ชัยรัตนประภา, ธนัญชกร ปกิตตาวิจิตร, ศุภวัฒน์ สุขะปรเมษฐ
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ธุรกิจยาแผนปัจจุบันต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในสภาวะที่เทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ การนำเทคโนโลยีมาใช้ในด้านการบริหารจัดการสามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการทางธุรกิจ และเสริมสร้างความสามารถในการปรับตัวและปรับเปลี่ยนเพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในอุตสาหกรรมยา บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางและวิธีการที่ธุรกิจยาแผนปัจจุบันสามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการร้านขายยาแผนปัจจุบันในการบริหารจัดการสต็อก และการตรวจสอบคุณภาพและการประกันคุณภาพผลิตภัณฑ์ระเบียบวิธีการวิจัย : การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์และนําเสนอตามประเด็นวัตถุประสงค์การศึกษาผลการศึกษา:  การใช้เทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการร้านขายยาแผนปัจจุบัน ได้แก่ การจัดการสินค้าคงคลัง (Inventory Management)  การประมวลผลตามใบสั่งแพทย์ (Prescription Processing) การจ่ายยา (Medication Dispensing) การสื่อสารผู้ป่วย (Patient Communication) การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analytics) และ การปฏิบัติตามกฎระเบียบ (Regulatory Adherence)สรุปผล: ผลการวิจัยบ่งชี้ว่าการใช้เทคโนโลยีนำไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพในด้านต่างๆ ของการจัดการร้านขายยาสมัยใหม่ ซึ่งรวมถึงการปรับปรุงการจัดการสินค้าคงคลัง การประมวลผลตามใบสั่งยา การจ่ายยา การสื่อสารกับผู้ป่วย การวิเคราะห์ข้อมูล และการปฏิบัติตามกฎระเบียบ
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:ธุรกจยาแผนปัจุบันต้องเผชิญกับารเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว↪LoE43↩นสภาวะที่เทคโนลยีมีบทบาทสำคั↪LoE0D↩↪LoE43↩นการพั↪LoE12↩นาผิตภั↪LoE13↩↪LoE11↩์และบริการการนำเทคโนโลยีมาใช้ในด้านการบริหารจัดการสามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการทางธุรกิจ และเสริมสร้างความสามารถในการปรับตัวและปรับเปลี่ยนเพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในอุตสาหกรรมยาบทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางและวิธีการที่ธุรกิจยาแผนปัจจุบันสามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการร้านขายยาแผนปัจจุบันในการบริหารจัดการสต็อกและการตรวจสอบคุ↪LoE13↩ภาพและการประกันคุ↪LoE13↩ภาพ↪LoE1C↩ลิตภั↪LoE13↩↪LoE11↩์ระเบียบวิ↪LoE18↩ีการวิจัย :การศ ึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเอกสารและงนวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิเคราคมประเด็นวัตัถุประสงนวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิเคราคมประเด็นวัตัถุประสงนวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิเครารศึกษา: การใช้เทคนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ้านขายยาแผนปัจจุบัน ได้แก่ การจัดการสินค้าคงคลัง (库存管理) การประมวลผลตามใบสั่งแทย์(处方处理) การจ่ายยา (配药) การสือสารผู้่ปวย (患者沟通) การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analytics) และ การปฏิบัติตามกฎระเบียบ (Regulatory Adherence)สรุปผล:ผลการวิจัยบ่งชี้ว่าการใช้เทคโนโลยีนำไปูส่การเพิ่มประสิทธิภาพในด้านต่างๆ ของการจัดการ้านขายยาสมัยใหม่เด็กเด็กจัเด็กจัเสินค้าคงคอกจัเสินคาคงคอกจัเสินค้าคอกจันคอกจันคอกจันคอกจันคอกจันคอกจันคอกจันคอกจันคอกจันคอกจันคอกจันคอกจันคอกจันคอกจันคอกจันคอกจันคอกจันคอกจันคอกจันคอกจันวมยใม
{"title":"การใช้เทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการร้านขายยาแผนปัจจุบัน","authors":"พชร ชัยรัตนประภา, ธนัญชกร ปกิตตาวิจิตร, ศุภวัฒน์ สุขะปรเมษฐ","doi":"10.60027/iarj.2024.274604","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.274604","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ธุรกิจยาแผนปัจจุบันต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในสภาวะที่เทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ การนำเทคโนโลยีมาใช้ในด้านการบริหารจัดการสามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการทางธุรกิจ และเสริมสร้างความสามารถในการปรับตัวและปรับเปลี่ยนเพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในอุตสาหกรรมยา บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางและวิธีการที่ธุรกิจยาแผนปัจจุบันสามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการร้านขายยาแผนปัจจุบันในการบริหารจัดการสต็อก และการตรวจสอบคุณภาพและการประกันคุณภาพผลิตภัณฑ์\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย : การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์และนําเสนอตามประเด็นวัตถุประสงค์การศึกษา\u0000ผลการศึกษา:  การใช้เทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการร้านขายยาแผนปัจจุบัน ได้แก่ การจัดการสินค้าคงคลัง (Inventory Management)  การประมวลผลตามใบสั่งแพทย์ (Prescription Processing) การจ่ายยา (Medication Dispensing) การสื่อสารผู้ป่วย (Patient Communication) การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analytics) และ การปฏิบัติตามกฎระเบียบ (Regulatory Adherence)\u0000สรุปผล: ผลการวิจัยบ่งชี้ว่าการใช้เทคโนโลยีนำไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพในด้านต่างๆ ของการจัดการร้านขายยาสมัยใหม่ ซึ่งรวมถึงการปรับปรุงการจัดการสินค้าคงคลัง การประมวลผลตามใบสั่งยา การจ่ายยา การสื่อสารกับผู้ป่วย การวิเคราะห์ข้อมูล และการปฏิบัติตามกฎระเบียบ","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"24 11‐12","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-04-08","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"140729050","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ความคิดเห็นต่อหลักธรรมาภิบาลของบุคลากรกองพัฒนานิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ความคิดเห็นต่อหลักธรรมาภิบาลของบุคลากรกองพัฒนานิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Pub Date : 2024-04-08 DOI: 10.60027/iarj.2024.276382
ณัฐพล ประชุมของ
ประสิทธิผล หากนำมาปรับใช้และพัฒนางานของกองพัฒนานิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จะเกิดประโยชน์แก่บุคลากรและองค์กร โดยการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความคิดเห็นต่อหลักธรรมาภิบาลของบุคลากรกองพัฒนานิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2) ศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อหลักธรรมาภิบาล ตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านความรู้ความเข้าใจต่อหลักธรรมาภิบาลกับความคิดเห็นต่อหลักธรรมาภิบาล และ (4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการรับรู้หลักธรรมาภิบาล ผ่านสื่อต่าง ๆ กับความคิดเห็นต่อหลักธรรมาภิบาลระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัยครั้งนี้ได้แก่ บุคลากรกองพัฒนานิสิต จำนวน 127 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติ t-test One-Way ANOVA LSD และ Pearson Product Moment Correlation Coefficient โดยกำหนดระดับค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05ผลการศึกษา: ผลการวิจัยพบว่า บุคลากรกองพัฒนานิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีความคิดเห็นต่อหลักธรรมาภิบาล อยู่ในระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า เพศ อายุ ประสบการณ์การทำงาน รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ที่แตกต่างกัน ของบุคลากรกองพัฒนานิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีความคิดเห็นต่อหลักธรรมาภิบาลในภาพรวมไม่แตกต่างกัน ส่วนระดับการศึกษา ของบุคลากรกองพัฒนานิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีความคิดเห็นต่อหลักธรรมาภิบาลแตกต่างกัน นอกจากนี้ความรู้ความเข้าใจต่อหลักธรรมาภิบาลมีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นต่อหลักธรรมาภิบาล ของบุคลากรกองพัฒนานิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในทิศทางตามกันน้อย (r =.36) และการรับรู้หลักธรรมาภิบาลผ่านสื่อต่าง ๆ มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นต่อหลักธรรมาภิบาล ของบุคลากรกองพัฒนานิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในทิศทางตามกันน้อย (r =.39)สรุปผล: บุคลากรมีความคิดเห็นต่อหลักธรรมาภิบาลในภาพรวม อยู่ในระดับมาก แต่เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านหลักการมีส่วนร่วมของสาธารณชน มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ดังนั้น ควรมีการจัดอบรมบุคลากรในประเด็นของ การเปิดโอกาสให้นิสิตเข้ามาแสดงความคิดเห็นและประเมินความพึงพอใจในการรับบริการ ผ่านช่องทางไลน์ เว็บไซต์ ให้มาก รวมถึงการปฏิบัติต่อเพื่อนร่วมงานอย่างเท่าเทียมกัน เป็นธรรม สุจริต ยึดความ โปร่งใส จัดเก็บเอกสารอย่างเป็นระบบเพื่อการตรวจสอบได้ง่าย ส่งผลให้การดำเนินงานต่าง ๆ ของ หน่วยงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ประสิทธิผล หากนำมาปรับใช้และพัฒนางานของกองพัฒนานิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จะเกิดประโยชน์แก่บุคลากรและองค์กร โดยการวิจัยครั้งนี้ีมวัตถ↩ุประสงค์เพื่อ(1) ศึกษาระดับความคิดเห็นตักธรรมาภิบาลของบุคลากรอกงพัฒนานิสิต มหาวิทยาลัยกษเตรศาสตร์ (2) ศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อหารักธรมาภิบาล(3) ศึกษาควมสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านความเข้าใจต่อหาลักธรรมภาิบาลกับควาคมิดเห็นต่อหาลักธรมภาิบาล และ(4) ศึกษาความสัมพันธ์รหะหว่างปัจจัยด้านการรับรู้าหลักธรรมาภิบาล ผ่านสือต่าง ๆ กับความคิดเห็ต่อหักธรรมาภิบาลระเบียบวิธีการวจัย:กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวจัยครั้งนี้ได้แก่ มตุคลากรกองพัฒนานิสิต จำนวน 127 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็เนครื่องมือในการรวบรวมข้มอูลสถิติที่ใช้ในการวิเคราะข์้อมูล คอื ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติ t-检验 单向方差分析 LSD และ Pearson Product Moment Correlation Coefficient โดยกำหนดระดับ่คานัยสคัญทางสถิติที่ระดับ.05ผลการศึกษา:ผลากรวิจัยพบว่า ุบคลากรกองพัฒนานิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีความคิเดหน็่อหารักธรรมาภิบาล อยู่ในระดับมาก ผลการทดสอบสมติฐานพบว่า เพศ อายุประสบการณ์การทำงาน รายได้เลี่ยต่อเดือน ที่แตกต่างกัน ของบุคลากรอกงพัฒนานิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีความคิเห็ต่อหาักธรรมภาิบาลในภาพรวมไม่แตกต่างกันส่วนระดับการศึกษา ของบคอุลากรกงพัฒนานสิ มตหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีความคิดเห็นต่อหาลักธรมาภิบาลแตตก่งกันนอกจากนี้ความรู้ความเข้าใจจ่ตอหาลักธรรมภาิบาลมีความสัมพันธ์กับความิคดเห็นต่อหาลักธรรมาภิบาล ของบุคลากรอกงพัฒนานิสติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในทิศทางตามกัน้อย (r =.36) และากรรับรู้าหาลักธรรมาภิบาลผ่านส่ือต่าง ๆ มีความสัมพันธ์กับควาคมิดเห็นต่อหาลักธรมภิบาล ของบุคลากกรองพัฒนานิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในทิศทางตามกัน้อย (r =.39)สรุปผล:มติคากรมีความคิดเห็นต่อกธรรมาภิบาลใภนาพรวม อยู่ในระดับมาก แต่เมื่อพจิารณารายด้าน พบว่า ด้านหาลัการมีส่วนร่วมของสาธารณชนมีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ดังนั้น ควรมีการจัดอบรมบุคลากรในประเด็นของ การเปิดโอกาสให้นิสิเตข้ามาแสดงความคิเด็หนแลปะระเมินความพึงพอใจในการรับริการผานช่องทางไลน์ เว็บไซต์ ใ้มาก รวมถึงการปฏบัติต่อเพือนร่วมงานอย่างเท่าเทียมกัน เป็นธรม สุจริต ยึดวคาม โปร่งใสจัดเก็บเอกสารอย่างเป็นระบเพือการตรวจสอบได้ง่าย ส่งผลให้ารดำเนิงานต่าง ๆ ของ หนิงานป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
{"title":"ความคิดเห็นต่อหลักธรรมาภิบาลของบุคลากรกองพัฒนานิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์","authors":"ณัฐพล ประชุมของ","doi":"10.60027/iarj.2024.276382","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276382","url":null,"abstract":"ประสิทธิผล หากนำมาปรับใช้และพัฒนางานของกองพัฒนานิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จะเกิดประโยชน์แก่บุคลากรและองค์กร โดยการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความคิดเห็นต่อหลักธรรมาภิบาลของบุคลากรกองพัฒนานิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2) ศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อหลักธรรมาภิบาล ตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านความรู้ความเข้าใจต่อหลักธรรมาภิบาลกับความคิดเห็นต่อหลักธรรมาภิบาล และ (4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการรับรู้หลักธรรมาภิบาล ผ่านสื่อต่าง ๆ กับความคิดเห็นต่อหลักธรรมาภิบาล\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัยครั้งนี้ได้แก่ บุคลากรกองพัฒนานิสิต จำนวน 127 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติ t-test One-Way ANOVA LSD และ Pearson Product Moment Correlation Coefficient โดยกำหนดระดับค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05\u0000ผลการศึกษา: ผลการวิจัยพบว่า บุคลากรกองพัฒนานิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีความคิดเห็นต่อหลักธรรมาภิบาล อยู่ในระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า เพศ อายุ ประสบการณ์การทำงาน รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ที่แตกต่างกัน ของบุคลากรกองพัฒนานิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีความคิดเห็นต่อหลักธรรมาภิบาลในภาพรวมไม่แตกต่างกัน ส่วนระดับการศึกษา ของบุคลากรกองพัฒนานิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีความคิดเห็นต่อหลักธรรมาภิบาลแตกต่างกัน นอกจากนี้ความรู้ความเข้าใจต่อหลักธรรมาภิบาลมีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นต่อหลักธรรมาภิบาล ของบุคลากรกองพัฒนานิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในทิศทางตามกันน้อย (r =.36) และการรับรู้หลักธรรมาภิบาลผ่านสื่อต่าง ๆ มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นต่อหลักธรรมาภิบาล ของบุคลากรกองพัฒนานิสิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในทิศทางตามกันน้อย (r =.39)\u0000สรุปผล: บุคลากรมีความคิดเห็นต่อหลักธรรมาภิบาลในภาพรวม อยู่ในระดับมาก แต่เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านหลักการมีส่วนร่วมของสาธารณชน มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ดังนั้น ควรมีการจัดอบรมบุคลากรในประเด็นของ การเปิดโอกาสให้นิสิตเข้ามาแสดงความคิดเห็นและประเมินความพึงพอใจในการรับบริการ ผ่านช่องทางไลน์ เว็บไซต์ ให้มาก รวมถึงการปฏิบัติต่อเพื่อนร่วมงานอย่างเท่าเทียมกัน เป็นธรรม สุจริต ยึดความ โปร่งใส จัดเก็บเอกสารอย่างเป็นระบบเพื่อการตรวจสอบได้ง่าย ส่งผลให้การดำเนินงานต่าง ๆ ของ หน่วยงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"9 6","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-04-08","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"140729655","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การใช้ทักษะดิจิทัลในการบริหารงานของวิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชสีมา การใช้ทักษะดิจิทัลในการบริหารงานของวิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชสีมา
Pub Date : 2024-04-08 DOI: 10.60027/iarj.2024.275674
สุพจน์ พิมประสาร, ณรงค์ชัย บุญมั่น, อมรรัตน์ พุทธอริยวงศ์, ชลวัฒน์ กิมซัว, ศักดิ์สิทธิ์ เทียมคำ
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ปัจจุบันการใช้ทักษะดิจิทัลสำหรับการบริหารงานระดับอุดมศึกษาถือว่าเป็นอีกทักษะหนึ่งที่สำคัญมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หัวหน้าผู้บริหารสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีส่วนสำคัญในบริหารคณะทำงานในองค์กรที่ต้องใช้ความรู้และประสบการณ์ดิจิทัลเพื่อที่จะจัดการการบริหารบุคลากรให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ สำหรับการวิจัยในครั้งนี้ วิทยาลัยศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยได้ให้ความสำคัญในเรื่องทักษะการใช้งานดิจิทัลในการบริหารงานด้านการศึกษาเพื่อให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการใช้ทักษะดิจิทัลสำหรับการบริหารงาน 2) ศึกษาการประเมินการใช้ทักษะดิจิทัลสำหรับการบริหารงาน และ 3) ศึกษาความพึงพอใจในการใช้ทักษะดิจิทัลสำหรับการบริหารงาน ซึ่งทำการศึกษาที่วิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชสีมา อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมาระเบียบวิธีวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้มีส่วนได้ส่วนจำนวน 100 คน ได้แก่ อาจารย์ 15 คน บุคลากรสนับสนุนอีก 12 คน และนักศึกษา 72 คน รวม 100 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบ 2 ขั้นตอน ใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้นปีการศึกษา โดยแบ่งตามขนาดจำนวนนักศึกษาแต่ละชั้นปีการศึกษา ภายในวิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชสีมา อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ภาคเรียนที่ 2 ในปีการศึกษา 2023 เครื่องมือวิจัยในครั้งนี้ คือ แบบสอบถามชนิดมาตราส่วนโดยแบ่งเกณฑ์การวัดผลการประเมินทั้งหมด 5 ระดับ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัย: ศักยภาพในการใช้ทักษะดิจิทัลถูกใช้อย่างมีประสิทธิภาพอย่างมากในการบริหารงานของวิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชีมา นอกจากนั้นยังพบว่า (1) ภาพรวมการใช้ทักษะดิจิทัลของบริหารงานอยู่ในระดับสูง (2) การสำรวจความพึงพอใจในการใช้ทักษะดิจิทัลของบริหารงานโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (3) ประเด็นที่จำเป็นสูงสุดคือการสื่อสารด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลโดยการใช้ทักษะดิจิทัลสำหรับการพัฒนาการบริหารงานของวิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชสีมาสรุปผล: การใช้ทักษะดิจิทัลในการบริหารวิทยาลัยวิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชสีมาอยู่ในระดับที่สูงอย่างมีนัยสำคัญและการประเมินความต้องการเป็นตัวชี้วัดศักยภาพในการใช้ทักษะดิจิทัลเพื่อการพัฒนาการบริหารงานควบคู่กับเทคโนโลยีดิจิทัล
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:ปัจุบันการใช้ทักษะดิจิทัลสำคัญมาก โดยเฉพาะอย่างย่ิหัวหน้าผู้บริหารสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีส่วนสำคัญในบริหารคณะทำงานในองค์กรที่ต้องใช้ความรู้และประสบการณ์ดิจิทัลเพื่อที่จะจัดการการบริหารบุคลากรให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพสำรับารวิจัยในครั้งนี้ วิทยาลัยศาสนศาสตร์มหาวิทยาลัยมหากุฏราชวิทยาลัยได้ให้ความสสำคัญในเรอื่งทักษะการใช้งานดิจิทัลในการบริหารงนด้านการศึษกาเพอืืให้บรรุเป้าหมายอยา่งมีปะสิทธิภาพและประสิทธิผลการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการใช้ทักษะดิจิทัลสำหรับการบริหารงน2) เE28↩ึกษาการประเมินการใช้ทักษะดิจิทัลสำจิทัลสำบการบริน และ 3) ศึกษาความพึงพอใจในการใช้ทักษะดิจิทัลสำบการบริหารงานึซ่งทำการศึษาที่วิทยาลัยศาสนศาตสร์นคราชสีมา อำเภอเมอืง จังหวัดนคราชสีมาระเบียบวิธีวจั:100 คน เด้แก่ อาจารย์ 15 คน มตัวอย่าง คือ ผู้มีส่วนศึกษา 72 คน รวม 100 คนใช้วิธีการสุ่มแบ 2 ขั้นตอน ใช้ารสุ่มแบแบ่งชั้นปีการศึกษา โดยแบ่งตามขนาดจำนวนักศึกษา แต่ละชั้นปีการศึกษาภายในวิทยาลัยศาสนศาสตร์นคราชสีมา อเภำอเมือง จังหวัดนคราชสีมา ภาคเรียนที่ 2 ในปีการศึกษา 2023 เครื่องมือวิจัยในครั้งีนคือ แบสอบถามชนิดมาตราส่วนโดยแบ่งเกณฑ์การวัดผลการประเมินทั้งหมด 5 ระดับ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนาตรฐานผลการวิจัย:ศักยภาพในการใช้ทักษะดิจิทัลถูกใช้อย่างมีประสิทธิภาพอย่างมากในการบริหารงานของวิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชีมา นอกจากนั้นยังพบว่า (1) ภาพรวมการใช้ทักษะดิจิทัลของบริหารงานอยู่ในระดับสูง (2)การสำรวจความพึงพอใจในการใช้ทักษดิจิทัลองกโดยรวมอยู่ในระดบมากที่สุด (3)ประเด็นที่จำเป็นสูงสุดือการสือสารด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลโดยการใช้ทักษะดิจิทัลสำหรับารพัฒนาการบริหารงานของวิทยาลัยศาสนศาสตร์นคราชสีมสารุปผล:การใช้ทักษะดิจิทัลในการบริหารวิทยาลัยวิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชสีมาอยู่ในระดับที่สูงอย่างมีนัยสำคัญและการประเมินความต้องการเป็นตัวชี้วัดศักยภาพในการใช้ทักษะดิจิทัลเพื่อการพัฒนาการบริหารงานควบคู่กับเทคโนโลยีดิจิทัล
{"title":"การใช้ทักษะดิจิทัลในการบริหารงานของวิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชสีมา","authors":"สุพจน์ พิมประสาร, ณรงค์ชัย บุญมั่น, อมรรัตน์ พุทธอริยวงศ์, ชลวัฒน์ กิมซัว, ศักดิ์สิทธิ์ เทียมคำ","doi":"10.60027/iarj.2024.275674","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.275674","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ปัจจุบันการใช้ทักษะดิจิทัลสำหรับการบริหารงานระดับอุดมศึกษาถือว่าเป็นอีกทักษะหนึ่งที่สำคัญมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หัวหน้าผู้บริหารสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีส่วนสำคัญในบริหารคณะทำงานในองค์กรที่ต้องใช้ความรู้และประสบการณ์ดิจิทัลเพื่อที่จะจัดการการบริหารบุคลากรให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ สำหรับการวิจัยในครั้งนี้ วิทยาลัยศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยได้ให้ความสำคัญในเรื่องทักษะการใช้งานดิจิทัลในการบริหารงานด้านการศึกษาเพื่อให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการใช้ทักษะดิจิทัลสำหรับการบริหารงาน 2) ศึกษาการประเมินการใช้ทักษะดิจิทัลสำหรับการบริหารงาน และ 3) ศึกษาความพึงพอใจในการใช้ทักษะดิจิทัลสำหรับการบริหารงาน ซึ่งทำการศึกษาที่วิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชสีมา อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา\u0000ระเบียบวิธีวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้มีส่วนได้ส่วนจำนวน 100 คน ได้แก่ อาจารย์ 15 คน บุคลากรสนับสนุนอีก 12 คน และนักศึกษา 72 คน รวม 100 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบ 2 ขั้นตอน ใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้นปีการศึกษา โดยแบ่งตามขนาดจำนวนนักศึกษาแต่ละชั้นปีการศึกษา ภายในวิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชสีมา อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ภาคเรียนที่ 2 ในปีการศึกษา 2023 เครื่องมือวิจัยในครั้งนี้ คือ แบบสอบถามชนิดมาตราส่วนโดยแบ่งเกณฑ์การวัดผลการประเมินทั้งหมด 5 ระดับ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน\u0000ผลการวิจัย: ศักยภาพในการใช้ทักษะดิจิทัลถูกใช้อย่างมีประสิทธิภาพอย่างมากในการบริหารงานของวิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชีมา นอกจากนั้นยังพบว่า (1) ภาพรวมการใช้ทักษะดิจิทัลของบริหารงานอยู่ในระดับสูง (2) การสำรวจความพึงพอใจในการใช้ทักษะดิจิทัลของบริหารงานโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (3) ประเด็นที่จำเป็นสูงสุดคือการสื่อสารด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลโดยการใช้ทักษะดิจิทัลสำหรับการพัฒนาการบริหารงานของวิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชสีมา\u0000สรุปผล: การใช้ทักษะดิจิทัลในการบริหารวิทยาลัยวิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชสีมาอยู่ในระดับที่สูงอย่างมีนัยสำคัญและการประเมินความต้องการเป็นตัวชี้วัดศักยภาพในการใช้ทักษะดิจิทัลเพื่อการพัฒนาการบริหารงานควบคู่กับเทคโนโลยีดิจิทัล","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"60 6","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-04-08","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"140730011","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การศึกษาโครงการการส่งเสริมการพัฒนาชุมชนภายในอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา การศึกษาโครงการการส่งเสริมการพัฒนาชุมชนภายในอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
Pub Date : 2024-04-08 DOI: 10.60027/iarj.2024.275658
พระครูพิจิตรธรรมปคุณ (จักรกฤษณ์ พุฒบุรี), พระอุดมธีรคุณ (ภาวัต แสวงดี), พระมหาจิณกมล อภิรตโน (จิณกมล เป็นสุข), ประครอง งามชัยภูมิ, ชลวัฒน์ กิมซัว
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: โครงการการส่งเสริมการพัฒนาชุมชนภายในอำเภอเมืองนครราชสีมาเป็นส่วนของโครงการบริการวิชาการของวิทยาลัยสนศาสตร์นครราชสีมา โดยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยได้จัดสรรงบประมาณประจำปี 2566 ซึ่งโครงการ ฯ อยู่ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 ถึง 31 ตุลาคม พ.ศ. 2566 และโครงการการส่งเริมการพัฒนาชุมชนในอำเภอเมืองนครราชสีมามีเป้าหมายสำคัญคือการบริการวิชาการพระพุทธศาสนาแก่ชุมชนอย่างกว้างขวางและเป็นศูนย์กลางแห่งการแสวงหาความรู้วิชาการพระพุทธศาสนา การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมการส่งเสริมในการพัฒนาชุมชนของนักศึกษากับชุมชนภายในอำเภอเมืองจังหวัดนครราชสีมา (2) เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมการส่งเสริมในการพัฒนาชุมชนของนักศึกษากับชุมชนภายในอำเภอเมืองจังหวัดนครราชสีมา จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) อธิบายความสัมพันธ์ ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมการส่งเสริมในการพัฒนาชุมชนของนักศึกษากับชุมชนภายในอำเภอเมืองจังหวัดนครราชสีมาระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มประชากร คือ อาจารย์ บุคลากร นักศึกษาช่วงชั้นปีที่ 1 – 4 ภายในวิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชสีมาและหัวหน้าชุมชนที่เป็นชุมชนเป้าหมายในเขตอำเภอเมืองนครราชีมา รวมทั้งหมด 150 คน กลุ่มตัวอย่างคือ อาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ภายในวิทยาลัยสนศาสตร์นครราชสีมาและผู้นำชุมชนในพื้นที่เป้าหมาย จำนวน 60 รูป/คน จากกลุ่มประชากรที่เป็นนักศึกษาภายในวิทยาลัยศาสศาสตร์ทั้งหมด 4 ชั้นปีการศึกษา โดยใช้แบบสอบถามในการรวบรวมข้อมูลทำการวิเคราะห์ด้วยสถิติ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัย: ผลของการวิจัยในครั้งนี้ พบว่า 1 การมีส่วนร่วมของนักศึกษาวิทยาลัยสนศาสตร์นครราชสีมาเพื่อส่งเสริมในการพัฒนาชุมชนภายในวิทยาลัยสนศาสตร์นครราชสีมาอยู่ในระดับมาก 2 ด้านการมีส่วนร่วมของนักศึกษาวิทยาลัยสนศาสตร์นครราชสีมาเพื่อส่งเสริมในการพัฒนาชุมชนภายในวิทยาลัยสนศาสตร์นครราชสีมา โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ และ 3 ด้านความสัมพันธ์ที่เป็นปัจจัยต่อการมีส่วนร่วมของนักศึกษาวิทยาลัยสนศาสตร์นครราชสีมาในการพัฒนาชุมชนภายในวิทยาลัยสนศาสตร์นครราชสีมามีความสัมพันธ์เชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญสรุปผล: การศึกษาโครงการการส่งเสริมการพัฒนาชุมชนภายในอำเภอเมืองนครราชสีมา คณะผู้วิจัยพบว่าผู้มีส่วนร่วมในโครงการ ฯ ได้มีส่วนร่วมอย่างมากในการส่งเสริมการพัฒนาชุมชนในอำเภอเมืองนครราชีมา และอาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา ที่เข้าไปบริการวิชาการมีความพึงพอใจในโครงการ ส่วนประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมในโครงการต่างพากันมีความสุข และได้รับความคิดสร้างสรรค์มีจิตใจสาธารณะเพิ่มมากขึ้น
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:โครงการพัฒนาชุมชนภายในอำเภอเมืองนคราสีมาเป็นส่วนของโครงการบริการวิชารของวิทยาลัยสนศาสตร์นคราชสีาเด็กเด็กจัดสรงบประมาณประจำปี 2566 ซึ่งโครงการ ฯ อยู่ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.2566 ถึง 31 ตุลาคม พ.ศ.2566 และโครงการการส่งเริมการพัฒนาชุมชนในอำเภอเมืองนครราชสีมามีเป้าหมายสำคัญคือการบริการวิชาการพระพุทธศาสนาแก่ชุมชนอย่างกว้างขวางและเป็นศูนย์กลางแห่งการแสวงหาความรู้วิชาการพระพุทธศาสนา(1) เพือศึกษาระดับากรมียครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพือศึกษาระดับากรมีส่วนร่วมกรมารส่งเสริมในการัพฒนาชุมชนของนักศึกษากับชุมชนภายในอำเภอเมอืองจังหวัดนครราชสีมา(2) เปรียบเทียบการมี่สวนร่วมการส่งเสริมในการพัฒนาชุมชนของนักศึษกากับชุมชนภายในอำเภอเมอืองจังหวัดนคราชสีมา จแำนกตามปัจัยส่วนบุคคล และ (3) อธิบายความสัพันธ์ระหางปัจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมการส่งเสริมในการพัฒนาชุมชนของักศึกษากับชุมชนภายในอำเออเอภเมอืงจังหวัดนครราชสีมาระเบียบวิธีการวจัย:การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มประชากร คือ อาจารย์ บุคลากร นักศึกษาช่วงชั้นปีที่ 1 - 4ภายในวิทยาลัยศาสนศาสตร์นคราชสีมาและหัวหน้าชุมชนที่เป็ชนุมชนเป้าหมายในเขตอำเภอเมืองนครราชีมา รวมทั้งหมด 150 คน กลุ่มตัวอย่างคือ อาจารย์ บุคลากร นักศึกษาภายในวิทยาลัยสนศาสตร์นคราชสีมาและผู้นชำุมชนในพื้นที่เป้าหมาย จำนวน 60 รูป/คน จากกลุ่มประชากรที่เป็นันกศึกษาภายในวิทยาลัยศาสศาสตร์นครราชสีมาและผู้นชำุมชนในวิทยาลัยศาสศาสตร์นทั้งหมด4 ชั้นปีการศึกษา โดยใช้แบบสอบถามในการวบรวมข้อมูลทำการวิเคราะห์ด้วยสถิติ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัย:ผลของการวิจัยในครั้งนี้ พบว่า 1 การมี่สวนร่วมของนักศึกษาวิทยาลัยสนศาสตร์นคราชสีมาเพืือส่งเสริมในการพัฒนาชุมชนภายในวิทยาลัยสนศาสตร์นคราชสีมาอยู่ในระดับาก2 ด้านการมีส่วนร่วมของนักศึกษาวิทยาลัยสนศาสตร์นครราชสีมาเพื่อส่งเสริมในการพัฒนาชุมชนภายในวิทยาลัยสนศาสตร์นครราชสีมาโดยจำแนกตามปัจัยส่วนบุคลมีความแตกต่างกันย่างมีนัยสำคัญ และ 3ด้านความสัมพันธ์ที่เป็นปัจจัยต่อการมีส่วนร่วมของนักศึกษาวิทยาลัยสนศาสตร์นครราชสีมาในการพัฒนาชุมชนภายในวิทยาลัยสนศาสตร์นครราชสีมามีความสัมพันธ์เชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญสรุปผล:การศึกษาโครงการการส่งเสริมการพัฒนาชุมชนภายในอำเภอเมืองนครราชสีมา คณะผู้วิจัยพบว่าผู้มีส่วนร่วมในโครงการ ฯ ได้มีส่วนร่วมอย่างมากในการส่งเสริมการพัฒนาชุมชนในอำเภอเมืองนครราชีมาและอาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา ที่เข้าไปบริการวิชาการมีความพึงพอใจในโครงการ ส่วนประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมในโครงการต่างพากันมีความสุข และได้รับความคิดสร้างสรรค์มีจิตใจสาธารณะเพิ่มมากขึ้น
{"title":"การศึกษาโครงการการส่งเสริมการพัฒนาชุมชนภายในอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา","authors":"พระครูพิจิตรธรรมปคุณ (จักรกฤษณ์ พุฒบุรี), พระอุดมธีรคุณ (ภาวัต แสวงดี), พระมหาจิณกมล อภิรตโน (จิณกมล เป็นสุข), ประครอง งามชัยภูมิ, ชลวัฒน์ กิมซัว","doi":"10.60027/iarj.2024.275658","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.275658","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: โครงการการส่งเสริมการพัฒนาชุมชนภายในอำเภอเมืองนครราชสีมาเป็นส่วนของโครงการบริการวิชาการของวิทยาลัยสนศาสตร์นครราชสีมา โดยมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยได้จัดสรรงบประมาณประจำปี 2566 ซึ่งโครงการ ฯ อยู่ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 ถึง 31 ตุลาคม พ.ศ. 2566 และโครงการการส่งเริมการพัฒนาชุมชนในอำเภอเมืองนครราชสีมามีเป้าหมายสำคัญคือการบริการวิชาการพระพุทธศาสนาแก่ชุมชนอย่างกว้างขวางและเป็นศูนย์กลางแห่งการแสวงหาความรู้วิชาการพระพุทธศาสนา การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมการส่งเสริมในการพัฒนาชุมชนของนักศึกษากับชุมชนภายในอำเภอเมืองจังหวัดนครราชสีมา (2) เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมการส่งเสริมในการพัฒนาชุมชนของนักศึกษากับชุมชนภายในอำเภอเมืองจังหวัดนครราชสีมา จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) อธิบายความสัมพันธ์ ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมการส่งเสริมในการพัฒนาชุมชนของนักศึกษากับชุมชนภายในอำเภอเมืองจังหวัดนครราชสีมา\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มประชากร คือ อาจารย์ บุคลากร นักศึกษาช่วงชั้นปีที่ 1 – 4 ภายในวิทยาลัยศาสนศาสตร์นครราชสีมาและหัวหน้าชุมชนที่เป็นชุมชนเป้าหมายในเขตอำเภอเมืองนครราชีมา รวมทั้งหมด 150 คน กลุ่มตัวอย่างคือ อาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ภายในวิทยาลัยสนศาสตร์นครราชสีมาและผู้นำชุมชนในพื้นที่เป้าหมาย จำนวน 60 รูป/คน จากกลุ่มประชากรที่เป็นนักศึกษาภายในวิทยาลัยศาสศาสตร์ทั้งหมด 4 ชั้นปีการศึกษา โดยใช้แบบสอบถามในการรวบรวมข้อมูลทำการวิเคราะห์ด้วยสถิติ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน\u0000ผลการวิจัย: ผลของการวิจัยในครั้งนี้ พบว่า 1 การมีส่วนร่วมของนักศึกษาวิทยาลัยสนศาสตร์นครราชสีมาเพื่อส่งเสริมในการพัฒนาชุมชนภายในวิทยาลัยสนศาสตร์นครราชสีมาอยู่ในระดับมาก 2 ด้านการมีส่วนร่วมของนักศึกษาวิทยาลัยสนศาสตร์นครราชสีมาเพื่อส่งเสริมในการพัฒนาชุมชนภายในวิทยาลัยสนศาสตร์นครราชสีมา โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ และ 3 ด้านความสัมพันธ์ที่เป็นปัจจัยต่อการมีส่วนร่วมของนักศึกษาวิทยาลัยสนศาสตร์นครราชสีมาในการพัฒนาชุมชนภายในวิทยาลัยสนศาสตร์นครราชสีมามีความสัมพันธ์เชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญ\u0000สรุปผล: การศึกษาโครงการการส่งเสริมการพัฒนาชุมชนภายในอำเภอเมืองนครราชสีมา คณะผู้วิจัยพบว่าผู้มีส่วนร่วมในโครงการ ฯ ได้มีส่วนร่วมอย่างมากในการส่งเสริมการพัฒนาชุมชนในอำเภอเมืองนครราชีมา และอาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา ที่เข้าไปบริการวิชาการมีความพึงพอใจในโครงการ ส่วนประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมในโครงการต่างพากันมีความสุข และได้รับความคิดสร้างสรรค์มีจิตใจสาธารณะเพิ่มมากขึ้น","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"47 3","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-04-08","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"140731893","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การพัฒนาแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน สำหรับเทคนิค 6Ts เพื่อเพิ่มความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 การพัฒนาแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน สำหรับเทคนิค 6Ts เพื่อเพิ่มความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
Pub Date : 2024-04-08 DOI: 10.60027/iarj.2024.275137
ณัฐกานต์ ศรีจันทร์, ฟิสิกส์ ฌอณ บัวกนก, ปราโมทย์ พรหมขันธ์
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การพัฒนาแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน สำหรับเทคนิค 6Ts เพื่อเพิ่มความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน สำหรับเทคนิค 6Ts เพื่อเพิ่มความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากล ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากล ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนด้วยแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน โดยใช้เทคนิค 6Ts กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนโรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย จังหวัดลำปาง ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้อง 8 และห้อง 9 ที่เรียนรายวิชาศิลปศึกษา (ดนตรี) ในภาคเรียนที่ 2 ของปีการศึกษา 2566 จำนวน 60 คนระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้ใช้การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) โดยใช้แบบแผนการทดลองวัดผลหลังการทดลองแบบมีกลุ่มควบคุม (Randommized Control Group Posttest Only Design) เครื่องมือวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การอ่านโน้ตดนตรีสากล 2) แอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน 3) แบบทดสอบประเมินผลระหว่างการเรียนรู้ 4) แบบทดสอบประเมินผลหลังการเรียนรู้ 5) แบบทดสอบความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากล สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (Mean) ร้อยละ (Percentage) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(Standard Deviation) การทดสอบทีแบบอิสระต่อกัน (t-test independent test)ผลการวิจัย: 1) การสร้างและหาประสิทธิภาพของแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน สำหรับเทคนิค 6Ts เพื่อเพิ่มความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีคุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด เท่ากับ 4.55  และมีประสิทธิภาพแบบหนึ่งต่อหนึ่ง แบบกลุ่มเล็ก และแบบภาคสนาม เท่ากับ 86.67/88.89 81.11/86.67 และ 80.83/85.22 ตามลำดับ เป็นไปตามเกณฑ์กำหนด 2) การเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม พบว่า  กลุ่มทดลองมีความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลได้ดีกว่าควบคุม อย่างมีระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05สรุปผล: ผลการวิจัยสรุปได้ว่ากลุ่ม แอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน สำหรับเทคนิค 6Ts  มีคุณภาพและประสิทธิภาพ เป็นไปตามเกณฑ์ และเพิ่มความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลของนักเรียนได้
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:การพัฒนาแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน สำหรับเทคนิค 6Ts เพื่อเพิ่มความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลขงอนัเกรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน สำหรับเทคนิค 6Ts เพื่อเพิ่มความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากล ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2)เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านโนต้ดนตรีสากล ของนักเรียนระดับชั้มัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนด้วยแอปพลิเชคันบสมาร์ทโฟน โดยใช้เทนิค 6Ts กลุ่มตวอย่า คอืนักเรียนโรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย จังหวัดลำปาง ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้อง 8 และห้อง 9 ที่เรียนรายวิชาศิลปศึกษา (ดนตรี) ในภาคเรียนที่ 2 ของปีการศึกษา 2566 จำนวน 60 คนระเบียบวิธีการวิจัย:实验研究) โดยใช้้แบแบแผนการทดลองวัดผนการทดลองวัดผนการทดลองวัดผนการทดลองแบมีกลุ่มควบคุม (Randommized Control组后测设计) เครืองือวจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การอ่านโน้ตดนตรีสากล 2) แอปพลิเคชันบสมาร์ทโฟน3) แบทดสอบประเมินผลาระหว่างการเรียนรู้ 4) แบทดสอบประเมินผลารเรียนรู้ 5) แบทดสอบความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลสถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (平均值) ร้ยอละ (百分比) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(Standard Deviation) การทดสอบทีแบบอิสระต่อกัน (t-)独立测试)ผลการวิจัย:1) การสร้างและหาประสิทธิภาพของแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน สำหรับเทคนิค 6Ts เพื่อเพิ่มความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีคุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด เท่ากับ 4.55 แบดมียประสิทธิภาพแบบหนึงงต่อหนึ่ง แบมลุ่เล็ก แมละแบบภาคสนาม เท่าับ 86.67/88.89 81.11/86.67 แมละ 80.83/85.22 ตามลำดับ เป็นไปตามเกณฑ์กำหนด 2) การเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลระหวางกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมพบว่า กลุ่มทดลองมีความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลได้ดีกว่าควบคุม อย่างมีระดับันยสำคัญทางสถิติที่ 0.05สรุปผล: ผลากรวิจัยสรุปได้ว่ากลุ่ม แปอพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน สำหรับเทคนิค 6Ts มีคุณภาพและประสิทธิภาพ เป็นไปตามเกณฑ์ และเพิ่มควมาสามารถในการอ่านนต้ดนตรีสากของนักเรียนได้
{"title":"การพัฒนาแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน สำหรับเทคนิค 6Ts เพื่อเพิ่มความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4","authors":"ณัฐกานต์ ศรีจันทร์, ฟิสิกส์ ฌอณ บัวกนก, ปราโมทย์ พรหมขันธ์","doi":"10.60027/iarj.2024.275137","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.275137","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การพัฒนาแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน สำหรับเทคนิค 6Ts เพื่อเพิ่มความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพของแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน สำหรับเทคนิค 6Ts เพื่อเพิ่มความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากล ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากล ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนด้วยแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน โดยใช้เทคนิค 6Ts กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนโรงเรียนบุญวาทย์วิทยาลัย จังหวัดลำปาง ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้อง 8 และห้อง 9 ที่เรียนรายวิชาศิลปศึกษา (ดนตรี) ในภาคเรียนที่ 2 ของปีการศึกษา 2566 จำนวน 60 คน\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้ใช้การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) โดยใช้แบบแผนการทดลองวัดผลหลังการทดลองแบบมีกลุ่มควบคุม (Randommized Control Group Posttest Only Design) เครื่องมือวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การอ่านโน้ตดนตรีสากล 2) แอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน 3) แบบทดสอบประเมินผลระหว่างการเรียนรู้ 4) แบบทดสอบประเมินผลหลังการเรียนรู้ 5) แบบทดสอบความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากล สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (Mean) ร้อยละ (Percentage) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(Standard Deviation) การทดสอบทีแบบอิสระต่อกัน (t-test independent test)\u0000ผลการวิจัย: 1) การสร้างและหาประสิทธิภาพของแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน สำหรับเทคนิค 6Ts เพื่อเพิ่มความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีคุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด เท่ากับ 4.55  และมีประสิทธิภาพแบบหนึ่งต่อหนึ่ง แบบกลุ่มเล็ก และแบบภาคสนาม เท่ากับ 86.67/88.89 81.11/86.67 และ 80.83/85.22 ตามลำดับ เป็นไปตามเกณฑ์กำหนด 2) การเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม พบว่า  กลุ่มทดลองมีความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลได้ดีกว่าควบคุม อย่างมีระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05\u0000สรุปผล: ผลการวิจัยสรุปได้ว่ากลุ่ม แอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน สำหรับเทคนิค 6Ts  มีคุณภาพและประสิทธิภาพ เป็นไปตามเกณฑ์ และเพิ่มความสามารถในการอ่านโน้ตดนตรีสากลของนักเรียนได้","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"175 S411","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-04-08","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"140730982","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การวิเคราะห์สัญญะในการรำบวงสรวงท้าวสุรนารีเนื่องในโอกาสเฉลิมฉลองเมืองนครราชสีมา ครบรอบ 555 ปี การวิเคราะห์สัญญะในการรำบวงสรวงท้าวสุรนารีเนื่องในโอกาสเฉลิมฉลองเมืองนครราชสีมา ครบรอบ 555 ปี
Pub Date : 2024-04-08 DOI: 10.60027/iarj.2024.275463
วชิรารัตน์ นิรันดร์เตชาภัทร์
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การรำบวงสรวงท้าวสุรนารีเป็นสัญญะทางสังคมเพื่อแสดงพลังความศรัทธาของสตรี ชาวโคราช โดยกิจกรรมดังกล่าวมีกำหนดจัดงานในวันที่ 23 มีนาคมของทุกปี และในปี พ.ศ. 2566 ถือเป็นวาระพิเศษในการฉลองเมืองนครราชสีมา ครบรอบ 555 ปี ผู้จัดงานจึงมีการกำหนดให้มีนางรำบวงสรวง จำนวน 10,555 คน อีกทั้งยังคัดสรรเนื้อร้อง ท่ารำ ทำนองเพลงให้สอดคล้องกับการแสดงครั้งนี้ งานวิจัยเรื่อง “การวิเคราะห์สัญญะในการรำบวงสรวงท้าวสุรนารีเนื่องในโอกาสเฉลิมฉลองเมืองนครราชสีมา ครบรอบ 555 ปี” เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สัญญะและการประกอบสร้างความหมายเชิงสัญญะที่ปรากฏในการรําบวงสรวงท้าวสุรนารี (คุณหญิงโม)ระเบียบวิธีการวิจัย: เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ปี 2566 ทั้งหมด 7 เพลง ผู้วิจัยเก็บข้อมูลจากคลิปฝึกซ้อมการรําบวงสรวงท้าวสุรนารีจำนวน 2 คลิปที่เผยแพร่ผ่านช่องทางยูทูป จัดทำโดย เหล่ากาชาดจังหวัดนครราชสีมา โดยจะศึกษาจากเนื้อเพลงประกอบท่ารำที่สื่อสารออกมาจากผู้ฝึกซ้อมรำ จำนวน 2 ท่าน ซึ่งคลิปการแสดงนี้มีไว้เพื่ออำนวยความสะดวกให้นางรำฝึกซ้อมเองได้ตามความต้องการมีทั้งแบบที่เห็น ท่ารำด้านหลังและการฝึกซ้อมรำแบบเห็นด้านหน้าแบบกระจกผลการวิจัย: สัญญะที่แสดงผ่านเนื้อเพลงเป็นการสื่อสารอำนาจของจังหวัดนครราชสีมาโดยแสดงศักยภาพของท้องถิ่นในทุกด้านต่าง ๆ นอกจากนั้นยังสะท้อนความผูกพันต่อพิธีกรรมรำบวงสรวงท้าวสุรนารีอย่างเหนียวแน่น ทั้งนี้เพื่อแสดงความจงรักภักดีต่อวีรสตรีที่กอบกู้เมืองนครราชสีมาตามข้อมูลทางประวัติศาสตร์ที่ถ่ายทอดผ่าน เนื้อเพลงเนื่องในโอกาสสำคัญ ในแง่สัญญะวิทยาคลิปการรำบวงสรวงที่สื่อสารความหมายโดยอรรถ (Denotative Meaning) และความหมายโดยนัย (Connotative Meaning) ผ่านท่าทางต่าง ๆ ที่ปรากฏในรูปแบบการรำ (Dance Format) มีความซับซ้อนน้อยไปจนถึงมากตามความซับซ้อนของแก่นของเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่บรรยายผ่านของเพลง โดยที่เนื้อเพลงและท่ารำมีความสัมพันธ์กับท่วงทำนองเพลงและองค์ประกอบของเพลง (Elements)สรุปผล: งานวิจัยนี้เป็นแนวทางในการพัฒนาองค์ความรู้ในการวิเคราะห์การรำบวงสรวงท้าวสุรนารีว่าด้วยเรื่องสัญญะวิทยา และเพื่อประยุกต์ใช้ในการศึกษาสหสาขาวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับมิติทางสังคมและวัฒนธรรมของท้องถิ่นต่อไป
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การรำบวงสรวงท้าวสุรนารีเป็นสัญญะทางสังคมเพื่อแสดงพลังความศรัทธาของสตรี ชาวโคราช โดยกิจกรรมดังกล่าวมีกำหนดจัดงานในวันที่ 23 มีนาคมของทุกปี และในปี พ.ศ.2566 ถือเป็นวาระพิเศษในการฉลองเมืงนคราชสีมา ครบรอบ 555 ปี ผู้จัดงานจึงมีการกำหนดให้มีนางรำบวงสรวง จำนวน 10、555 คน อีกทั้งยังคัดสรรเนื้อร้อง ท่ารำ ทำนองเพลงให้สอดคล้องกับการแสดงครั้งยเรื่อง "การวิเคราะ์หสัญญะในการรำบวงสรวงท้าวสุนารีเนืองในโอกาสเฉลิมฉลงเมอืงคนราชสีมาครบรอบ 555 ปี” เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สัญญะและการประกอบสร้างความหมายเชิงสัญญะที่ปรากฏในการรําบวงสรวงท้าวสุรนารี (คุณหญิงโม)ระเบียบวิธีการวิจัย:2566 เทั้งหมด 7 เพลง ผู้วิจัยเก็บข้อมูจากคลิปฝึกซ้อมการรําบวงสรวท้าวสุรนารีจำนวน2 คลิปที่เผยแพร่ผ่านช่องทางยทูป จัดทำโดย เหล่ากาชาจังหวัดนคราชสีมาโดยจะศึกษาจากเนือเพลงประกอบท่ารำที่ืสอสารอกาจากผู้ฝกซ้อมร จำนวน 2 ท่านสัญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาญหาสัญญะที่แสดงผ่านเนื้อเพลงเป็นการสื่อสารอำนาจของจังหวัดนครราชสีมาโดยแสดงศักยภาพของท้องถิ่นในทุกด้านต่าง ๆ นอกจากนั้นยังสะท้อนความผูกพันต่อพิธีกรรมรำบวงสรวงท้าวสุรนารีอย่างเหนียวแน่นทั้งนี้เพือแสดงความจงรักภักดีต่อวีรสตรีที่กอบกู้เมืองนคราชสีมาตามข้อมูทางประวัติศาสตร์ที่ถ่ายทอดผ่าน เนื้อเพลงเนืองในโอกาสสำคัญในแงส่ัญญะวิทยาคลิปการรำบวงสรวงที่สือสารความหมายโดยอรรถ(指称意义) และความหมายโดยนัย(内涵意义) ผ่านท่าทางต่าง ๆ ที่ปรากฏในรูแปบการรำ (舞蹈形式)มีความซับซ้อนน้อยไปจนถึงมากตามความซับซ้อนของแก่นของเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่บรรยายผ่านของเพลง โดยที่เนื้อเพลงและท่ารำมีความสัมพันธ์กับท่วงทำนองเพลงและองค์ประกอบของเพลง (Elements)สรุปผล:งานวจัยนี้เป็นแนวาทงในการพัฒนาองค์ความรู้ในการวิเคราห์การรำบวงสรวงท้าวสุรนารี้าดวยเรืองสัญญะวิทยาและเพือ่ประยุกต์ใช้ในการศึกษาสหาขาวิชอื่น ๆ ที่เกี่ยวขอ้งกับมิติทางสังคมและวัฒนธรรมของท้งอถิ่นต่อไป
{"title":"การวิเคราะห์สัญญะในการรำบวงสรวงท้าวสุรนารีเนื่องในโอกาสเฉลิมฉลองเมืองนครราชสีมา ครบรอบ 555 ปี","authors":"วชิรารัตน์ นิรันดร์เตชาภัทร์","doi":"10.60027/iarj.2024.275463","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.275463","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การรำบวงสรวงท้าวสุรนารีเป็นสัญญะทางสังคมเพื่อแสดงพลังความศรัทธาของสตรี ชาวโคราช โดยกิจกรรมดังกล่าวมีกำหนดจัดงานในวันที่ 23 มีนาคมของทุกปี และในปี พ.ศ. 2566 ถือเป็นวาระพิเศษในการฉลองเมืองนครราชสีมา ครบรอบ 555 ปี ผู้จัดงานจึงมีการกำหนดให้มีนางรำบวงสรวง จำนวน 10,555 คน อีกทั้งยังคัดสรรเนื้อร้อง ท่ารำ ทำนองเพลงให้สอดคล้องกับการแสดงครั้งนี้ งานวิจัยเรื่อง “การวิเคราะห์สัญญะในการรำบวงสรวงท้าวสุรนารีเนื่องในโอกาสเฉลิมฉลองเมืองนครราชสีมา ครบรอบ 555 ปี” เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สัญญะและการประกอบสร้างความหมายเชิงสัญญะที่ปรากฏในการรําบวงสรวงท้าวสุรนารี (คุณหญิงโม)\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ปี 2566 ทั้งหมด 7 เพลง ผู้วิจัยเก็บข้อมูลจากคลิปฝึกซ้อมการรําบวงสรวงท้าวสุรนารีจำนวน 2 คลิปที่เผยแพร่ผ่านช่องทางยูทูป จัดทำโดย เหล่ากาชาดจังหวัดนครราชสีมา โดยจะศึกษาจากเนื้อเพลงประกอบท่ารำที่สื่อสารออกมาจากผู้ฝึกซ้อมรำ จำนวน 2 ท่าน ซึ่งคลิปการแสดงนี้มีไว้เพื่ออำนวยความสะดวกให้นางรำฝึกซ้อมเองได้ตามความต้องการมีทั้งแบบที่เห็น ท่ารำด้านหลังและการฝึกซ้อมรำแบบเห็นด้านหน้าแบบกระจก\u0000ผลการวิจัย: สัญญะที่แสดงผ่านเนื้อเพลงเป็นการสื่อสารอำนาจของจังหวัดนครราชสีมาโดยแสดงศักยภาพของท้องถิ่นในทุกด้านต่าง ๆ นอกจากนั้นยังสะท้อนความผูกพันต่อพิธีกรรมรำบวงสรวงท้าวสุรนารีอย่างเหนียวแน่น ทั้งนี้เพื่อแสดงความจงรักภักดีต่อวีรสตรีที่กอบกู้เมืองนครราชสีมาตามข้อมูลทางประวัติศาสตร์ที่ถ่ายทอดผ่าน เนื้อเพลงเนื่องในโอกาสสำคัญ ในแง่สัญญะวิทยาคลิปการรำบวงสรวงที่สื่อสารความหมายโดยอรรถ (Denotative Meaning) และความหมายโดยนัย (Connotative Meaning) ผ่านท่าทางต่าง ๆ ที่ปรากฏในรูปแบบการรำ (Dance Format) มีความซับซ้อนน้อยไปจนถึงมากตามความซับซ้อนของแก่นของเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่บรรยายผ่านของเพลง โดยที่เนื้อเพลงและท่ารำมีความสัมพันธ์กับท่วงทำนองเพลงและองค์ประกอบของเพลง (Elements)\u0000สรุปผล: งานวิจัยนี้เป็นแนวทางในการพัฒนาองค์ความรู้ในการวิเคราะห์การรำบวงสรวงท้าวสุรนารีว่าด้วยเรื่องสัญญะวิทยา และเพื่อประยุกต์ใช้ในการศึกษาสหสาขาวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับมิติทางสังคมและวัฒนธรรมของท้องถิ่นต่อไป","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"216 3","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-04-08","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"140731017","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการให้บริการของบริษัทตัวแทนรับขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการให้บริการของบริษัทตัวแทนรับขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
Pub Date : 2024-04-07 DOI: 10.60027/iarj.2024.275054
ชิตพงษ์ อัยสานนท์, ชุติเดช มั่นคงธรรม, ชลิตา ตริยาวนิช
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การวิจัยนี้มุ่งสำรวจปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพของบริษัทตัวแทนรับขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของตลาดที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาความคิดเห็นต่อปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพของบริษัทตัวแทนรับขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านระบบสารสนเทศ เครือข่ายการให้บริการ และการบริหารลูกค้าสัมพันธ์กับการเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการของบริษัทตัวแทนรับขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยให้บริษัทในอุตสาหกรรมนี้สามารถปรับปรุงและพัฒนากลยุทธ์การดำเนินงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยนี้ทำการสำรวจเชิงปริมาณผ่านแบบสอบถามเพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่าง ๆ กับประสิทธิภาพการให้บริการของบริษัทขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ โดยใช้ตัวอย่างขนาด 385 คนจากการสุ่มแบบเจาะจง เก็บข้อมูลผ่าน Google Forms และกระจายลิงก์ผ่านเครือข่ายออนไลน์ ค่า IOC คือ 0.67 และ Cronbach's Alpha คือ 0.72 ใช้สถิติเชิงพรรณนาสำรวจลักษณะประชากรศาสตร์และประเมินความสำคัญของปัจจัยในการบริการ ผ่านค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเพื่อสรุปข้อมูลพื้นฐาน สถิติเชิงอนุมานเน้นการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ ใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์และ P-value วิเคราะห์ความสัมพันธ์และนัยสำคัญทางสถิติ ยืนยันบทบาทของระบบสารสนเทศ เครือข่ายการให้บริการ และการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ต่อประสิทธิภาพการให้บริการผลการวิจัย: พบว่า (1) ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 385 คน ส่วนใหญ่เป็นชาย อายุระหว่าง 21-30 ปี ระดับเจ้าหน้าที่ ธุรกิจบริการ ประเภทอุตสาหกรรมบริการ ขนาดขององค์กรเป็นธุรกิจขนาดใหญ่ และมีการทำธุรกรรมนำเข้า-ส่งออกเกิน 15 ครั้งต่อเดือน (2) ปัจจัยที่สำคัญต่อประสิทธิภาพการให้บริการของบริษัทตัวแทนขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ได้แก่ ระบบสารสนเทศ เครือข่ายการให้บริการ และการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ ซึ่งทั้งหมดมีความสำคัญในระดับสูงต่อประสิทธิภาพการให้บริการ (3) ปัจจัยด้านระบบสารสนเทศ เครือข่ายการให้บริการ และการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการสรุปผล: ผลการวิจัยแสดงว่า ปัจจัยสำคัญในธุรกิจตัวแทนขนส่งสินค้าระหว่างประเทศได้แก่ ระบบสารสนเทศ เครือข่ายการให้บริการ และการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับประสิทธิภาพการให้บริการของบริษัท
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การวิจัยนี้มุ่งสำรวจปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพของบริษัทตัวแทนรับขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของตลาดที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว วัตถุประสงค์ 1.เพือศึกษาความคิดเห็นต่อปจัยที่มีผลต่อประสิทธภิาพของรบิษัทตัวแทนรับขนส่งสินค้าระหวางประเทศ 2.เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านระบบสารสนเทศ เครือข่ายการให้บริการ และการบริหารลูกค้าสัมพันธ์กับการเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการของบริษัทตัวแทนรับขนส่งสินค้าระหว่างประเทศการวจัยนี้มจีุดมุ่งหมายเพือช่วยให้มริษัทธ์การดำเพินงานเพือเพิ่มประสิทธิภาพระเบียบวิธีการวจัย:การวิจัยนี้ทำการสำรวจเชิงปริมาณผ่านแบบสอบถามเพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจัยต่าง ๆ กับประสิทธิภาพการให้บริการของบริษัทขนส่งสินค้าระหว่างประเทศโดยใช้ตัวอย่างขนาด 385 คนจากการสุ่มแบเจาะจง เก็บข้อมูลผ่าน Google Forms และกระจายลิงก์ผ่านเครือข่ายอนไลน์ ค่า IOC คือ 0.67 และ Cronbach's Alpha คือ 0.72 ใช้สถิติเชิงพรรณนาสำรวจลักษณะประชากรศาสตร์และประเมินความสำคัญของปัจัยในการบริการผ่านค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเพื่อสรุปข้อมูลพื้นฐาน สถิติเชิงอนุมานเน้นการวิเคราหะ์สหัมพันธ์ ใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหัมพันธ์และ P-值 วิเคราะห์ความสัมพันธ์และนัยสำคัญทางสถิติ ยืนยันบทบาทของระบสารสนเทศ เครือข่ายการให้บริการและการบริหารูกค้าสัมพันธต์่อประสิทธิภาพการใหบริการผลการวิจัย:พบว่า (1) ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 385 คน ส่วนใหญ่เป็นชาย อายุระหว่าง 21-30 ปี ระดับเจ้าหน้าที่ ธุรกิจบริการ ประเภทอุตสาหกรรมบริการ ขนาดขององค์กรเป็นธุรกิจขนาดใหญ่ และมีการทำธุรกรรมนำเข้า-ส่งออกเกิน 15 ครั้งต่อเดือน (2) ปัจจัยที่สำคัญต่อประสิทธิภาพการให้บริการของบริษัทตัวแทนขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ได้แก่ ระบบสารสนเทศ เครือข่ายการให้บริการ และการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ซึ่งทั้งหมดมีความสำคัญในระดับสูงต่อประสิทธิภาพการให้บริการ (3) ปัจจัยด้านระบบสารสนเทศ เครือข่ายการให้บริการ และการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการสรุปผล:ผลการวิจัยแสดงว่า ปัจจัยสำคัญในธุรกิจตัวแทนขนส่งสินค้าระหว่างประเทศได้แก่ ระบบสารสนเทศ เครือข่ายการให้บริการ และการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับประสิทธิภาพการให้บริการของบริษัท
{"title":"ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการให้บริการของบริษัทตัวแทนรับขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ","authors":"ชิตพงษ์ อัยสานนท์, ชุติเดช มั่นคงธรรม, ชลิตา ตริยาวนิช","doi":"10.60027/iarj.2024.275054","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.275054","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การวิจัยนี้มุ่งสำรวจปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพของบริษัทตัวแทนรับขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของตลาดที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาความคิดเห็นต่อปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพของบริษัทตัวแทนรับขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านระบบสารสนเทศ เครือข่ายการให้บริการ และการบริหารลูกค้าสัมพันธ์กับการเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการของบริษัทตัวแทนรับขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยให้บริษัทในอุตสาหกรรมนี้สามารถปรับปรุงและพัฒนากลยุทธ์การดำเนินงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยนี้ทำการสำรวจเชิงปริมาณผ่านแบบสอบถามเพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่าง ๆ กับประสิทธิภาพการให้บริการของบริษัทขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ โดยใช้ตัวอย่างขนาด 385 คนจากการสุ่มแบบเจาะจง เก็บข้อมูลผ่าน Google Forms และกระจายลิงก์ผ่านเครือข่ายออนไลน์ ค่า IOC คือ 0.67 และ Cronbach's Alpha คือ 0.72 ใช้สถิติเชิงพรรณนาสำรวจลักษณะประชากรศาสตร์และประเมินความสำคัญของปัจจัยในการบริการ ผ่านค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเพื่อสรุปข้อมูลพื้นฐาน สถิติเชิงอนุมานเน้นการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ ใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์และ P-value วิเคราะห์ความสัมพันธ์และนัยสำคัญทางสถิติ ยืนยันบทบาทของระบบสารสนเทศ เครือข่ายการให้บริการ และการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ต่อประสิทธิภาพการให้บริการ\u0000ผลการวิจัย: พบว่า (1) ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 385 คน ส่วนใหญ่เป็นชาย อายุระหว่าง 21-30 ปี ระดับเจ้าหน้าที่ ธุรกิจบริการ ประเภทอุตสาหกรรมบริการ ขนาดขององค์กรเป็นธุรกิจขนาดใหญ่ และมีการทำธุรกรรมนำเข้า-ส่งออกเกิน 15 ครั้งต่อเดือน (2) ปัจจัยที่สำคัญต่อประสิทธิภาพการให้บริการของบริษัทตัวแทนขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ได้แก่ ระบบสารสนเทศ เครือข่ายการให้บริการ และการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ ซึ่งทั้งหมดมีความสำคัญในระดับสูงต่อประสิทธิภาพการให้บริการ (3) ปัจจัยด้านระบบสารสนเทศ เครือข่ายการให้บริการ และการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ\u0000สรุปผล: ผลการวิจัยแสดงว่า ปัจจัยสำคัญในธุรกิจตัวแทนขนส่งสินค้าระหว่างประเทศได้แก่ ระบบสารสนเทศ เครือข่ายการให้บริการ และการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับประสิทธิภาพการให้บริการของบริษัท","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"36 1","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-04-07","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"140733130","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การพัฒนาชุดการสอนรายวิชาคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณสำหรับครูโดยใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือสำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี การพัฒนาชุดการสอนรายวิชาคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณสำหรับครูโดยใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือสำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
Pub Date : 2024-04-07 DOI: 10.60027/iarj.2024.275238
ชูชีพ ประทุมเวียง
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การเรียนรู้แบบร่วมมือเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ เนื่องจากมีรูปแบบการสอนให้เลือกอย่างหลากหลายตามวัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนรู้ ผู้เรียนได้ร่วมมือและช่วยเหลือกันในการเรียนรู้ วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อพัฒนาชุดการสอนรายวิชาคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณสำหรับครูโดยใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือให้มีประสิทธิภาพ (2) เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของชุดการสอนคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณสำหรับครู และ (3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของชุดการสอนรายวิชาคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณสำหรับครูระเบียบวิธีการวิจัย: รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มเป้าหมาย คือ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต วิชาชีพครู จำนวน 2 ห้องเรียน โดยใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3 ส่วน ได้แก่ ชุดการสอนรายวิชาคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณสำหรับครู จำนวน 6 ชุด แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถาม ความคิดเห็นของนักศึกษาที่เรียนด้วยการสอนโดยใช้ชุดการสอนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยค่าอำนาจจำแนกและค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับเท่ากับ .852 สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ และค่าดัชนีประสิทธิผลผลการวิจัย: (1) ชุดการสอนรายวิชาคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณสำหรับครูโดยใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครูชั้นปีที่ 2 ทุกชุดมีประสิทธิภาพเท่ากับ 81.21/84.48 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ (2) ดัชนีประสิทธิผลของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา จากการใช้ชุดการสอนรายวิชาคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณสำหรับครูโดยใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ มีค่าเท่ากับ 0.7242 แสดงว่านักศึกษามีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 72.42 (3) ชุดการสอนรายวิชาคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณสำหรับครูโดยใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ ทั้งในภาพรวมทุกด้าน ภาพรวมรายด้าน และรายข้อมีความเหมาะสมในระดับมากสรุปผล: การเรียนรู้แบบร่วมมือเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ ผู้เรียนได้ร่วมมือและช่วยเหลือกันในการเรียนรู้โดยแบ่งกลุ่มผู้เรียนที่มีความสามารถต่างกันออกเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ซึ่งเป็นลักษณะการรวมกลุ่มอย่างมีโครงสร้างที่ชัดเจน มีการทํางานร่วมกัน มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีการช่วยเหลือพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน มีความรับผิดชอบร่วมกันทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:การเรียนรู้แบร่วมมือเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ เนื่องจากมีรูปแบบการสอนให้เลอกอย่างหากลายตามวัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนรู้ผู้เรียนได้ร่วมือและช่วยเหลือกันในการเรียนรู้ วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพือพัฒนาชุดการสอนรายวิชาคุณธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณสำหรับครูโดยใ้ชเทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมอืให้มประสิทธิภาพ (2) เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของชุดการสอนคุณธรรมจริยธรรม และจรยาบรรณสำหรับครู และ (3) เพื่อศึกษาความพึงพใจอของชุดากรสอนรายวิชาคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณสำหรับครูระเบียบวิธีการวิจัย:รูปแบารวิจัยเป็นากรวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มเป้าหมาย คือ นักศึกษาหาลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู จำนว 2เด็กเจ็กจง เคอือที่ใช้ในการวิจัย 3 ส่วน ได้แก่ ชุดการสอนรายวิชาคุณธรรม จริยธรรมและจรยาบรรณสำหรับครู จำนวน 6 ชุด แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาที่เรียนด้วยการสอนโดยใชชุ้ดการสอนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยค่าอำนาจำแนกและค่าความเชื่อมั่นของแบทดสอบทั้งฉบัเท่าบ .852 สถิติที่ใช้ากรวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ และค่าดันประสิทธิผลผลการวิจัย:(1) เดุดารสอนรายวิชาคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณสำหรับครูโดยใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมือ สำหรับันกศึกษาวิชาชีพครูชั้นปีที่ 2 ทุกชุดมีประสิทธิภาพเท่าับ 81.21/84.48 ึซ่งเป็ฑเกณฑ์ที่ำกหนดไว้ (2) ดัชนีประสิทธิผลของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนัศึกษาจาการใช้ชุดการสอนรายวิชาคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณสำหรับครูโดยใช้เทคนิคการเรียนรู้แบร่วมือ มีค่าเท่ากับ 0.7242 แสดงว่านักศึกษามีความก้าวหนียนเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 72.42 (3) ชุดการสอนรายวิชาคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรณสำหรับครูโดยใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมือ ทั้งในภาพรวมทุกด้าน ภาพรวมรายด้าน และรายข้อมีความเหาะสมในระดับมากสรุปผล:การเรียนรู้แบร่วมมือเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ ผู้เรียนได้ร่วมมือและช่วยเหลอืกันในการเรียนรู้โดยแบ่งกลุ่มผู้เรียนที่ีมความสามารถต่างกันอกเป็นกลุ่มเล็ก ๆซึ่งเป็นลักษณะการรวมกลุ่มอย่างมีโครงสร้างที่ชัดเจน มีการทํางานร่วมกัน มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีการช่วยเหลือพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน มีความรับผิดชอบร่วมกันทั้งในส่วนตนและส่วนรวม
{"title":"การพัฒนาชุดการสอนรายวิชาคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณสำหรับครูโดยใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือสำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี","authors":"ชูชีพ ประทุมเวียง","doi":"10.60027/iarj.2024.275238","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.275238","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การเรียนรู้แบบร่วมมือเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ เนื่องจากมีรูปแบบการสอนให้เลือกอย่างหลากหลายตามวัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนรู้ ผู้เรียนได้ร่วมมือและช่วยเหลือกันในการเรียนรู้ วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อพัฒนาชุดการสอนรายวิชาคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณสำหรับครูโดยใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือให้มีประสิทธิภาพ (2) เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของชุดการสอนคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณสำหรับครู และ (3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของชุดการสอนรายวิชาคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณสำหรับครู\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มเป้าหมาย คือ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต วิชาชีพครู จำนวน 2 ห้องเรียน โดยใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3 ส่วน ได้แก่ ชุดการสอนรายวิชาคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณสำหรับครู จำนวน 6 ชุด แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถาม ความคิดเห็นของนักศึกษาที่เรียนด้วยการสอนโดยใช้ชุดการสอนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยค่าอำนาจจำแนกและค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับเท่ากับ .852 สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ และค่าดัชนีประสิทธิผล\u0000ผลการวิจัย: (1) ชุดการสอนรายวิชาคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณสำหรับครูโดยใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครูชั้นปีที่ 2 ทุกชุดมีประสิทธิภาพเท่ากับ 81.21/84.48 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ (2) ดัชนีประสิทธิผลของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา จากการใช้ชุดการสอนรายวิชาคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณสำหรับครูโดยใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ มีค่าเท่ากับ 0.7242 แสดงว่านักศึกษามีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 72.42 (3) ชุดการสอนรายวิชาคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณสำหรับครูโดยใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ ทั้งในภาพรวมทุกด้าน ภาพรวมรายด้าน และรายข้อมีความเหมาะสมในระดับมาก\u0000สรุปผล: การเรียนรู้แบบร่วมมือเป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ ผู้เรียนได้ร่วมมือและช่วยเหลือกันในการเรียนรู้โดยแบ่งกลุ่มผู้เรียนที่มีความสามารถต่างกันออกเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ซึ่งเป็นลักษณะการรวมกลุ่มอย่างมีโครงสร้างที่ชัดเจน มีการทํางานร่วมกัน มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีการช่วยเหลือพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน มีความรับผิดชอบร่วมกันทั้งในส่วนตนและส่วนรวม","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"48 23","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-04-07","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"140733589","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องภูมิศาสตร์ โดยใช้ชุดสื่อประสมสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร์ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องภูมิศาสตร์ โดยใช้ชุดสื่อประสมสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร์
Pub Date : 2024-04-07 DOI: 10.60027/iarj.2024.274909
เบญญาภา วงศ์คำ, วรานิษฐ์ ธนชัยวรพันธ์
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องภูมิศาสตร์ โดยใช้ชุดสื่อประสมซึ่งเป็นสื่อกลางในการช่วยให้นักเรียนสามารถสร้างความรู้ ความเข้าใจด้วยตนเองจากการลงมือปฏิบัติ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง ภูมิศาสตร์โดยใช้ชุดสื่อประสม จากการเปรียบเทียบระหว่างคะแนนก่อนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร์ระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 35 คน ซึ่งได้มาโดยใช้วิธีสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ 1) ชุดสื่อประสมมีค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.67-1.00 2) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ภูมิศาสตร์ ชั้น ป.4/6 จำนวน 5 แผน ค่าดัชนีสอดคล้องของการจัดการเรียนรู้อยู่ระหว่าง 0.67 ถึง 1.00 และ 3) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ เรื่อง ภูมิศาสตร์ จำนวน 20 ข้อ ค่าดัขนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.67-0.89 แบบแผนการทดลองใช้แบบกลุ่มเดียว สถิติที่ใช้คือ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน, สถิติทดสอบทีผลการวิจัย: ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง ภูมิศาสตร์โดยใช้ชุดสื่อประสม โดยนักเรียนมีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ซึ่งการใช้ชุดสื่อประสมในการจัดการเรียนรู้เรื่องภูมิศาสตร์ สามารถส่งเสริมให้นักเรียนได้มีความกระตือรือร้นและมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ที่สูงขึ้น กล่าวคือผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ภูมิศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนด้วยชุดสื่อประสม มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียนสรุปผล: การศึกษาเน้นย้ำถึงผลกระทบเชิงบวกของการบูรณาการชุดสื่อในการศึกษาภูมิศาสตร์ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการปรับปรุงผลการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญ การเพิ่มขึ้นของคะแนนหลังการเรียนรู้ที่สังเกตได้ ควบคู่ไปกับความกระตือรือร้นและการมีส่วนร่วมที่เพิ่มขึ้น เน้นย้ำถึงประสิทธิภาพของสื่อในการส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในหมู่นักเรียน
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องภูมิศาสตร์ โดยใช้ชุดสื่อประสมซึ่งเป็นสื่อกลางในการช่วยให้ันกเรียนสามารถสร้างควารมู้ ควาเข้าใจด้วยตนเองจาการลงมอปฏิบัติการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่ง ภูมิศาสตร์โดยใช้ชุดื่ประสมจาการเปรียบเทียบระหว่างคะแนนก่อนและหังเรียนขงนักเรียนชั้นประถมศึษาปียนประถมศึษาธรมถียนประธรม:กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นักเรียนชั้นประถมศึษาปีที่ 4/6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 35 คนเด็กเด็ืออืที่ใช้วม โดยใช้วิธีสุ่มแบบกลุ่ม เครืออออืที่ใช้ในการเบ็กรวมข้ออมูลคอื 1) ชุดสื่อประสมีค่าดัชนีควมสออื 0.67-1.00 2) แผนการจัดากรเรียนรู้ เรื่อง ภูมิศาสตร์ ชั้น ป.4/6 จำนวน 5 แผน ค่าดัชีนสอคดล้องของการจัดการเรียนรู้อยู่ระหว่าง 0.67 ถึง 1.00 และ 3) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ เรื่อง ภูมิศาสตร์ จำนวน 20 ข้อ ค่าดัขนีความสอดคล้องยู่ระหว่าง 0.67-0.89 แบบแผนการทดลองใช้บแบกลุ่มเดียว สถิติที่ใช้ืคอ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน, สถิติทดสอบทีผลการวิจัย:ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง ภูมิศาสตร์โดยใช้ชุดสื่อประสม โดยนักเรียนมีคะแนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยะสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ึซ่งการใ้ชชุดสือประสมในการจัดการเรียนรู้เรอืองภูมิศาสตร์ สามารถส่งเสรมให้นักเรียนได้มีควมกระตอือร้นและมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ที่สูงขึนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่งอ ภูมิศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนด้นวยชุดสื่อประสม มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียนสรุปผล:การศึกษาเน้นย้ำถึงผลกระทบเชิงบวกของการบูรณาการชุดสื่อในการศึกษาภูมิศาสตร์ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการปรับปรุงผลการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญ การเพิ่มขึ้นของคะแนนหลังการเรียนรู้ที่สังเกตได้เด็กเด็กเรออออออออออออออออออออออออออออมเด็กที่เพิ่มขึ้น เน้นย้ำถึงประสิทธิภาพขอองสือในการส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทงาการเรียนใน
{"title":"การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องภูมิศาสตร์ โดยใช้ชุดสื่อประสมสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร์","authors":"เบญญาภา วงศ์คำ, วรานิษฐ์ ธนชัยวรพันธ์","doi":"10.60027/iarj.2024.274909","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.274909","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องภูมิศาสตร์ โดยใช้ชุดสื่อประสมซึ่งเป็นสื่อกลางในการช่วยให้นักเรียนสามารถสร้างความรู้ ความเข้าใจด้วยตนเองจากการลงมือปฏิบัติ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง ภูมิศาสตร์โดยใช้ชุดสื่อประสม จากการเปรียบเทียบระหว่างคะแนนก่อนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร์\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 35 คน ซึ่งได้มาโดยใช้วิธีสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ 1) ชุดสื่อประสมมีค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.67-1.00 2) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ภูมิศาสตร์ ชั้น ป.4/6 จำนวน 5 แผน ค่าดัชนีสอดคล้องของการจัดการเรียนรู้อยู่ระหว่าง 0.67 ถึง 1.00 และ 3) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ เรื่อง ภูมิศาสตร์ จำนวน 20 ข้อ ค่าดัขนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.67-0.89 แบบแผนการทดลองใช้แบบกลุ่มเดียว สถิติที่ใช้คือ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน, สถิติทดสอบที\u0000ผลการวิจัย: ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง ภูมิศาสตร์โดยใช้ชุดสื่อประสม โดยนักเรียนมีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ซึ่งการใช้ชุดสื่อประสมในการจัดการเรียนรู้เรื่องภูมิศาสตร์ สามารถส่งเสริมให้นักเรียนได้มีความกระตือรือร้นและมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ที่สูงขึ้น กล่าวคือผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ภูมิศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนด้วยชุดสื่อประสม มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียน\u0000สรุปผล: การศึกษาเน้นย้ำถึงผลกระทบเชิงบวกของการบูรณาการชุดสื่อในการศึกษาภูมิศาสตร์ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการปรับปรุงผลการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญ การเพิ่มขึ้นของคะแนนหลังการเรียนรู้ที่สังเกตได้ ควบคู่ไปกับความกระตือรือร้นและการมีส่วนร่วมที่เพิ่มขึ้น เน้นย้ำถึงประสิทธิภาพของสื่อในการส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในหมู่นักเรียน","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"22 26","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-04-07","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"140732885","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การบริหารงานเชิงกลยุทธ์และการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสกลนคร การบริหารงานเชิงกลยุทธ์และการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสกลนคร
Pub Date : 2024-04-07 DOI: 10.60027/iarj.2024.275044
ธัญพร บัวดี, สามารถ อัยกร, ชาติชัย อุดมกิจมงคล
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การบริหารงานพัสดุมีความสำคัญต่อการบริหารเป็นปัจจัยสู่ความสำเร็จของการบรรลุวิสัยทัศน์ (Vision) ขององค์การ ทั้งในองค์การขนาดเล็กจนถึงองค์การขนาดใหญ่ จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการบริหารงานพัสดุที่มี ประสิทธิภาพ ดังนั้นแล้วผู้ปฏิบัติงานจะต้องมีคุณสมบัติและมีความรู้ ความสามารถเกี่ยวกับพัสดุโดยตรง จึงจะทำให้งานสำเร็จลุล่วงและมีประสิทธิภาพ ดังนั้นการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการบริหารงานเชิงกลยุทธ์ การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล และประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสกลนคร 2) ศึกษาอิทธิพลของการบริหารงานเชิงกลยุทธ์ และการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสกลนครระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสกลนคร จำนวน 283 คน โดยการเทียบตารางสำเร็จรูปของ Krejcie and Morgan ทำการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณผลการวิจัย: (1) การบริหารเชิงกลยุทธ์ของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) บริหารงานเชิงกลยุทธ์ ด้านการนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ (β=.403) ด้านการกำหนดกลยุทธ์ (β=.274) การตรวจสอบภาพแวดล้อม (β=.167) และการควบคุมและประเมินผลกลยุทธ์ (β=.133) มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยสามารถร่วมกันทำนายระดับประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุได้ร้อยละ 89.30 (R2Adj=.893) (3) การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ด้านหลักความรับผิดชอบ (β=.304) หลักคุณธรรม (β=.241) หลักนิติธรรม (β=.232) และหลักความคุ้มค่า (β=.131) มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยสามารถร่วมกันทำนายระดับประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุ ได้ร้อยละ 89.70 (R2Adj=.897) ยกเว้นหลักความโปร่งใส และหลักการมีส่วนร่วมสรุปผล: ผลการวิจัยบ่งชี้ว่าการจัดการเชิงกลยุทธ์และแนวปฏิบัติธรรมาภิบาลภายในสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมีประสิทธิภาพสูง ซึ่งส่งผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อประสิทธิภาพการจัดการอุปทานโดยรวม ปัจจัยสำคัญ เช่น การดำเนินกลยุทธ์ การกำหนด การติดตามด้านสิ่งแวดล้อม ความรับผิดชอบ/ความรับผิดชอบ คุณธรรม หลักนิติธรรม และความคุ้มค่าของเงิน มีบทบาทสำคัญในการทำนายและปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการอุปทาน แสดงให้เห็นความสัมพันธ์ที่แข็งแกร่งระหว่างการจัดการเชิงกลยุทธ์และแนวทางปฏิบัติด้านธรรมาภิบาลที่ดีกับอุปทาน ผลลัพธ์ของการจัดการ
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:การบริหารงานพัสดุมีความสำคัญต่อการบริหารเป็นปัจจัยสู่ความสำเร็จของการบรรลุวิสัยทัศน์ (Vision) ขององค์การ ทั้งในองค์การขนาดเล็กจนถึงองค์การขนาดใหญ่ จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการบริหารงานพัสดุที่มีประสิทธิภาพ ดังนั้นแล้วผู้ปฏิบัติงานจะต้องมีคุณสมบัติและมีความรู้ ความสามารถเกี่ยวกับพัสดุโดยตรง จึงจะทำให้งานสำเร็จลุล่วงและมีประสิทธิภาพ ดังนั้นการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) เE28↩ึกษาระดับารมอศัยจังหวัดมอศค 2) เE28↩ัยจังหวัดมอศค 3) เE28↩ัยจังหวัดมอศค 4) เE28↩ัยจังหวัดมอศค 5) เE28↩ัยจังหวัดมอศค 6) เE28↩ัยจังหวัดมอศค 7) เE28↩ัยจังหวัดมอศค 8) เE28↩ัยจังหวัดมอศค 2) เE28↩ัยจังหวัดมอศคศึกษาอิทธิพลของการบริหารงานเชิงกลยุทธ์ และการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสกลนครระเบียบวิธีการวิจัย:มตัวอย่าง เด้แก่ มตัวอย่าง เด้แก่ มตัวอย่าง เด้แก่ มตัวอย่าง เสังกัดสำนักงงน่ง เสริมการศึกษานอกระบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสกลนคร จนำวน 283 คน โดยการเทียบตารางสำเร็จรูปของ Krejcie and Morgan ทำการสุ่มตัวอย่าง แบชบันภูมิโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณผลการวิจัย:(1) การบริหารเชิงกลยุทธ์ของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) บริหารงานเชิงกลยุทธ์ ด้านการนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ (β=.403) เด็กเด็กประเมินธ์ (β=.274) การตรวจสอบภาพแวดล้อม (β=.167) และการควบคุมและประเมินผลกยุทธ์ (β=.133) มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการมอัธยาศัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยสามารถร่วมกันทำนายระดับประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุได้ร้อยละ 89.30 (R2Adj=.893) (3)การบรานตามลักธรมาภิบาหลักความรับผิดชอบ (β=.304) หลักคุณธรรม (β=.241) หลักนิติธรรม (β=.232) แลักความคุ้มคา (β=.131) มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุของสำนักงานส่งเรสิมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยสามารถร่วมกันทำนายระดับประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุ ได้ร้อยละ 89.70 (R2Adj=.897) ยกเว้นหลักความโปร่งใส และหลักการมสี่วนร่วมสรุปผล:มตัยสำคัญมต่อประสิทธิภาพการจัดการอุปทานโดยรวม ปัจจัยสำคัญ เช่น การดำเนินการอุทธ์ การรกำหนด การติดตามด้านสิ่งแวด้อมความรับผิดชอบ/ความรับผิดชอบ คุณธรรม หลักนิติธรรม และความคุ้มค่าของเงิน มีบทบาทสำคัญในการทนำายและปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการอุปทานแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ที่แข็งแการจัดการเชิงกลยุทธ์และแนวทางปฏิบัติด้านธรรมาภิบาลที่ดีกับุอปทาน ผลัพธ์ของการจัดากร
{"title":"การบริหารงานเชิงกลยุทธ์และการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสกลนคร","authors":"ธัญพร บัวดี, สามารถ อัยกร, ชาติชัย อุดมกิจมงคล","doi":"10.60027/iarj.2024.275044","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.275044","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การบริหารงานพัสดุมีความสำคัญต่อการบริหารเป็นปัจจัยสู่ความสำเร็จของการบรรลุวิสัยทัศน์ (Vision) ขององค์การ ทั้งในองค์การขนาดเล็กจนถึงองค์การขนาดใหญ่ จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการบริหารงานพัสดุที่มี ประสิทธิภาพ ดังนั้นแล้วผู้ปฏิบัติงานจะต้องมีคุณสมบัติและมีความรู้ ความสามารถเกี่ยวกับพัสดุโดยตรง จึงจะทำให้งานสำเร็จลุล่วงและมีประสิทธิภาพ ดังนั้นการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการบริหารงานเชิงกลยุทธ์ การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล และประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสกลนคร 2) ศึกษาอิทธิพลของการบริหารงานเชิงกลยุทธ์ และการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสกลนคร\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสกลนคร จำนวน 283 คน โดยการเทียบตารางสำเร็จรูปของ Krejcie and Morgan ทำการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ\u0000ผลการวิจัย: (1) การบริหารเชิงกลยุทธ์ของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) บริหารงานเชิงกลยุทธ์ ด้านการนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ (β=.403) ด้านการกำหนดกลยุทธ์ (β=.274) การตรวจสอบภาพแวดล้อม (β=.167) และการควบคุมและประเมินผลกลยุทธ์ (β=.133) มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยสามารถร่วมกันทำนายระดับประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุได้ร้อยละ 89.30 (R2Adj=.893) (3) การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ด้านหลักความรับผิดชอบ (β=.304) หลักคุณธรรม (β=.241) หลักนิติธรรม (β=.232) และหลักความคุ้มค่า (β=.131) มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยสามารถร่วมกันทำนายระดับประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุ ได้ร้อยละ 89.70 (R2Adj=.897) ยกเว้นหลักความโปร่งใส และหลักการมีส่วนร่วม\u0000สรุปผล: ผลการวิจัยบ่งชี้ว่าการจัดการเชิงกลยุทธ์และแนวปฏิบัติธรรมาภิบาลภายในสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมีประสิทธิภาพสูง ซึ่งส่งผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อประสิทธิภาพการจัดการอุปทานโดยรวม ปัจจัยสำคัญ เช่น การดำเนินกลยุทธ์ การกำหนด การติดตามด้านสิ่งแวดล้อม ความรับผิดชอบ/ความรับผิดชอบ คุณธรรม หลักนิติธรรม และความคุ้มค่าของเงิน มีบทบาทสำคัญในการทำนายและปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการอุปทาน แสดงให้เห็นความสัมพันธ์ที่แข็งแกร่งระหว่างการจัดการเชิงกลยุทธ์และแนวทางปฏิบัติด้านธรรมาภิบาลที่ดีกับอุปทาน ผลลัพธ์ของการจัดการ","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"49 12","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-04-07","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"140733446","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
期刊
Interdisciplinary Academic and Research Journal
全部 Acc. Chem. Res. ACS Applied Bio Materials ACS Appl. Electron. Mater. ACS Appl. Energy Mater. ACS Appl. Mater. Interfaces ACS Appl. Nano Mater. ACS Appl. Polym. Mater. ACS BIOMATER-SCI ENG ACS Catal. ACS Cent. Sci. ACS Chem. Biol. ACS Chemical Health & Safety ACS Chem. Neurosci. ACS Comb. Sci. ACS Earth Space Chem. ACS Energy Lett. ACS Infect. Dis. ACS Macro Lett. ACS Mater. Lett. ACS Med. Chem. Lett. ACS Nano ACS Omega ACS Photonics ACS Sens. ACS Sustainable Chem. Eng. ACS Synth. Biol. Anal. Chem. BIOCHEMISTRY-US Bioconjugate Chem. BIOMACROMOLECULES Chem. Res. Toxicol. Chem. Rev. Chem. Mater. CRYST GROWTH DES ENERG FUEL Environ. Sci. Technol. Environ. Sci. Technol. Lett. Eur. J. Inorg. Chem. IND ENG CHEM RES Inorg. Chem. J. Agric. Food. Chem. J. Chem. Eng. Data J. Chem. Educ. J. Chem. Inf. Model. J. Chem. Theory Comput. J. Med. Chem. J. Nat. Prod. J PROTEOME RES J. Am. Chem. Soc. LANGMUIR MACROMOLECULES Mol. Pharmaceutics Nano Lett. Org. Lett. ORG PROCESS RES DEV ORGANOMETALLICS J. Org. Chem. J. Phys. Chem. J. Phys. Chem. A J. Phys. Chem. B J. Phys. Chem. C J. Phys. Chem. Lett. Analyst Anal. Methods Biomater. Sci. Catal. Sci. Technol. Chem. Commun. Chem. Soc. Rev. CHEM EDUC RES PRACT CRYSTENGCOMM Dalton Trans. Energy Environ. Sci. ENVIRON SCI-NANO ENVIRON SCI-PROC IMP ENVIRON SCI-WAT RES Faraday Discuss. Food Funct. Green Chem. Inorg. Chem. Front. Integr. Biol. J. Anal. At. Spectrom. J. Mater. Chem. A J. Mater. Chem. B J. Mater. Chem. C Lab Chip Mater. Chem. Front. Mater. Horiz. MEDCHEMCOMM Metallomics Mol. Biosyst. Mol. Syst. Des. Eng. Nanoscale Nanoscale Horiz. Nat. Prod. Rep. New J. Chem. Org. Biomol. Chem. Org. Chem. Front. PHOTOCH PHOTOBIO SCI PCCP Polym. Chem.
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
0
微信
客服QQ
Book学术公众号 扫码关注我们
反馈
×
意见反馈
请填写您的意见或建议
请填写您的手机或邮箱
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
现在去查看 取消
×
提示
确定
Book学术官方微信
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术
文献互助 智能选刊 最新文献 互助须知 联系我们:info@booksci.cn
Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。
Copyright © 2023 Book学术 All rights reserved.
ghs 京公网安备 11010802042870号 京ICP备2023020795号-1