首页 > 最新文献

Interdisciplinary Academic and Research Journal最新文献

英文 中文
การส่งเสริมความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วรรณกรรมท้องถิ่นเป็นฐาน ร่วมกับกลวิธี SQP2RS การส่งเสริมความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วรรณกรรมท้องถิ่นเป็นฐาน ร่วมกับกลวิธี SQP2RS
Pub Date : 2024-06-07 DOI: 10.60027/iarj.2024.275367
นัทธ์ชนัน แก้วดวงใจ, วิภาวี ศิริลักษณ์
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การติดต่อสื่อสารอย่างไร้พรมแดนในสังคมปัจจุบัน ล้วนต้องมีความสามารถในการรับข้อมูลผ่านการอ่านอย่างมีวิจารณญาณเป็นพื้นฐานสำคัญ เมื่อพิจารณาคะแนน O-NET วิชาภาษาไทย พบว่า สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 มีคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ การวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วรรณกรรมท้องถิ่นเป็นฐาน ร่วมกับกลวิธี SQP2RS เพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 2) ศึกษาผลการใช้กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วรรณกรรมท้องถิ่นเป็นฐาน ร่วมกับกลวิธี SQP2RS เพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3ระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านวังฟ่อน (สิทธิราษฎร์บำรุง) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 17 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วรรณกรรมท้องถิ่นเป็นฐาน ร่วมกับกลวิธี SQP2RS และ 2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ซึ่งผ่านการตรวจสอบคุณภาพด้านความตรงเชิงเนื้อหา (IOC) มากกว่า 0.5 จำนวน 29 ข้อ ค่าความยาก เท่ากับ 0.33-0.78 อำนาจจำแนก เท่ากับ 0.30-0.75 และความเที่ยงของแบบทดสอบทั้งฉบับ (KR-20) เท่ากับ 0.86 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีแบบไม่เป็นอิสระจากกัน (Dependent sample t-test)ผลการวิจัย: 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วรรณกรรมท้องถิ่นเป็นฐาน ร่วมกับกลวิธี SQP2RS เพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ 1) กระตุ้นให้นึกคิด 2) สำรวจ 3) ตอบสนอง และ 4) สรุปและประเมินผล โดยแผนการจัดการเรียนรู้ผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญแล้ว พบว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (M=4.36, SD=0.84) และ 2) ผลการทดลองใช้กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วรรณกรรมท้องถิ่นเป็นฐาน ร่วมกับกลวิธี SQP2RS เพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า 1) ประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วรรณกรรมท้องถิ่นเป็นฐาน ร่วมกับกลวิธี SQP2RS () เท่ากับ 83.28/80.29 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ และ 2) นักเรียนมีความสามารถในอ่านอย่างมีวิจารณญาณหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05สรุปผล: แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วรรณกรรมท้องถิ่นเป็นฐาน ร่วมกับกลวิธี SQP2RS มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ และส่งผลให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณสูงขึ้น
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:การติดต่อสือสารอย่างไร้พรมแดนในสังคมปจัจุบัน ล้วนต้องมีความสามารถในการรับข้อมูลผ่านการอ่านอย่างมีวจารณญาณเป็นพื้นฐานสำคัญ เมื่อพิจารณาคะแนน o-网 วิชาภาษาไทย พบว่า สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 มีคะแนเฉลี่ยต่ำกวาคะแนเฉลี่ยระดับประเทศการวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วรรณกรรมท้องถิ่นเป็นฐาน ร่วมกับกวลิธี sqp2rsเพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณขงอนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 2) ศึกษาผลการใช้กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วรรณกรรมท้องถิ่นเป็นฐานร่วมกับกลวิธี sqp2rs เพื่อส่งเสริมความสามารถในการอานอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3ระเบียบวิธีการวิจัย:นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ใช้ในการวจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านวังฟ่อน (สิทธิราษฎร์บำรุง)ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 17 คน ซ่ึงได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบแบงกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวจัยได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วรรณกรรมท้องถิ่นเป็นฐาน ร่วมกับกลวิธี SQP2RS และ 2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ซึ่งผ่านการตรวจสอบคุณภาพด้านความตรงเชิงเนื้อหา (IOC) มากกว่า 0.5 จำนวน 29 ข้อ ค่าความยาก เท่ากับ 0.33-0.78 อำนาจจำแนก เท่ากับ 0.30-0.75 และความเที่ยงของแบบทดสอบทั้งฉบับ (KR-20) เท่ากับ 0.86 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะหา้์ขอมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยะ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีแบบไม่เป็นอิสระจากกัน (Dependent sample t-test)ผลากรวิจัย:1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วรรณกรรมท้องถิ่นเป็นฐาน ร่วมกับกลวิธี SQP2RS เพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้4 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ 1) กระตุ้นให้นึกคิด 2) สำรวจ 3) ตอบสนอง และ 4) สรุปและประเมินผล โดยแผนการจัดการเรียนรู้ผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญแล้ว พบว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (M=4.36, SD=0.84) และ 2) ผลการทดลองใช้กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วรรณกรรมท้องถิ่นเป็นฐาน ร่วมกับกลวิธี sqp2rs เพือส่งเสริมความสามารถในการอ่นอย่างมีวจิารณญาณของนักเรียนชันมัธยมศึกษาปีที่3 พประสิทธิภาพของแผนการจัดารเรียนรู้โดยใช้วรรณกรมท้องถิ่นเป็นฐาน ร่วมกับกลวิธี sqp2rs () เท่ากับ 83.28/80.29 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กำและ 2) นักเรียนมีความสามารถในอ่านอย่างมีวิจารณญาณหาลังเรียนูสงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสคำัญทางสถิติที่ระดับ .05สรุปผล:แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วรรณกรรมท้องถิ่นเป็นฐาน ร่วมกับกลวิธ sqีp2rs มีควาเหมาะสมอยู่ในระดับมากมีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กหำนดไว้ และส่งผลให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณสูงขึ้น
{"title":"การส่งเสริมความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วรรณกรรมท้องถิ่นเป็นฐาน ร่วมกับกลวิธี SQP2RS","authors":"นัทธ์ชนัน แก้วดวงใจ, วิภาวี ศิริลักษณ์","doi":"10.60027/iarj.2024.275367","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.275367","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การติดต่อสื่อสารอย่างไร้พรมแดนในสังคมปัจจุบัน ล้วนต้องมีความสามารถในการรับข้อมูลผ่านการอ่านอย่างมีวิจารณญาณเป็นพื้นฐานสำคัญ เมื่อพิจารณาคะแนน O-NET วิชาภาษาไทย พบว่า สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 มีคะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ การวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วรรณกรรมท้องถิ่นเป็นฐาน ร่วมกับกลวิธี SQP2RS เพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 2) ศึกษาผลการใช้กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วรรณกรรมท้องถิ่นเป็นฐาน ร่วมกับกลวิธี SQP2RS เพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านวังฟ่อน (สิทธิราษฎร์บำรุง) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 17 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วรรณกรรมท้องถิ่นเป็นฐาน ร่วมกับกลวิธี SQP2RS และ 2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ซึ่งผ่านการตรวจสอบคุณภาพด้านความตรงเชิงเนื้อหา (IOC) มากกว่า 0.5 จำนวน 29 ข้อ ค่าความยาก เท่ากับ 0.33-0.78 อำนาจจำแนก เท่ากับ 0.30-0.75 และความเที่ยงของแบบทดสอบทั้งฉบับ (KR-20) เท่ากับ 0.86 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีแบบไม่เป็นอิสระจากกัน (Dependent sample t-test)\u0000ผลการวิจัย: 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วรรณกรรมท้องถิ่นเป็นฐาน ร่วมกับกลวิธี SQP2RS เพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ 1) กระตุ้นให้นึกคิด 2) สำรวจ 3) ตอบสนอง และ 4) สรุปและประเมินผล โดยแผนการจัดการเรียนรู้ผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญแล้ว พบว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (M=4.36, SD=0.84) และ 2) ผลการทดลองใช้กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วรรณกรรมท้องถิ่นเป็นฐาน ร่วมกับกลวิธี SQP2RS เพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า 1) ประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วรรณกรรมท้องถิ่นเป็นฐาน ร่วมกับกลวิธี SQP2RS () เท่ากับ 83.28/80.29 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ และ 2) นักเรียนมีความสามารถในอ่านอย่างมีวิจารณญาณหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05\u0000สรุปผล: แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วรรณกรรมท้องถิ่นเป็นฐาน ร่วมกับกลวิธี SQP2RS มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ และส่งผลให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณสูงขึ้น","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":" 14","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-06-07","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141372590","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
Aidelaisi Silk Designing Based Luopu Tourism Souvenir Marking 基于洛浦旅游纪念品标识的艾德莱斯绸设计
Pub Date : 2024-06-07 DOI: 10.60027/iarj.2024.275341
Manus Kaewbucha, Han Mao
Background and Aims: In the international context of the combined development of intangible cultural heritage and tourism, the study mainly focuses on the marketing of Aidelaisi silk tourist souvenirs. Aidelaisi silk technique, an intangible cultural heritage technique of the Chinese Hui nationality, is a traditional textile binding and dyeing technique on the ancient Silk Road. Thus, the objectives of the research are to strengthen and improve the knowledge of Aidelaisi silk; to effectively market and promote traditional Uyghur Aidelaisi silk production techniques; to design tourist guides and Aidelaisi silk tourist souvenirs that are consistent with and reflect the unique tourist identity of Luopu. In this way, the protection and innovative development of traditional Aidelaisi silk skills can be promoted sustainably.Methodology: This research adopts qualitative, field surveys and interviews, and other descriptive and interpretive research methods. The theoretical basis of this research includes the International Centre for the Study of the Preservation and Restoration of Cultural Properties (ICCROM), Australia’s Prague Charter 1999, and Heritage Quality, among others.  Results: The promotion of Luopu Aidelaisi Silk's heritage gains momentum through strategic initiatives like expanding marketing channels and optimizing souvenir design. For coordination and promotion to be effective, a collaborative framework involving government agencies, academics, producers, and consumers is essential. Through the integration of digital technologies and the utilization of all-media platforms, Aidelaisi Silk's visibility has increased, leading to a greater level of recognition and increased participation in its conservation and development efforts.Conclusion: The heritage of Luopu Aidelaisi silk is being elevated through deliberate actions like expanding marketing channels and improving souvenir designs. Working together with stakeholders and making use of digital tools is essential to raising awareness and encouraging involvement in its conservation and development.
背景与目的:在非物质文化遗产与旅游业结合发展的国际背景下,本研究主要关注艾德莱斯绸旅游纪念品的营销。艾德莱斯绸技艺是中国回族非物质文化遗产技艺,是古丝绸之路上的一种传统纺织品扎染技艺。因此,本研究的目标是加强和提高对艾德莱斯绸的认识;有效营销和推广维吾尔族艾德莱斯绸传统制作技艺;设计符合和体现洛浦独特旅游身份的旅游指南和艾德莱斯绸旅游纪念品。从而可持续地推动艾德莱斯绸传统技艺的保护和创新发展:本研究采用定性、实地调查和访谈等描述性和解释性研究方法。本研究的理论基础包括国际文化财产保护与修复研究中心(ICCROM)、澳大利亚 1999 年《布拉格宪章》以及遗产质量等。 成果:通过拓展营销渠道和优化纪念品设计等战略举措,洛浦艾德莱斯绸的遗产推广工作获得了动力。要使协调和推广工作取得成效,必须建立一个由政府机构、学术界、生产商和消费者共同参与的合作框架。通过整合数字技术和利用全媒体平台,提高了艾德莱斯绸的知名度,从而提高了人们对其保护和发展工作的认可度和参与度:结论:通过拓展营销渠道和改进纪念品设计等深思熟虑的行动,洛浦艾德莱斯绸的遗产正在得到提升。与利益攸关方合作并利用数字工具对于提高保护和发展意识并鼓励参与保护和发展工作至关重要。
{"title":"Aidelaisi Silk Designing Based Luopu Tourism Souvenir Marking","authors":"Manus Kaewbucha, Han Mao","doi":"10.60027/iarj.2024.275341","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.275341","url":null,"abstract":"Background and Aims: In the international context of the combined development of intangible cultural heritage and tourism, the study mainly focuses on the marketing of Aidelaisi silk tourist souvenirs. Aidelaisi silk technique, an intangible cultural heritage technique of the Chinese Hui nationality, is a traditional textile binding and dyeing technique on the ancient Silk Road. Thus, the objectives of the research are to strengthen and improve the knowledge of Aidelaisi silk; to effectively market and promote traditional Uyghur Aidelaisi silk production techniques; to design tourist guides and Aidelaisi silk tourist souvenirs that are consistent with and reflect the unique tourist identity of Luopu. In this way, the protection and innovative development of traditional Aidelaisi silk skills can be promoted sustainably.\u0000Methodology: This research adopts qualitative, field surveys and interviews, and other descriptive and interpretive research methods. The theoretical basis of this research includes the International Centre for the Study of the Preservation and Restoration of Cultural Properties (ICCROM), Australia’s Prague Charter 1999, and Heritage Quality, among others.  \u0000Results: The promotion of Luopu Aidelaisi Silk's heritage gains momentum through strategic initiatives like expanding marketing channels and optimizing souvenir design. For coordination and promotion to be effective, a collaborative framework involving government agencies, academics, producers, and consumers is essential. Through the integration of digital technologies and the utilization of all-media platforms, Aidelaisi Silk's visibility has increased, leading to a greater level of recognition and increased participation in its conservation and development efforts.\u0000Conclusion: The heritage of Luopu Aidelaisi silk is being elevated through deliberate actions like expanding marketing channels and improving souvenir designs. Working together with stakeholders and making use of digital tools is essential to raising awareness and encouraging involvement in its conservation and development.","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":" 5","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-06-07","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141372921","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ความรู้และทัศนคติกับการใช้กัญชาในอาหารของผู้ประกอบการตำบลหนองรี อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี ความรู้และทัศนคติกับการใช้กัญชาในอาหารของผู้ประกอบการตำบลหนองรี อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี
Pub Date : 2024-06-07 DOI: 10.60027/iarj.2024.276242
จีราภา ประพันธมิตร, เจนจิรา เหลืองอ่อน, สุรัสวดี สินวัต
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: จากการเปลี่ยนแปลงของกฎหมายเกี่ยวกับกัญชาทำให้เกิดโอกาสในการใช้กัญชาทางแพทย์และเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น แต่ละพื้นที่มีการนำกัญชามาใช้ในธุรกิจต่างๆ โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร มีการใช้กัญชาเป็นส่วนผสมของอาหาร ทำให้ประชาชนเข้าถึงกัญชาเพิ่มมากขึ้นทั้งยังมีช่องว่างของข้อมูลความรู้เกี่ยวกับการนำกัญชามาใช้ของผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้และทัศนคติกับการใช้กัญชาในอาหารของผู้ประกอบการระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง ดำเนินการวิจัยในช่วงเดือนมกราคม 2566 ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวโกรก ตำบลหนองรี อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ในกลุ่มตัวอย่างจำนวน 16 คน ที่คัดเลือกแบบเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลแบบผสมผสาน ข้อมูลเชิงปริมาณใช้แบบสอบถามและข้อมูลเชิงคุณภาพใช้แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพผลการวิจัย: ผู้ประกอบการมีความรู้เกี่ยวกับกัญชาโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง มีทัศนคติเกี่ยวกับการใช้กัญชาอย่างเป็นกลาง ผลจากการสัมภาษณ์การใช้กัญชา พบว่า ผู้ประกอบการส่วนใหญ่เลือกที่จะไม่ใช้กัญชาในการประกอบอาหาร เพราะอันตรายจากกัญชาต่อลูกค้าในแต่ละกลุ่มวัย กัญชาเป็นสารเสพติดและขอบเขตของกฎหมายไม่ชัดเจน อาหารขายดีเป็นเรื่องของฝีมือการปรุงอาหารไม่ใช่การตลาดจากการใช้กัญชาไม่ควรนำมาใส่อาหาร และการใช้ประโยชน์ของกัญชาด้านอื่นๆสรุปผล: ควรมีการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับกัญชาให้มากขึ้น และมีการบังคับใช้นโยบายที่ชัดเจนเกี่ยวกับปริมาณการใช้กัญชาในอาหาร เพื่อป้องกันการใช้กัญชาที่ไม่เหมาะสม
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:จาการเปลี่ยนแปลงของกฎหมายเกี่ยวกับกัญชาทำให้เกิดโอกาสในการใช้กัญชาทางแพทย์และเศรษฐกิจเพิ่มข้นแต่ละพื้นที่มีการนำกัญชามาใช้ในธุรกจต่างๆ โดยเฉพาะในกลุ่มผูประกอบารธุรกจอาหาร มีการใช้กัญชาเป็นส่วนผสมขงอาหารทำให้าประชาชนเข้าถึงกัญชาเพิ่มากขึ้นทั้งยังมีชองว่างของข้ออมูลคมรู้เกี่ยวกับารนำกัญชมาใช้อขงผูประกอบารธุรกจิอาหราการศึกษาครั้งนี้มีวตัถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้และทัศนคติกับการใช้กัญชาในาหารของผู้ประกอบการระเบียบวิธีการวิจัย:การวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง ดเนินการวิจัยในช่วงเดอืนมกราคม 2566 ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโงรงพยาบาลส่งเสริมสุขาพภตำบลบ้านหัวโกรกตำเอเมอืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ในกลุ่มตัวอย่างจำนวน 16 คน ที่คัดเลือกแบบเจาะจงเก็บรวบรวมข้อมูลแบบผสมผสาน ข้อมูลเชิงปริมาณใช้แบบสอบถามและข้อมูลเชิงคุณภาพใช้แบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติเชิงพรรณนาเด็กเด็กจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเรคาห์ข้อมูลเชิงคุณภาพผลการวิจัย:ผู้ประกอบการมีความรู้เกี่ยวกับกัญชาโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง มีทัศนคติเกี่ยวกับการใช้กัญชาอย่างเป็นกลาง ผลจากการสัมภาษณ์การใช้กัญชา พบว่า ผู้ประกอบการส่วนใหญ่เลือกที่จะไม่ใช้กัญชาในการประกอบอาหารเพราะอันตรายจากกัญชาต่อลูกค้าในแต่ละกลุ่มวัย กัญชาเป็นสารเสพติดและขอบเขตของกฎหมายไม่ชัดเจนเด็กเป็นเรอืองของฝีมอือการปรุงอาหารใช่การตลาดจาการใช้กัญชาไม่ควรนำมาใส่อาหารและการใช้ประโยชน์ของกัญชาด้านอื่นๆสรุปผล:ควรมีการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับกัญชาให้มากขึ้น และมีการบังคับใช้นโยบายที่ชัดเจนเกี่ยวกับปริมาณการใช้กัญชาในอาหาร เพื่อป้องกันการใช้กัญชาที่ไม่เหมาะสม
{"title":"ความรู้และทัศนคติกับการใช้กัญชาในอาหารของผู้ประกอบการตำบลหนองรี อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี","authors":"จีราภา ประพันธมิตร, เจนจิรา เหลืองอ่อน, สุรัสวดี สินวัต","doi":"10.60027/iarj.2024.276242","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276242","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: จากการเปลี่ยนแปลงของกฎหมายเกี่ยวกับกัญชาทำให้เกิดโอกาสในการใช้กัญชาทางแพทย์และเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น แต่ละพื้นที่มีการนำกัญชามาใช้ในธุรกิจต่างๆ โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร มีการใช้กัญชาเป็นส่วนผสมของอาหาร ทำให้ประชาชนเข้าถึงกัญชาเพิ่มมากขึ้นทั้งยังมีช่องว่างของข้อมูลความรู้เกี่ยวกับการนำกัญชามาใช้ของผู้ประกอบการธุรกิจอาหาร การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้และทัศนคติกับการใช้กัญชาในอาหารของผู้ประกอบการ\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง ดำเนินการวิจัยในช่วงเดือนมกราคม 2566 ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวโกรก ตำบลหนองรี อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ในกลุ่มตัวอย่างจำนวน 16 คน ที่คัดเลือกแบบเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลแบบผสมผสาน ข้อมูลเชิงปริมาณใช้แบบสอบถามและข้อมูลเชิงคุณภาพใช้แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ\u0000ผลการวิจัย: ผู้ประกอบการมีความรู้เกี่ยวกับกัญชาโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง มีทัศนคติเกี่ยวกับการใช้กัญชาอย่างเป็นกลาง ผลจากการสัมภาษณ์การใช้กัญชา พบว่า ผู้ประกอบการส่วนใหญ่เลือกที่จะไม่ใช้กัญชาในการประกอบอาหาร เพราะอันตรายจากกัญชาต่อลูกค้าในแต่ละกลุ่มวัย กัญชาเป็นสารเสพติดและขอบเขตของกฎหมายไม่ชัดเจน อาหารขายดีเป็นเรื่องของฝีมือการปรุงอาหารไม่ใช่การตลาดจากการใช้กัญชาไม่ควรนำมาใส่อาหาร และการใช้ประโยชน์ของกัญชาด้านอื่นๆ\u0000สรุปผล: ควรมีการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับกัญชาให้มากขึ้น และมีการบังคับใช้นโยบายที่ชัดเจนเกี่ยวกับปริมาณการใช้กัญชาในอาหาร เพื่อป้องกันการใช้กัญชาที่ไม่เหมาะสม","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":" 26","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-06-07","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141374976","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การพัฒนาหลักสูตรเพื่อสร้างเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการเรียนรู้ผ่านการเล่นสำหรับนักศึกษาครู เพื่อส่งเสริมความสามารถอ่านออกเขียนได้ของนักเรียนระดับประถมศึกษา การพัฒนาหาลักสูตรเพือสร้างเสิมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการเรียนรู้ผ่านการเรียนรู้ศึษกาครู เพืออส่งเสริมความสามารถอ่านอกเขียนได้อขงนักเรียนระดับประถมศึษกา
Pub Date : 2024-06-07 DOI: 10.60027/iarj.2024.275968
กัญฐิกา เกษานุช, ปรณัฐ กิจรุ่งเรือง
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การสร้างเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับนักศึกษาครู ถือเป็นกระบวนการผลิตครูมืออาชีพ เพื่อเตรียมพร้อมในการส่งเสริมความสามารถอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน ตามแนวคิดการเรียนรู้ผ่านการเล่น ที่เชื่อว่าการเล่นเป็นโอกาสในการส่งเสริมความคิดและสร้างแรงจูงใจในการเรียน ดังนั้นจึงมีความเป็นไปได้ที่การเล่นสามารถช่วยพัฒนาทักษะทางภาษาของผู้เรียนได้ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพและความต้องการจำเป็นของการพัฒนาหลักสูตรสร้างเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ 2) พัฒนาหลักสูตรสร้างเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ 3) ทดลองใช้หลักสูตรที่สร้างและพัฒนาขึ้น และ 4) เพื่อประเมิน และรับรองหลักสูตรสร้างเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยแบ่งออกเป็น 4 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพและความต้องการจำเป็นด้านการจัดการเรียนรู้ ระยะที่ 2 การออกแบบและพัฒนาหลักสูตร ระยะที่ 3 การทดลองใช้หลักสูตร และระยะที่ 4 การประเมินและรับรองหลักสูตร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในระยะที่ 1 ได้แก่ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ ระยะที่ 2 ให้ข้อมูลโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 7 คน และผู้เชี่ยวชาญ 5 คน ระยะที่ 3 กลุ่มตัวอย่างในการทดลองใช้หลักสูตร คือ นักศึกษาครู 20 คน และนักเรียน 50 คน และระยะที่ 4 ประเมินและรับรองหลักสูตร โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบวิเคราะห์เอกสาร แบบสัมภาษณ์ แบบประเมินความสอดคล้อง ความเหมาะสม แบบทดสอบ แบบประเมินความสามารถ แบบสอบถาม แบบวัดการตระหนักรู้ สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัย: (1) สภาพปัจจุบันปัญหาด้านความสามารถอ่านออกเขียนได้ของนักเรียนระดับประถมศึกษา โดยรวมมีปัญหาอยู่ในระดับมาก และความต้องการของนักศึกษาครูในการสร้างเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ผ่านการเล่น โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (2) ผลการพัฒนาหลักสูตรสร้างเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการเรียนรู้ผ่านการเล่นสำหรับนักศึกษาครู พบว่า หลักสูตรสร้างเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการเรียนรู้ผ่านการเล่น มีองค์ประกอบ 8 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ความเป็นมาของหลักสูตร 2) หลักการของหลักสูตร 3) จุดมุ่งหมาย 4) ระยะเวลาการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร 5) โครงสร้างเนื้อหาและการฝึกปฏิบัติ 6) แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร7) สื่อการเรียนรู้ และ 8) แนวทางการวัดและประเมินผลตามหลักสูตร และโมดูลการเรียนรู้ 6 โมดูล ได้แก่ 1) ความสำคัญของสมรรถนะด้านการสอน 2) การศึกษาแนวทางการส่งเสริมความสามารถอ่านออกเขียนของนักเรียน 3) แนวทางและขั้นตอนการเรียนรู้ผ่านการเล่น 4) การออกแบบและการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางและขั้นตอนการเรียนรู้ผ่านการเล่น 5) สื่อและแหล่งเรียนรู้ 6) การวัดและประเมินความสามารถอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน ผลการตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตร พบว่า หลักสูตรมีความสอดคล้องโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และมีความเหมาะสม โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (3) ผลการทดลองใช้หลักสูตรสร้างเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการเรียนรู้ผ่านการเล่น พบว่า 1) คะแนนความรู้ฝึกอบรมของนักศึกษาครูสูงกว่าก่อนฝึกอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ความสามารถในการออกแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาครู ภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3) ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษาครู ภาพรวมอยู่ในระดับมาก 4) การตระหนักรู้ถึงความสำคัญ คุณค่า และประโยชน์ ของการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการเรียนรู้ผ่านการเล่น ร้อยละ 90 ตระหน
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:การสร้างเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับนักศึกษาครู ถือเป็นกระบวนการผลิคตรูมือาชีพ เพื่อเตรียมพร้อมในการส่งเสริมความสามารถอ่านอกเขียนได้ขงนักเรียนตามแนวคิดการเรียนรู้ผ่านการเล่น ที่เชื่อว่าการเล่นเป็นโอกาสในการส่งเสริมความคิดและสร้างแรงจูงใจในการเรียน ดังนั้นจึงมีความเป็นไปได้ที่การเล่นสามารถช่วยพัฒนาทักษะทางภาษาของผู้เรียนได้1) เE28↩ึษาสภาพและความต้องการจำเปน็ขงการพัฒนาหาลักสูตรส้างเสิมสมรรถนาหารมสมรถนารจัดารเรียนรู้ 2) พัฒนาหาลักสูตร้างเสิมสมรถนารจัดารเรียนรู้3) เด็กทดลองใชห้ากสูตรที่สร้างและพัฒนาขึ้น และ 4) เพ่อืประเมิน และรับรองหากสูตรสร้างเสริมสรมรรถนะด้านการจัดากรเรียนรู้ระเบียบวิธีการวิจัย:การวิจัยแบ่งอกเป็น 4 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพและความต้องการจำเป็นด้านการจัดารเรียนรู้ ระยะที่ 2 การอกอกแบบและพัฒนาหาลักสูตร ระยะที่ 3 การทดลองใช้หาลักสูตร และระยะที่ 4การประเมินและรับรองหากสูตร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในระยะที่ 1 ได้แก่ กลุ่มผู้ใหข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ระยะที่ 2 ให้ขอมลูโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 7 คน และผู้เชี่ยวชาญ 5 คน ระยะที่ 3 กลุ่มตัวอย่างใน การทดลองใชห้ลักสูตรคือ นักศึษาครู 20 คน และนักเรียน 50 คน และระยะที่ 4 ประเมินและรับรองหารักสูตร โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน เครื่องมืที่อใช้ในการเก็บรวบวมข้อมูล ได้แก่ แบบวิเคราะห์เอกสาร แบบสัมภษาณ์แบบประเมินความสอดคล้อง ความเหมาะสม แบบทดสอบ แบบประเมินความสามารถ แบบสอบถาม แบบวัดการตระหนักรู้ สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัย:(1) สภาพปัจจุบันปัญหาด้านความสามารถอ่านออกเขียนได้ของนักเรียนระดับประถมศึกษา โดยรวมมีปัญหาอยู่ในระดับมาก และความต้องการของนักศึกษาครูในการสร้างเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ผ่านการเล่นโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (2) ผลากรพัฒนาหาลักสูตรสร้างเสิมสมรรถนะด้านการจัดากรเรียนรู้ตามแนวทางการเรียนรู้ผ่านการเล่นสำหับันกศึกษาครู พบว่าเสิมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการเรียนรู้ผ่านการเล่น มีองค์ประกอบ 8 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ความเป็นมาของหลักสูตร 2) หลัการของหลักสูตร 3) จุดมุ่งหมาย4) เลงการเจัดารเรียนรู้ตามหลักสูตร 5) โครงสร้างเนื้อหาและการฝึกปฏิบัติ 6) แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร7) สื่อการเรียนรู้อ และ 8) แนวทางการวัดและประเมินผลตามหลักสูตร1) ความสำคัญของสมรถนะด้านการสอน 2) การศึกษาแนวทางการส่งเสริมความสามารถอ่านอกเขียนของนักเรียน 3) แนวทางและขั้นตอนการเรียนรูยน 3) แนวทางและขั้นตอนการเรียนรู้ผ่านการเล่น4) การอกแบบและการจัดการเรียนรู้าตมแนวทางและขั้นตอนการเรียนรู้ผ่านการเล่น 5) สือและแนเรียนรู้ 6) การวัดและประเมินความสาารถอ่านอกเขียนได้อขงนักเรียนผลารตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตร พบว่า หลักสูตรมีความสอดคล้องโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และมีควาเหมาะสม โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (3)ผลการทดลองใช้หลักสูตรสร้างเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการเรียนรู้ผ่านการเล่น พบว่า 1) คะแนนความรู้ฝึกอบรมของนักศึกษาครูสูงกว่าก่อนฝึกอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ความสามารรถในการอกแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาครู ภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3) ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษาครู ภาพรวมอยู่ในระดับมาก4) การตระหนักรู้ถึงความสำคัญ คุณค่าและประโยชน์ ของการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการเรียนรู้ผ่านการเล่น ร้อยละ 90 ตระหนักถึงความสำคัญ ร้อยละ 9095 ตระักถึงประโยชน์ 5) นักศึษาครูที่เข้ารับการอบรมการจัดการเรียนรู้ามแนวาทง
{"title":"การพัฒนาหลักสูตรเพื่อสร้างเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการเรียนรู้ผ่านการเล่นสำหรับนักศึกษาครู เพื่อส่งเสริมความสามารถอ่านออกเขียนได้ของนักเรียนระดับประถมศึกษา","authors":"กัญฐิกา เกษานุช, ปรณัฐ กิจรุ่งเรือง","doi":"10.60027/iarj.2024.275968","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.275968","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การสร้างเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้สำหรับนักศึกษาครู ถือเป็นกระบวนการผลิตครูมืออาชีพ เพื่อเตรียมพร้อมในการส่งเสริมความสามารถอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน ตามแนวคิดการเรียนรู้ผ่านการเล่น ที่เชื่อว่าการเล่นเป็นโอกาสในการส่งเสริมความคิดและสร้างแรงจูงใจในการเรียน ดังนั้นจึงมีความเป็นไปได้ที่การเล่นสามารถช่วยพัฒนาทักษะทางภาษาของผู้เรียนได้ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพและความต้องการจำเป็นของการพัฒนาหลักสูตรสร้างเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ 2) พัฒนาหลักสูตรสร้างเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ 3) ทดลองใช้หลักสูตรที่สร้างและพัฒนาขึ้น และ 4) เพื่อประเมิน และรับรองหลักสูตรสร้างเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยแบ่งออกเป็น 4 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพและความต้องการจำเป็นด้านการจัดการเรียนรู้ ระยะที่ 2 การออกแบบและพัฒนาหลักสูตร ระยะที่ 3 การทดลองใช้หลักสูตร และระยะที่ 4 การประเมินและรับรองหลักสูตร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในระยะที่ 1 ได้แก่ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ ระยะที่ 2 ให้ข้อมูลโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 7 คน และผู้เชี่ยวชาญ 5 คน ระยะที่ 3 กลุ่มตัวอย่างในการทดลองใช้หลักสูตร คือ นักศึกษาครู 20 คน และนักเรียน 50 คน และระยะที่ 4 ประเมินและรับรองหลักสูตร โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบวิเคราะห์เอกสาร แบบสัมภาษณ์ แบบประเมินความสอดคล้อง ความเหมาะสม แบบทดสอบ แบบประเมินความสามารถ แบบสอบถาม แบบวัดการตระหนักรู้ สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน\u0000ผลการวิจัย: (1) สภาพปัจจุบันปัญหาด้านความสามารถอ่านออกเขียนได้ของนักเรียนระดับประถมศึกษา โดยรวมมีปัญหาอยู่ในระดับมาก และความต้องการของนักศึกษาครูในการสร้างเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ผ่านการเล่น โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (2) ผลการพัฒนาหลักสูตรสร้างเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการเรียนรู้ผ่านการเล่นสำหรับนักศึกษาครู พบว่า หลักสูตรสร้างเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการเรียนรู้ผ่านการเล่น มีองค์ประกอบ 8 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ความเป็นมาของหลักสูตร 2) หลักการของหลักสูตร 3) จุดมุ่งหมาย 4) ระยะเวลาการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร 5) โครงสร้างเนื้อหาและการฝึกปฏิบัติ 6) แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร7) สื่อการเรียนรู้ และ 8) แนวทางการวัดและประเมินผลตามหลักสูตร และโมดูลการเรียนรู้ 6 โมดูล ได้แก่ 1) ความสำคัญของสมรรถนะด้านการสอน 2) การศึกษาแนวทางการส่งเสริมความสามารถอ่านออกเขียนของนักเรียน 3) แนวทางและขั้นตอนการเรียนรู้ผ่านการเล่น 4) การออกแบบและการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางและขั้นตอนการเรียนรู้ผ่านการเล่น 5) สื่อและแหล่งเรียนรู้ 6) การวัดและประเมินความสามารถอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน ผลการตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตร พบว่า หลักสูตรมีความสอดคล้องโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และมีความเหมาะสม โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (3) ผลการทดลองใช้หลักสูตรสร้างเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการเรียนรู้ผ่านการเล่น พบว่า 1) คะแนนความรู้ฝึกอบรมของนักศึกษาครูสูงกว่าก่อนฝึกอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ความสามารถในการออกแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาครู ภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3) ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษาครู ภาพรวมอยู่ในระดับมาก 4) การตระหนักรู้ถึงความสำคัญ คุณค่า และประโยชน์ ของการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการเรียนรู้ผ่านการเล่น ร้อยละ 90 ตระหน","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":" 16","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-06-07","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141370889","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การพัฒนากิจกรรมทางคณิตศาสตร์เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักเรียน การพัฒนากิจกรรมทางคณิตศาสตร์เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักเรียน
Pub Date : 2024-06-07 DOI: 10.60027/iarj.2024.275804
ศาสตรา หล้าอ่อน, พิมพ์ลักษณ์ มูลโพธิ์, กาญจนา เวชบรรพต
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การส่งเสริมเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองนั้นเป็นทั้งหลักการและเป้าหมายสำคัญของการศึกษาสำหรับพลเมืองโลกในอนาคต วงการการศึกษาได้แสวงหาแนวทางในการจัดการศึกษาเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ซึ่งเป็นมุมมองที่เชื่อกันว่าเป็นการศึกษาตลอดชีพ การศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปิดเป็นแนวทางหนึ่งที่นำมาใช้เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง การศึกษาการพัฒนากิจกรรมทางคณิตศาสตร์โดยใช้การศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปิดเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียนจึงเป็นประเด็นสำคัญที่ควรศึกษา งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายการพัฒนากิจกรรมทางคณิตศาสตร์เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักเรียนโดยใช้การศึกษาชั้นเรียนเป็นเครื่องมือในการพัฒนาร่วมกับวิธีการแบบเปิดระเบียบวิธีการวิจัย: ใช้วิธีวิทยาการวิจัยเชิงคุณภาพในการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล โดยมีเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน จำนวน 6 แผนที่ต่อเนื่องกัน กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย ได้แก่ นักวิจัย จำนวน 3 คน ครูผู้สอนวิชาคณิตศาสตร์ 1 คน และนักศึกษาชั้นปีที่ 3 จำนวน 15 คน กิจกรรมพัฒนาขึ้นเพื่อจัดการเรียนรู้สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 9 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย 1) แบบบันทึกการร่วมกันวางแผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบบันทึกภาคสนามเพื่อบันทึกแนวคิดของนักเรียน 3) กล้องวีดิทัศน์บันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน 4) กล้องภาพนิ่งเพื่อบันทึกผลงานนักเรียนและกระดานบันทึกการจัดการเรียนรู้ ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์โดยอาศัยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ร่วมกับการศึกษาตนเอง (Self-study) โดยใช้กรอบแนวคิดเรื่องกิจกรรมทางคณิตศาสตร์ของ Asami-Johanssonผลการวิจัย: กลุ่มการศึกษาชั้นเรียนร่วมกันพัฒนากิจกรรมทางคณิตศาสตร์เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง ได้แก่ (1) การพัฒนาเพื่อให้นักเรียนมีความมุ่งมั่น (Willingness) ที่จะมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมทางคณิตศาสตร์โดย 1) ออกแบบปัญหาที่ท้าทายสำหรับนักเรียน 2) ใช้ปัญหาที่สอดคล้องกับประสบการณ์ของนักเรียน 3) วางลำดับการตั้งคำถาม 4) ออกแบบสื่อเพื่อสนับสนุนการแก้ปัญหาด้วยตนเองของนักเรียน 5) จัดเตรียมสื่อเสริมเพื่อสนับสนุนการนำเสนอแนวคิดของนักเรียน  (2) การพัฒนาเพื่อให้นักเรียนทำกิจกรรมทางคณิตศาสตร์อย่างมีเป้าหมาย (Purpose)  โดย 1) ทีมการศึกษาชั้นเรียนต้องแก้ปัญหาในหนังสือเรียนญี่ปุ่น 2) วิเคราะห์ความยุ่งยากของปัญหา 3) คาดการณ์แนวคิดที่จะเกิดขึ้นในชั้นเรียน 4) วางลำดับของปัญหาที่นักเรียนจะได้เผชิญ 5) วิเคราะห์ประสบการณ์ของนักเรียน 6) ออกแบบสถานการณ์ปัญหาที่จะทำให้นักเรียนระบุปัญหาหรือเป้าหมายการแก้ปัญหาด้วยตนเอง 7) ออกแบบคำสั่ง 8) คาดการณ์แนวคิดและการตอบสนองต่อคำสั่ง 9) จัดเตรียมสื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัญหา 10) นำแนวคิดที่คาดการณ์ไว้มาเรียงลำดับการนำเสนอสรุปผล: ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าทีมศึกษาบทเรียนจงใจสร้างงานทางคณิตศาสตร์ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักเรียนโดยการตั้งคำถามที่ยาก จับคู่คำถามกับความรู้เดิม จัดระเบียบคำถามตามลำดับตรรกะ และเสนอแหล่งข้อมูลที่เป็นประโยชน์ นอกจากนี้ ยังสนับสนุนการมีส่วนร่วมทางคณิตศาสตร์โดยเจตนาผ่านการวิเคราะห์ปัญหาอย่างเป็นระบบ คาดการณ์ความคิดของนักเรียน และจัดระเบียบคำสั่งและการนำเสนอด้วยความระมัดระวัง
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:การส่งเพือให้ผู้เรียนสามารถเรียนรูด้วยตนเอนงั้นเป็นทั้งหลัการ้นเป็นวงการารศึกษาได้แสวงหาแนวทางในการจัดการศึกษาเพือให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้วศศ ศ ศ ศ ศ ศ ศ ศ ศ ศ ศเE28↩ึกษากรพัฒนากจรมทางคณิตศาสตร์โดยใช้การศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบเปดิเออออออออออืส่งเสริมการเรียนที่ควรศึกษางานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายการพัฒนากิจกรรมทางคณิตศาสตร์เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักเรียนโดยใช้การศึกษาชั้นเรียนเป็นเครื่องมือในการพัฒนาร่วมกับวิธีการแบบเปิดระเบียบวิธีการวิจัย:ใช้วิธีวิทยาการวิจัยเชิงคุณภาพในการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล โดยมีเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน จำนวน 6 แผนที่ต่อเนื่องกันกลุ่มเป้าหมายในการวิจัย ได้แก่ นักวิจัย จำนวน 3 คน ครูผู้สอนวิชาคณิตศาสตร์ 1 คน และนักศึกษาชั้นปีที่ 3 จำนวน 15 คน กิจกรรมพัฒนาขึ้นเพื่อจัดการเรียนรู้สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5 จำนวน 9 คน เครื่องมอืที่ใช้ในการเก็บรบวมข้อมูล ประกอบด้วย 1) แบบันทึกการร่วมกันวางแผนการจัดการเรียนรู้2) แบบันทึภาคสนามเพื่อบันทึกแนวคดิของนักเรียน 3) กล้องวีดิทัศน์บันทึกิกจรรมการเรียนรู้ในช้ันเรียน4) กล้องภาพนิ่งเพือบันทึกผลงานักเรียนและกระดานบันทึกการจัดการเรียนรู้อมมาวิเครรานำมาวิเเครานหานหานหา (内容分析) ร่วมกับารศึกษาตนเอง (Self-研究) โดยใช้กรอบแนวคิดเรื่องกจิกรรมทางคณิตศาสตร์ของ Asami-Johanssonผลการวจัย:กลุ่มารศึษาช้ันเรียนร่วมกันพัฒนาจิกรรมทางคณิตศาสตร์เพือออส่งเสริมให้นักเรียนเรียนรู้วยตเอง ได้แก่ (1)การพัฒนาเพื่อใหนักเรียนมีความุ่งมั่น (Willingness) ที่จะมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมทางคณิตศาสตร์โดย 1) อกแบบปัญหาที่ท้าทยาสำหรับนักเรียน 2)ใชป้ัญหาที่สอดคล้องกับประสบการณ์ขงนอักเรียน 3) วางลำดับการตั้งคำถาม 4) อกแบบสื่อเพือสนับสนุนการแกป้ัญหาด้วยตนเองของนักเรียน5) จัดเตรียมสื่อเสริมเพื่อสับสนุนการนำเสนอแนวคิดของนักเรียน (2) การพัฒนาเพื่อให้นักเรียนทำกิจกรรมทางคณติศาสตร์อย่างมีเป้าหมาย(目的) โดย 1) ทีมการศึกษาชั้นเรียนต้องแก้ัปญหาในหังสอเรียนญี่ปุ่น 2) วิเคราหะ์ควายุ่งยากของปัญหา 3) เดีมการศึกษาชั้นเรียนต้องแก้ัปญหาคาดการณ์แนวคิดที่จะเกิดทียน 4) วางลำดับของปัญหาที่นักเรียนจะได้เผชิญ 5) วิเคราะห์ประสบการณ์ของนักเรียน 6)อกแบสถานการณ์ปัญหาที่จะทำให้นักเรียนระบุปัญหารือเป้าหมายการแกป้ัญหาด้วยตนเอง 7) อกแบคำสั่ง 8)คาดการณ์แนวคิดและการตอบสนองงต่คอำสั่ง 9)จัดเตรียมสือให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัญหา 10) นำนแวคิดที่คาดการณ์ไว้มเรียงลำดับารนำเสนสอรุปผล:ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าทีมศึกษาบทเรียนจงใจสร้างงานทางคณิตศาสตร์ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักเรียนโดยการตั้งคำถามที่ยาก จับคู่คำถามกับความรู้เดิม จัดระเบียบคำถามตามลำดับตรรกะแลงข้อมลที่เป็นประโยชน์ นอกจากนี้ ยังสนับสนุนการมี่วนร่วมทางคณิตศาสตร์โดยเจตนาผ่านการวิเคราะห์ปัญหาอย่างเป็นระบบคาดการณ์ความคิดของนักเรียน
{"title":"การพัฒนากิจกรรมทางคณิตศาสตร์เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักเรียน","authors":"ศาสตรา หล้าอ่อน, พิมพ์ลักษณ์ มูลโพธิ์, กาญจนา เวชบรรพต","doi":"10.60027/iarj.2024.275804","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.275804","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การส่งเสริมเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองนั้นเป็นทั้งหลักการและเป้าหมายสำคัญของการศึกษาสำหรับพลเมืองโลกในอนาคต วงการการศึกษาได้แสวงหาแนวทางในการจัดการศึกษาเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ซึ่งเป็นมุมมองที่เชื่อกันว่าเป็นการศึกษาตลอดชีพ การศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปิดเป็นแนวทางหนึ่งที่นำมาใช้เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง การศึกษาการพัฒนากิจกรรมทางคณิตศาสตร์โดยใช้การศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปิดเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียนจึงเป็นประเด็นสำคัญที่ควรศึกษา งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายการพัฒนากิจกรรมทางคณิตศาสตร์เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักเรียนโดยใช้การศึกษาชั้นเรียนเป็นเครื่องมือในการพัฒนาร่วมกับวิธีการแบบเปิด\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: ใช้วิธีวิทยาการวิจัยเชิงคุณภาพในการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล โดยมีเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน จำนวน 6 แผนที่ต่อเนื่องกัน กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย ได้แก่ นักวิจัย จำนวน 3 คน ครูผู้สอนวิชาคณิตศาสตร์ 1 คน และนักศึกษาชั้นปีที่ 3 จำนวน 15 คน กิจกรรมพัฒนาขึ้นเพื่อจัดการเรียนรู้สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 9 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย 1) แบบบันทึกการร่วมกันวางแผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบบันทึกภาคสนามเพื่อบันทึกแนวคิดของนักเรียน 3) กล้องวีดิทัศน์บันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน 4) กล้องภาพนิ่งเพื่อบันทึกผลงานนักเรียนและกระดานบันทึกการจัดการเรียนรู้ ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์โดยอาศัยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ร่วมกับการศึกษาตนเอง (Self-study) โดยใช้กรอบแนวคิดเรื่องกิจกรรมทางคณิตศาสตร์ของ Asami-Johansson\u0000ผลการวิจัย: กลุ่มการศึกษาชั้นเรียนร่วมกันพัฒนากิจกรรมทางคณิตศาสตร์เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง ได้แก่ (1) การพัฒนาเพื่อให้นักเรียนมีความมุ่งมั่น (Willingness) ที่จะมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมทางคณิตศาสตร์โดย 1) ออกแบบปัญหาที่ท้าทายสำหรับนักเรียน 2) ใช้ปัญหาที่สอดคล้องกับประสบการณ์ของนักเรียน 3) วางลำดับการตั้งคำถาม 4) ออกแบบสื่อเพื่อสนับสนุนการแก้ปัญหาด้วยตนเองของนักเรียน 5) จัดเตรียมสื่อเสริมเพื่อสนับสนุนการนำเสนอแนวคิดของนักเรียน  (2) การพัฒนาเพื่อให้นักเรียนทำกิจกรรมทางคณิตศาสตร์อย่างมีเป้าหมาย (Purpose)  โดย 1) ทีมการศึกษาชั้นเรียนต้องแก้ปัญหาในหนังสือเรียนญี่ปุ่น 2) วิเคราะห์ความยุ่งยากของปัญหา 3) คาดการณ์แนวคิดที่จะเกิดขึ้นในชั้นเรียน 4) วางลำดับของปัญหาที่นักเรียนจะได้เผชิญ 5) วิเคราะห์ประสบการณ์ของนักเรียน 6) ออกแบบสถานการณ์ปัญหาที่จะทำให้นักเรียนระบุปัญหาหรือเป้าหมายการแก้ปัญหาด้วยตนเอง 7) ออกแบบคำสั่ง 8) คาดการณ์แนวคิดและการตอบสนองต่อคำสั่ง 9) จัดเตรียมสื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัญหา 10) นำแนวคิดที่คาดการณ์ไว้มาเรียงลำดับการนำเสนอ\u0000สรุปผล: ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าทีมศึกษาบทเรียนจงใจสร้างงานทางคณิตศาสตร์ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักเรียนโดยการตั้งคำถามที่ยาก จับคู่คำถามกับความรู้เดิม จัดระเบียบคำถามตามลำดับตรรกะ และเสนอแหล่งข้อมูลที่เป็นประโยชน์ นอกจากนี้ ยังสนับสนุนการมีส่วนร่วมทางคณิตศาสตร์โดยเจตนาผ่านการวิเคราะห์ปัญหาอย่างเป็นระบบ คาดการณ์ความคิดของนักเรียน และจัดระเบียบคำสั่งและการนำเสนอด้วยความระมัดระวัง","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":" 23","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-06-07","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141374533","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
พฤติกรรมการใช้สมุนไพรในการดูแลภาวะ Long COVID ของประชาชนในตำบลอ่างศิลา อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี พฤติกรรมการใช้สมุนไพรในการดูแลภาวะ Long COVID ของประชาชนในตำบลอ่างศิลา อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี
Pub Date : 2024-06-07 DOI: 10.60027/iarj.2024.276316
สุรัสวดี สินวัต, กรานธิดา แจ้งเจริญ, กิตติ กุนะ
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: สมุนไพร ถือเป็นทางเลือกในการรักษาและป้องกันโรคทั้งในรูปแบบของยาและผลิตภัณฑ์อาหารเสริมที่เป็นกระแสนิยมของคนทั่วไปในปัจจุบัน ประโยชน์ของการใช้สมุนไพรในการรักษาโรค โดยองค์ความรู้เหล่านี้ได้มีการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษสู่ลูกหลาน การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาผู้ที่มีการใช้สมุนไพรในการดูแลภาวะ Long COVID หลังจากการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ของประชาชนในตำบลอ่างศิลา และได้ศึกษาพฤติกรรมผู้ที่มีการใช้สมุนไพรใน การดูแลภาวะ Long COVID จำนวนทั้งสิ้น 20ระเบียบวิธีการวิจัย: ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้าง แบบชนิดไม่มีโครงสร้างและแบบสังเกตที่นักวิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การพรรณนาวิเคราะห์ผลการวิจัย: พบว่า พฤติกรรมการใช้ของกลุ่มตัวอย่างมีความรู้เรื่องการใช้สมุนไพรในการบรรเทาอาการภาวะ Long COVID เบื้องต้นและทราบวิธีการใช้ที่ถูกต้องเนื่องจากมีความรู้และศึกษาข้อมูลผ่านสื่อออนไลน์ ทำให้สมุนไพรมีบทบาทการดูแลสุขภาพเบื้องต้นของประชาชนตำบลอ่างศิลา โดยเฉพาะช่วงสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ซึ่งสามารถหาซื้อได้ง่ายและมีราคาถูก สภาพปัญหาการใช้สมุนไพร พบว่า มีแนวโน้มการให้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง ทำให้มีการใช้สมุนไพรอย่างเป็นประจำ เนื่องจากมีความคิดว่าสมุนไพรนั้นดีมากจากการศึกษาข้อมูลผ่านสื่อออนไลน์สรุปผล: พฤติกรรมการใช้สมุนไพรในการดูแลภาวะ Long COVID พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความรู้เกี่ยวกับการใช้สมุนไพรเบื้องต้น แต่มีพฤติกรรมการใช้ที่ไม่ถูกต้อง และมีสภาพปัญหาในการรับรู้ข่าวสารและการศึกษาข้อมูลที่ไม่ครบถ้วนทุกมิติ
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:สมุนไพร ถือเป็นทางเลือกในการรักษาและป้งอกันโรคทั้งในรูปแบของยาและผลิติภัณฑ์อาหารเสริมที่เป็นกระแสนิยมของคนทั่วไปในปัจุบันประโยชน์ของการใช้สุนไพรในการรักษาโรค โดยองค์ความรู้เหลานี้ได้มีการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษสู่ลกหลานมีวัตถุประสงค์เพอื่อศึษาสภาพปัญหาผู้ที่มีการใช้สมุนไพรในการดูแลภาวะ Long COVID หัลงจาการติเดชือไวรัสโคอรนา2019 ของประชาชนในตำบลอ่างศิลา และได้ศึกษาพฤติกรรมผู้ที่มีการใช้สมุนไพรใน การดูแลภาวะ Long COVID จำนวนทั้งสิ้น 20ระเบียบวิธีการวจั:ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้าง แบบชนิดไม่มีโครงสร้างและแบบสังเกตที่นักวิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การพรรณนาวิเคราะห์ผลการวิจัย:พบว่า พฤติกรรมการใช้ของกลุ่มตัวอย่างมีความรู้เรื่องการใช้สมุนไพรในการบรเทาอาการภาวะ Long COVIDเบืองต้นและทราบวิธีการใช้ที่ถจากมีความรู้และศึกษาข้อมูลผ่านสืออนไลน์ ทำให้สมุนไพรมีบทบาทการดูแลสุขภาพเบื้อองต้นของประชาชนตำบอ่างศิลาโดยเฉพาะช่วงสถากนารณ์การะบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ซึ่งสามารถหาื้อได้ง่ายและมีราคาถูก สภาพปัญหาการใช้สมุนไพร พบว่ามีนแวโน้มการให้ขอมูลที่ไม่ถูกต้อง ทำให้มีการใช้สมุนไพรอย่างเป็นประจำ เนื่องจากมีความคิดว่าสมุนไพรัน้นดีมากจาการศึกษาข้อมูลผ่านสออนไลน์สรุปผล:พฤติกรรมการใช้สมุนไพรในการูดแลภาวะ Long COVID พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความรู้เกี่ยวกับการใช้สมุนไพรเบื้องต้นแต่มีพฤติกรรมการใช้ที่ไม่ถูกต้อง และมีสภาพปัญหาในการรับรู้าวนทุกมิติ
{"title":"พฤติกรรมการใช้สมุนไพรในการดูแลภาวะ Long COVID ของประชาชนในตำบลอ่างศิลา อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี","authors":"สุรัสวดี สินวัต, กรานธิดา แจ้งเจริญ, กิตติ กุนะ","doi":"10.60027/iarj.2024.276316","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276316","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: สมุนไพร ถือเป็นทางเลือกในการรักษาและป้องกันโรคทั้งในรูปแบบของยาและผลิตภัณฑ์อาหารเสริมที่เป็นกระแสนิยมของคนทั่วไปในปัจจุบัน ประโยชน์ของการใช้สมุนไพรในการรักษาโรค โดยองค์ความรู้เหล่านี้ได้มีการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษสู่ลูกหลาน การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาผู้ที่มีการใช้สมุนไพรในการดูแลภาวะ Long COVID หลังจากการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ของประชาชนในตำบลอ่างศิลา และได้ศึกษาพฤติกรรมผู้ที่มีการใช้สมุนไพรใน การดูแลภาวะ Long COVID จำนวนทั้งสิ้น 20\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้าง แบบชนิดไม่มีโครงสร้างและแบบสังเกตที่นักวิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การพรรณนาวิเคราะห์\u0000ผลการวิจัย: พบว่า พฤติกรรมการใช้ของกลุ่มตัวอย่างมีความรู้เรื่องการใช้สมุนไพรในการบรรเทาอาการภาวะ Long COVID เบื้องต้นและทราบวิธีการใช้ที่ถูกต้องเนื่องจากมีความรู้และศึกษาข้อมูลผ่านสื่อออนไลน์ ทำให้สมุนไพรมีบทบาทการดูแลสุขภาพเบื้องต้นของประชาชนตำบลอ่างศิลา โดยเฉพาะช่วงสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ซึ่งสามารถหาซื้อได้ง่ายและมีราคาถูก สภาพปัญหาการใช้สมุนไพร พบว่า มีแนวโน้มการให้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง ทำให้มีการใช้สมุนไพรอย่างเป็นประจำ เนื่องจากมีความคิดว่าสมุนไพรนั้นดีมากจากการศึกษาข้อมูลผ่านสื่อออนไลน์\u0000สรุปผล: พฤติกรรมการใช้สมุนไพรในการดูแลภาวะ Long COVID พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความรู้เกี่ยวกับการใช้สมุนไพรเบื้องต้น แต่มีพฤติกรรมการใช้ที่ไม่ถูกต้อง และมีสภาพปัญหาในการรับรู้ข่าวสารและการศึกษาข้อมูลที่ไม่ครบถ้วนทุกมิติ","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":" 22","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-06-07","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141372359","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมเพื่อนำเข้าส่งออกสินค้าอุปโภคบริโภคในประเทศไทย ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมเพื่อนำเข้าส่งออกสินค้าอุปโภคบริโภคในประเทศไทย
Pub Date : 2024-06-06 DOI: 10.60027/iarj.2024.275470
มนต์สินี สุปินะ, เอื้อมพร ศิริรัตน์, พิเชษฐ เนตรสว่าง
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ธุรกิจนำเข้าและส่งออกสินค้าในประเทศไทย ซึ่งเป็นธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขาย แลกเปลี่ยนและจำหน่ายสินค้าเพื่อการอุปโภคและบริโภคที่มีอยู่จำนวนมากในประเทศไทย  องค์กรธุรกิจนำเข้าและส่งออกสินค้าต้องพัฒนาองค์กรให้ปรับตัวเท่าทันปัญหาดังกล่าวเพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันให้กับองค์กร  ดังนั้นการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับประสิทธิภาพของธุรกิจ SMEs เพื่อนำเข้าส่งออกสินค้าอุปโภคบริโภคในประเทศไทย 2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพของธุรกิจ SMEs เพื่อนำเข้าส่งออก และ 3) แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพของธุรกิจ SMEs เพื่อนำเข้าส่งออกสินค้าอุปโภคบริโภคในประเทศไทยระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน กลุ่มตัวอย่างเชิงปริมาณคือ ผู้บริหารของธุรกิจนำเข้าส่งออกสินค้าในประเทศ ใช้วิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ จำนวน 343 คน เครื่องมือที่ใช้วิจัยคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และโมเดลสมการโครงสร้าง (Structural Equation Modeling: SEM) กลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพคือ ผู้บริหารองค์กรระดับสูงที่มีประสบการณ์ในธุรกิจนำเข้าส่งออกสินค้าอุปโภคบริโภคในประเทศไทย ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 16 คน และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาผลการวิจัย (1) ประสิทธิภาพของธุรกิจ SMEs ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ปัจจัยเชิงสาเหตุทุกด้านมีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพของธุรกิจ SMEs และ (3) แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพของธุรกิจ SMEs เพื่อนำเข้าส่งออกสินค้าอุปโภคบริโภคในประเทศไทย สำหรับงานวิจัยครั้งนี้มี 6 แนวทาง ได้แก่ 1) พัฒนาความเป็นเลิศในการให้บริการ 2) พัฒนาผู้นำและบุคลากรในองค์กร 3) พัฒนาการวางแผนการตลาดทั้งในและต่างประเทศ 4) พัฒนาด้านเทคโนโลยี 5) พัฒนาวัฒนธรรมองค์กรด้านการมีส่วนร่วม และ 6) พัฒนาสินค้าให้ได้มาตรฐานสากล ผลของการวิจัยครั้งนี้ หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และชุมชนที่เกี่ยวข้องสามารถนำข้อค้นพบที่ได้ไปปรับใช้ในเชิงปฏิบัติ ในการบูรณาการงานด้านธุรกิจ SMEs เพื่อความยั่งยืนต่อไปสรุปผล: ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า SMEs ไทยมีทักษะสูงในด้านหลักๆ รวมถึงการบริการลูกค้า การเป็นผู้ประกอบการ กลยุทธ์การจัดการ และการรักษาลูกค้า นอกจากนี้ยังระบุตัวแปรสำคัญที่ส่งผลต่อผลผลิตของ SME และเสนอแผนการปรับปรุงที่กำหนดเป้าหมาย โดยเน้นถึงความเป็นไปได้ของความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนในการส่งเสริมการดำเนินธุรกิจที่ยั่งยืนระหว่าง SMEs
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:ธุรกิจนำเข้าและส่งอกสินค้าในประเทศไทย ซึ่งเป็นธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการซือขาย แลกเปลี่ยนและจำหนายสินค้าเพื่อการอุปโภคและบริภคที่มียู่จำนวมากในประเทศไทย มติลงค์กรธุรกจนำเข้าและส่งอกสินค้าตองพัฒนาองค์กรให้ปรับตัวเท่าทันปัญหาดังกล่าวเพื่อสร้างควมได้เปรียบทางการแข่งขันให้กับองค์กร ดังนั้นการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับประสิทธิภาพของธุรกิจ SMEs เพื่อนำเข้าส่งออกสินค้าอุปโภคบริโภคในประเทศไทย 2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพของธุรกิจSMEs เพื่อนำเข้าส่งอกและ 3) แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพของธุรกจิ SMEs เพื่อนำเข้าส่งอกสินค้าอุปโภคบริโภคในประเทศไทยระเบียบวิธีการิวจัย:การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน กลุ่มตัวอยา่งเชิงปริมาณคือ ผู้บริหารของธุรกจินำเข้าส่งอกสินค้าในประเทศ ใช้วิธีการสุ่มแบชั้นภูมิ จำนวน343 คน เครื่องมืที่ใช้วิจัยคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะหข์้อมูล ือ ค่าร้อยละ ค่าเลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และโมเดลสมการโครงสร้าง (Structural Equation Modeling:sem) กลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพคือ ผู้บริหารองค์กรระดับสูงที่มีประสบการณ์ในธุรกจินำเข้าส่งอกสินค้าอุปโภคบริโภคในประเทศไทยใช้วิธีการเลอืกลุ่มตัวอย่างแบเจาะจง โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 16 คน中小型企业 ภาพรวมอยู่ในระดับมากก (2) ปัจจัยเชิงสาเหตุทุกด้านมีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพของธุรกจิSMEs เพื่อนำเข้าส่งอกสินค้าอุปโภคบริโภคในประเทศไทย6 แนวทาง ได้แก่ 1) พัฒนาความเป็นเลิศในการให้บริการ 2) พัฒนาผู้นำและบุคลากรในองค์กร3) พัฒนาการวางแผนารตาดทั้งในและต่างประเทศ 4) พัฒนาด้านเทคโนโลยี 5) พัฒนาวัฒนธรรรมงอค์กรด้านการมีส่วนร่วมและ 6) พัฒนาสินค้าให้ได้มาตรฐานสากล ผลของการวิจัยครั้งนี้ หน่วยงานภาครัฐ เอกชนและชุมชนที่เกี่ยวข้องสามารถนำข้อค้นพบที่ได้ไปปรับใช้ในเชิงปฏิบัติ ในการบูรณาการงานด้านธุรกจิ SMEs เพื่อความยั่งยืนติไปสรุปผล:ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า SMEs ไทยมีทักษะสูงในด้านหลักๆ รวมถึงการบริการลูกค้า การเป็นผู้ประกอบการ กลยุทธ์การจัดการ และการรักษาลูกค้า นอกจากนี้ยังระบุตัวแปรสำคัญที่ส่งผลต่อผลผลิตของ中小企业
{"title":"ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมเพื่อนำเข้าส่งออกสินค้าอุปโภคบริโภคในประเทศไทย","authors":"มนต์สินี สุปินะ, เอื้อมพร ศิริรัตน์, พิเชษฐ เนตรสว่าง","doi":"10.60027/iarj.2024.275470","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.275470","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ธุรกิจนำเข้าและส่งออกสินค้าในประเทศไทย ซึ่งเป็นธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขาย แลกเปลี่ยนและจำหน่ายสินค้าเพื่อการอุปโภคและบริโภคที่มีอยู่จำนวนมากในประเทศไทย  องค์กรธุรกิจนำเข้าและส่งออกสินค้าต้องพัฒนาองค์กรให้ปรับตัวเท่าทันปัญหาดังกล่าวเพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันให้กับองค์กร  ดังนั้นการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับประสิทธิภาพของธุรกิจ SMEs เพื่อนำเข้าส่งออกสินค้าอุปโภคบริโภคในประเทศไทย 2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพของธุรกิจ SMEs เพื่อนำเข้าส่งออก และ 3) แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพของธุรกิจ SMEs เพื่อนำเข้าส่งออกสินค้าอุปโภคบริโภคในประเทศไทย\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน กลุ่มตัวอย่างเชิงปริมาณคือ ผู้บริหารของธุรกิจนำเข้าส่งออกสินค้าในประเทศ ใช้วิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ จำนวน 343 คน เครื่องมือที่ใช้วิจัยคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และโมเดลสมการโครงสร้าง (Structural Equation Modeling: SEM) กลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพคือ ผู้บริหารองค์กรระดับสูงที่มีประสบการณ์ในธุรกิจนำเข้าส่งออกสินค้าอุปโภคบริโภคในประเทศไทย ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 16 คน และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา\u0000ผลการวิจัย (1) ประสิทธิภาพของธุรกิจ SMEs ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ปัจจัยเชิงสาเหตุทุกด้านมีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพของธุรกิจ SMEs และ (3) แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพของธุรกิจ SMEs เพื่อนำเข้าส่งออกสินค้าอุปโภคบริโภคในประเทศไทย สำหรับงานวิจัยครั้งนี้มี 6 แนวทาง ได้แก่ 1) พัฒนาความเป็นเลิศในการให้บริการ 2) พัฒนาผู้นำและบุคลากรในองค์กร 3) พัฒนาการวางแผนการตลาดทั้งในและต่างประเทศ 4) พัฒนาด้านเทคโนโลยี 5) พัฒนาวัฒนธรรมองค์กรด้านการมีส่วนร่วม และ 6) พัฒนาสินค้าให้ได้มาตรฐานสากล ผลของการวิจัยครั้งนี้ หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และชุมชนที่เกี่ยวข้องสามารถนำข้อค้นพบที่ได้ไปปรับใช้ในเชิงปฏิบัติ ในการบูรณาการงานด้านธุรกิจ SMEs เพื่อความยั่งยืนต่อไป\u0000สรุปผล: ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า SMEs ไทยมีทักษะสูงในด้านหลักๆ รวมถึงการบริการลูกค้า การเป็นผู้ประกอบการ กลยุทธ์การจัดการ และการรักษาลูกค้า นอกจากนี้ยังระบุตัวแปรสำคัญที่ส่งผลต่อผลผลิตของ SME และเสนอแผนการปรับปรุงที่กำหนดเป้าหมาย โดยเน้นถึงความเป็นไปได้ของความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนในการส่งเสริมการดำเนินธุรกิจที่ยั่งยืนระหว่าง SMEs","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"19 16","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-06-06","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141380017","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การศึกษาความต้องการจำเป็นของการบริหารระบบการจัดเก็บข้อมูลงานสารบรรณของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2 การศึกษาความต้องการจำเป็นของการบริหารระบบการจัดเก็บข้อมูลงานสารบรรณของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2
Pub Date : 2024-06-06 DOI: 10.60027/iarj.2024.275642
ศุภพันธุ์ สุพรม, ดวงพร อุ่นจิตต์
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2 ได้แสดงถึงเจตนารมณ์ที่จะพัฒนาหรือปรับปรุงระบบการจัดเก็บข้อมูลงานสารบรรณให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จากการศึกษา เรื่อง การศึกษาความต้องการจำเป็นของการบริหารระบบการจัดเก็บข้อมูลงานสารบรรณของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2 โดยมีวัตถุประสงค์ของการวิจัย (1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารระบบการจัดเก็บข้อมูลงานสารบรรณของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2 (2) เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นของการบริหารระบบการจัดเก็บข้อมูลงานสารบรรณของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2ระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research) เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มประชากร จำนวน 213 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (µ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ) และค่าดัชนี PNImodified เพื่อจัดลำดับความต้องการจำเป็นผลการวิจัย: การบริหารระบบการจัดเก็บข้อมูลงานสารบรรณของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2 โดยรวมมีสภาพปัจจุบันมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก และมีสภาพที่พึงประสงค์มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เช่นเดียวกัน เมื่อพิจารณารายด้านของสภาพปัจจุบันด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการประเมินผล มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก รองลงมา คือ ด้านการวางแผนมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก และด้านการนำแผนไปปฏิบัติมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ตามลำดับ เมื่อพิจารณารายด้านของสภาพที่พึงประสงค์ด้านที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากสูงสุด คือ ด้านการประเมินผล มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก รองลงมา คือ ด้านการวางแผนมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากและด้านการนำแผนไปปฏิบัติ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ตามลำดับ สำหรับความต้องการจำเป็นของการบริหารระบบการจัดเก็บข้อมูลงานสารบรรณของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2 ลำดับที่ 1 คือ ด้านการนำแผนไปปฏิบัติ (PNImodified = 0.120) รองลงมา คือ ด้านการวางแผน (PNImodified = 0.111) และ ด้านการประเมินผล (PNImodified = 0.108)สรุปผล: ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าปัจจุบันระบบจัดเก็บเอกสารของสถานศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปางอยู่ในระดับสูง ทั้งสถานะที่ต้องการและสถานะปัจจุบัน บ่งชี้ถึงประสิทธิภาพที่แข็งแกร่งในด้านต่างๆ เช่น การวางแผน การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการดำเนินการตามแผน นอกจากนี้ การศึกษายังเน้นย้ำถึงประเด็นต่างๆ ที่ควรได้รับความสนใจเป็นอันดับแรกสำหรับการปรับปรุง โดยเน้นย้ำถึงความสำคัญของการมุ่งเน้นที่การดำเนินการ การวางแผน และการประเมิน เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการจัดการระบบจัดเก็บเอกสาร
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:สำนักงานเขตพื้นที่ากรศึกษาประถมศึกษาปำาง เต 2 ได้แสดงถึงเจตนารมณ์ที่จะพัฒนาหอปรับรุงระบบารจัดเก็บข้อมูลงานสารบรรณใหม้ีประสิทธิภาพมากยิ่งข้อน จากการศึกษา เรออืการศึกษาความต้องการจำเป็นของการบริหาระบการจัดเก็บจ้อมูลงานสารบรณของสถานศึกษา สังกดสำนังกาเนขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปง เขต 2 โดยมีวัตถประสงค์ของการวจัย(1) เพื่อศึษาสาพจปัจุบันแลสะภาพที่พึงประสงค์ของการบริหาระบบการจัดเก็บข้อมูลงานสารบรรณของถานศึษา สังกัดสำนกังานเขตพืนที่ารศึษาประถมศึษาลปำาง เขต 2 (2)เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นเขอกอรบิหารระบการจัดเก็บข้อมูลงานสารบรณของงสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลปำาง เขต 2ระเบียบวิธีการวิจัย:การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารจว (Survey Research) เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มประชากร จำนวน 213 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโยดใช้แบบสอบถามวิเคราะห์ข้อมูลโดยใชส้ถิติพื้นฐาน ได้แก่ค่าเฉลี่ย (µ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ) และค่าดัชนี PNImodified เพื่อจัดลำดับความต้องกาจรำเป็นผลการวิจัย:ศึกษา สังกัดสำนักงนเตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เต 2โดยรวมมีสภาพปัจุบันมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก และมีสภาพที่พึงประสงค์มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดัมบาก เชน่เดียวกันเมอืพิจารณารายด้านของสภาพปัจจุบันด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการประเมินผล มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากรองลงมาคือ ด้านการวางแผนมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก และด้านการนำแผนไปปฏิบัติมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากตามลำดับ เมื่อพิจารณารายด้านของสภาพที่พึงประสงค์ด้านที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากสูงสุด คือ ด้านการประเมินผลมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากรองลงมา คือ ด้านการวางแผนมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากและด้านการนำแผนไปปฏิบตัิมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ตามลำดับ สำหรับความต้องการจำเป็นของการบริหาระบบการจัดเก็บข้อมูลงานสารบรณของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2 ลำดับที่ 1 คือ ด้านการนำแผนไปฏิบัติ (PNImodified = 0.120)รองลงมา คือ ด้านากรวางแผน (PNImodified = 0.111) และ ด้านาการประเมินผล (PNImodified = 0.108)สรุปผล:ทั้งสถานะที่ต้องการและสถานะปัจจุบัน บ่งชี้ถึงประสิทธิภาพที่แข็งแกร่งในด้านต่างๆ เช่น การวางแผน การประเมินผลารปฏิบัติงานและารดำเนินการตามแผน นอจกากนี้ การศึษกายังเน้นย้ำถึงประเด็นต่างๆ ที่ควรได้รับความสนใจเป็นอันดับแรกสำรับารปรับปรุงโดยเน้นย้ำถึงความสำคัญของการม่งเน้นที่ารดำเนินากร การวางแผน และการประเมิน เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผของการจัดการะบจัดเก็บอกเสาร
{"title":"การศึกษาความต้องการจำเป็นของการบริหารระบบการจัดเก็บข้อมูลงานสารบรรณของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2","authors":"ศุภพันธุ์ สุพรม, ดวงพร อุ่นจิตต์","doi":"10.60027/iarj.2024.275642","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.275642","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2 ได้แสดงถึงเจตนารมณ์ที่จะพัฒนาหรือปรับปรุงระบบการจัดเก็บข้อมูลงานสารบรรณให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จากการศึกษา เรื่อง การศึกษาความต้องการจำเป็นของการบริหารระบบการจัดเก็บข้อมูลงานสารบรรณของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2 โดยมีวัตถุประสงค์ของการวิจัย (1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารระบบการจัดเก็บข้อมูลงานสารบรรณของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2 (2) เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นของการบริหารระบบการจัดเก็บข้อมูลงานสารบรรณของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research) เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มประชากร จำนวน 213 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (µ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ) และค่าดัชนี PNImodified เพื่อจัดลำดับความต้องการจำเป็น\u0000ผลการวิจัย: การบริหารระบบการจัดเก็บข้อมูลงานสารบรรณของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2 โดยรวมมีสภาพปัจจุบันมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก และมีสภาพที่พึงประสงค์มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เช่นเดียวกัน เมื่อพิจารณารายด้านของสภาพปัจจุบันด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการประเมินผล มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก รองลงมา คือ ด้านการวางแผนมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก และด้านการนำแผนไปปฏิบัติมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ตามลำดับ เมื่อพิจารณารายด้านของสภาพที่พึงประสงค์ด้านที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากสูงสุด คือ ด้านการประเมินผล มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก รองลงมา คือ ด้านการวางแผนมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากและด้านการนำแผนไปปฏิบัติ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ตามลำดับ สำหรับความต้องการจำเป็นของการบริหารระบบการจัดเก็บข้อมูลงานสารบรรณของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2 ลำดับที่ 1 คือ ด้านการนำแผนไปปฏิบัติ (PNImodified = 0.120) รองลงมา คือ ด้านการวางแผน (PNImodified = 0.111) และ ด้านการประเมินผล (PNImodified = 0.108)\u0000สรุปผล: ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าปัจจุบันระบบจัดเก็บเอกสารของสถานศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปางอยู่ในระดับสูง ทั้งสถานะที่ต้องการและสถานะปัจจุบัน บ่งชี้ถึงประสิทธิภาพที่แข็งแกร่งในด้านต่างๆ เช่น การวางแผน การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการดำเนินการตามแผน นอกจากนี้ การศึกษายังเน้นย้ำถึงประเด็นต่างๆ ที่ควรได้รับความสนใจเป็นอันดับแรกสำหรับการปรับปรุง โดยเน้นย้ำถึงความสำคัญของการมุ่งเน้นที่การดำเนินการ การวางแผน และการประเมิน เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการจัดการระบบจัดเก็บเอกสาร","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"29 46","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-06-06","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141379562","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานสำหรับการพัฒนาหลักสูตรโมดูลการเรียนรู้ศิลปะตามแนวคิดศิลปะหลังสมัยใหม่เพื่อเสริมสร้างอภิปัญญาและการสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนประถมศึกษา การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานสำหรับการพัฒนาหลักสูตรโมดูลการเรียนรู้ศิลปะตามแนวคิดศิลปะหลังสมัยใหม่เพื่อเสริมสร้างอภิปัญญาและการสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนประถมศึกษา
Pub Date : 2024-06-06 DOI: 10.60027/iarj.2024.275868
ลลิต บุนนาค, ปรณัฐ กิจรุ่งเรือง, วิสูตร โพธิ์เงิน
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: อภิปัญญาเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดการเรียนรู้ได้ดีขึ้นซึ่งสามารถพัฒนาได้ดีในวัยประถมศึกษา กระบวนการสร้างสรรค์ศิลปะสามารถเสริมสร้างอภิปัญญาได้ ผู้วิจัยจึงพัฒนาหลักสูตรโมดูลการเรียนรู้ศิลปะตามแนวคิดศิลปะหลังสมัยใหม่เพื่อเสริมสร้างอภิปัญญาและการสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนประถมศึกษา การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน และพัฒนาหลักสูตรโมดูลการเรียนรู้ศิลปะตามแนวคิดศิลปะหลังสมัยใหม่เพื่อเสริมสร้างอภิปัญญาและการสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนประถมศึกษาระเบียบวิธีการวิจัย: ขั้นตอนการดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน แบ่งออกเป็น 1) ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร 2) ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจากบุคคลด้วยการสัมภาษณ์ ประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 2 คน และครูสอนศิลปะ จำนวน 7 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง และ 3) สอบถามความคิดเห็นและประเมินความสามารถด้านอภิปัญญาของนักเรียน จำนวน 244 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามและแบบประเมินความสามารถด้านอภิปัญญา วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาหลักสูตร และหาคุณภาพของหลักสูตรด้วยการสนทนาอ้างอิงผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 7 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัย: 1) ผลการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานจากความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้ศิลปะอยู่ในระดับมาก และ ระดับความสามารถด้านอภิปัญญาของนักเรียนอยู่ในระดับปานกลาง 2) หลักสูตรโมดูลการเรียนรู้ศิลปะตามแนวคิดศิลปะหลังสมัยใหม่เพื่อเสริมสร้างอภิปัญญาและการสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนประถมศึกษา มีองค์ประกอบ ดังนี้ 1) จุดมุ่งหมาย 2) เนื้อหาสาระ 3) การจัดการเรียนรู้ 4) สื่อการเรียนรู้ และ 5) การประเมินผล และมีผลการประเมินคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่า ในภาพรวมมีผลการประเมินอยู่ในระดับมากสรุปผล: หลักสูตรโมดูลการเรียนรู้ศิลปะตามแนวคิดศิลปะหลังสมัยใหม่เพื่อเสริมสร้างอภิปัญญาและการสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนประถมศึกษา มีองค์ประกอบ ดังนี้ 1) จุดมุ่งหมาย 2) เนื้อหาสาระ 3) การจัดการเรียนรู้ 4) สื่อการเรียนรู้ และ 5) การประเมิน โมดูลการเรียนรู้ศิลปะตามแนวคิดศิลปะหลังสมัยใหม่เพื่อเสริมสร้างอภิปัญญาและการสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนประถมศึกษา มีองค์ประกอบ ดังนี้ 1) จุดประสงค์ 2) การทดสอบก่อนเรียน 3) กิจกรรมการเรียนรู้ 4) การทดสอบหลังเรียน และ 5) การประเมิน ศิลปะหลังสมัยใหม่ มีหลักการที่สำคัญ ดังนี้ 1) คุณค่าของศิลปะอยู่ที่ความคิด 2) คุณค่าของศิลปะอยู่ที่กระบวนการสร้างสรรค์ 3) เนื้อหาในผลงานศิลปะมีความเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน และ 4) งานศิลปะเป็นหนึ่งเดียวกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อภิปัญญา มี 2 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ องค์ประกอบแรก คือ ความรู้ในอภิปัญญา ประกอบด้วยองค์ประกอบย่อย ได้แก่ 1) ความรู้ด้านคน 2) ความรู้ด้านงาน 3) ความรู้ด้านยุทธวิธี องค์ประกอบที่สอง คือ ประสบการณ์ในอภิปัญญา ประกอบด้วยองค์ประกอบย่อย ได้แก่ 1) การจัดการข้อมูล  2) การวางแผน 3) การกำกับ และ 4) การประเมิน และการสร้างสรรค์มีกระบวนการ ดังนี้ ขั้นที่ 1 บันทึกสิ่งสนใจที่ก่อให้เกิดแรงบันดาลใจ ขั้นที่ 2 รวบรวมความสัมพันธ์ของข้อมูล ขั้นที่ 3 ประมวลประสบการณ์และความคิดรวบยอด ขั้นที่ 4 วางแผนการสร้างสรรค์ และขั้นที่ 5 สร้างสรรค์
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:อภิปัญญาเป็นปัจัยสำคัญที่ทำใหเกิดการเรียนรู้ได้ดีขึ้นซึ่งสามารถพัฒนาได้ดีในวัยประถมศึกษา กระบวนการรส้างสรค์ศิลปะสามารถเสิมสร้างอภิป_COPYั00ได้การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาและวิเคาหอมูลพื้นฐานเด็กเด็กเด็กเดียนรู้ศิลปะตามแนวคิดศิลปะยใหม่เสมัยญญญาแด็การสรียนประถหับนักเรียนประถมศหม่เด็กษาระเบียบวิธีการวจัย:ขั้นตอนการดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาและวิเคราห์ข้อมูลพื้นฐาน แบ่งอกเป็น 1) ศึกษาและวิเคราห์ข้อมูลพื้นฐาน แบ่งอกเป็น 1) ศึกษาและวิเคราห์ข้อมูลจากเอสาร 2)ศศึกษาแด็กเอกสาร 2) แด็กเอกที่ใช้ในารวัจัยเป็นแบสัมภาษณ์ แด็กเอกที่ใช้ในารวัจัยเป็นแบสัมภาษณ์ แด็กเอกที่ใช้ในารวัจัยเป็นแบสัมภาษณ์ แด็กเอกที่ใร 3)สอบถามความคิดเห็นแลาะประเมินความสามารถด้านอภิปัญญาของนักเรียน จำนวน 244 คน เครื่องมอที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบสอบถามแลาะแบประเมินความสามารถด้านอภิปัญญาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาหลักสูตร และหาคุณภาพของหลักสูตรด้วยการสนทนาอ้างอิงผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 7 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัย:1) ผศึกษาและวิเคราและข้อมลพื้นฐานจากความคดิเห็ของนักเรียนที่มี่ตอการเรียนศิลปะยอยู่ในระดับมาก และ ระดับความสามารถด้านอภิปัญญาของนักเรียนอยู่ในระดับปนากลง2) มตัเรียอยนเร้ศิลปะตามแนวิคดศิลปะยใหม่เพื่อเสริมสร้างอภิปัญญาแลากรสร้างงสรค์สำหรับนักเรียนประถมศึกษามีองค์ประกอบ ดังนี้ 1) จุดมุ่งหมาย 2) เนื้อหาสาระ 3) การจัดการเรียนรู้ 4) สื่อการเรียนรู้ และ 5) การประเมินผล และมีผลการประเมินคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่า ในภาพรวมมีผลการประเมินอยู่ในระดับมากสรุปผล:1) จุดมุ่งหมาย 2) เนื้อหาสระ3) การจัดการเรียนรู้ 4) สื่อการเรียนรู้ และ 5) การประเมิน โมดูลการเรียนรู้ศิลปะตามแนวคิดศิลปะหลังสมัยใหม่เพื่อเสริมสร้างอภิปัญญาและการสร้างสร์คสำหรับนักเรียนประถมศึษา1) จุดประสงค์ 2) การทดสบก่อนเรียน 3) กิจกรรมการเรียนรู้ 4) การทดสอบหลังเรียน และ 5) การประเมินศณค่าของศิลปะอยู่ที่ความคิด 2) คุณค่าของศิลปะอยู่ที่กระบวนการสรางสรค์ 3)เนือหาในผหานศิลปะมีความเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน และ 4) งานศิลปะเป็นหานเดียวกับธรรมชาิติและสิ่งแวดล้อม อิภปัญญา มี 2 องค์ประกอบหลัก ได้แก องค์ประกอบแรกคือ ความรู้ในอภิปัญญา ประกอบด้วยงอค์ประกอบย่อย ได้แก่ 1) ความรู้านคน 2) ความรู้านงาน 3) ความรูด้านยุทธวิธี องค์ประกอบที่สอง คือ ประสบารณ์ในอภิปัญญาประกอบด้วยองค์ประกอบย่อย ได้แก่ 1) การจัดการข้อมูล 2) การวางแผน 3) การกำกับ และ 4) การประเมิน และการสร้างสรค์มีกระบวนการ ดังนี้ ขั้นที่ 1 บันึทสกิ่งนสใจที่กอให้เกิดแรงบันดาลใจขั้นที่ 2 รวบรวมความสัมพันธ์ของข้อมูล ขั้นที่ 3 ประมวลประสบการณ์และความคิดรวบยี่ 4 วางแผนการสร้างสรค์ และขั้นที่ 5 สร้างสรค์
{"title":"การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานสำหรับการพัฒนาหลักสูตรโมดูลการเรียนรู้ศิลปะตามแนวคิดศิลปะหลังสมัยใหม่เพื่อเสริมสร้างอภิปัญญาและการสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนประถมศึกษา","authors":"ลลิต บุนนาค, ปรณัฐ กิจรุ่งเรือง, วิสูตร โพธิ์เงิน","doi":"10.60027/iarj.2024.275868","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.275868","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: อภิปัญญาเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดการเรียนรู้ได้ดีขึ้นซึ่งสามารถพัฒนาได้ดีในวัยประถมศึกษา กระบวนการสร้างสรรค์ศิลปะสามารถเสริมสร้างอภิปัญญาได้ ผู้วิจัยจึงพัฒนาหลักสูตรโมดูลการเรียนรู้ศิลปะตามแนวคิดศิลปะหลังสมัยใหม่เพื่อเสริมสร้างอภิปัญญาและการสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนประถมศึกษา การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน และพัฒนาหลักสูตรโมดูลการเรียนรู้ศิลปะตามแนวคิดศิลปะหลังสมัยใหม่เพื่อเสริมสร้างอภิปัญญาและการสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนประถมศึกษา\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: ขั้นตอนการดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน แบ่งออกเป็น 1) ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร 2) ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจากบุคคลด้วยการสัมภาษณ์ ประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 2 คน และครูสอนศิลปะ จำนวน 7 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง และ 3) สอบถามความคิดเห็นและประเมินความสามารถด้านอภิปัญญาของนักเรียน จำนวน 244 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามและแบบประเมินความสามารถด้านอภิปัญญา วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาหลักสูตร และหาคุณภาพของหลักสูตรด้วยการสนทนาอ้างอิงผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 7 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา\u0000ผลการวิจัย: 1) ผลการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานจากความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้ศิลปะอยู่ในระดับมาก และ ระดับความสามารถด้านอภิปัญญาของนักเรียนอยู่ในระดับปานกลาง 2) หลักสูตรโมดูลการเรียนรู้ศิลปะตามแนวคิดศิลปะหลังสมัยใหม่เพื่อเสริมสร้างอภิปัญญาและการสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนประถมศึกษา มีองค์ประกอบ ดังนี้ 1) จุดมุ่งหมาย 2) เนื้อหาสาระ 3) การจัดการเรียนรู้ 4) สื่อการเรียนรู้ และ 5) การประเมินผล และมีผลการประเมินคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่า ในภาพรวมมีผลการประเมินอยู่ในระดับมาก\u0000สรุปผล: หลักสูตรโมดูลการเรียนรู้ศิลปะตามแนวคิดศิลปะหลังสมัยใหม่เพื่อเสริมสร้างอภิปัญญาและการสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนประถมศึกษา มีองค์ประกอบ ดังนี้ 1) จุดมุ่งหมาย 2) เนื้อหาสาระ 3) การจัดการเรียนรู้ 4) สื่อการเรียนรู้ และ 5) การประเมิน โมดูลการเรียนรู้ศิลปะตามแนวคิดศิลปะหลังสมัยใหม่เพื่อเสริมสร้างอภิปัญญาและการสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนประถมศึกษา มีองค์ประกอบ ดังนี้ 1) จุดประสงค์ 2) การทดสอบก่อนเรียน 3) กิจกรรมการเรียนรู้ 4) การทดสอบหลังเรียน และ 5) การประเมิน ศิลปะหลังสมัยใหม่ มีหลักการที่สำคัญ ดังนี้ 1) คุณค่าของศิลปะอยู่ที่ความคิด 2) คุณค่าของศิลปะอยู่ที่กระบวนการสร้างสรรค์ 3) เนื้อหาในผลงานศิลปะมีความเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน และ 4) งานศิลปะเป็นหนึ่งเดียวกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อภิปัญญา มี 2 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ องค์ประกอบแรก คือ ความรู้ในอภิปัญญา ประกอบด้วยองค์ประกอบย่อย ได้แก่ 1) ความรู้ด้านคน 2) ความรู้ด้านงาน 3) ความรู้ด้านยุทธวิธี องค์ประกอบที่สอง คือ ประสบการณ์ในอภิปัญญา ประกอบด้วยองค์ประกอบย่อย ได้แก่ 1) การจัดการข้อมูล  2) การวางแผน 3) การกำกับ และ 4) การประเมิน และการสร้างสรรค์มีกระบวนการ ดังนี้ ขั้นที่ 1 บันทึกสิ่งสนใจที่ก่อให้เกิดแรงบันดาลใจ ขั้นที่ 2 รวบรวมความสัมพันธ์ของข้อมูล ขั้นที่ 3 ประมวลประสบการณ์และความคิดรวบยอด ขั้นที่ 4 วางแผนการสร้างสรรค์ และขั้นที่ 5 สร้างสรรค์","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"5 14","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-06-06","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141380424","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การธำรงรักษาแรงงานข้ามชาติสัญชาติเมียนมา กัมพูชา และลาว ในกิจการประมงน้ำจืดหลังการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ (COVID-19) : กรณีศึกษาเจ้าของกิจการฟาร์มปลาน้ำจืด ในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา การธำรงรักษาแรงงานข้ามชาติสัญชาติเมียนมา กัมพูชา และลาว ในกิจการประมงน้ำจืดหลังการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ (COVID-19) : กรณีศึกษาเจ้าของกิจการฟาร์มปลาน้ำจืด ในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา
Pub Date : 2024-06-06 DOI: 10.60027/iarj.2024.275179
Duangporn Kongpikul
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: งานวิจัยนี้ศึกษาแนวทางการธำรงรักษาแรงงานข้ามชาติในกิจการประมงน้ำจืดซึ่งเป็นหนึ่งในกิจการที่ได้รับผลกระทบจากการขาดแคลนแรงงานข้ามชาติที่กลับภูมิลำเนาหรือถูกเลิกจ้างช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การธำรงรักษาแรงงาน กับความพึงพอใจ กับความน่าจะเป็นในการคงอยู่ในสถานประกอบการ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยในการธำรงรักษาแรงงาน กับความพึงพอใจ กับความน่าจะเป็นในการคงอยู่ในสถานประกอบการ และนำเสนอปัญหาอุปสรรคและแนวทางการธำรงรักษาแรงงานข้ามชาติอาเซียน ในกิจการฟาร์มปลาน้ำจืด จังหวัดฉะเชิงเทราระเบียบวิธีการวิจัย: งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยแบบผสานวิธี เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เจ้าของกิจการฟาร์มปลาน้ำจืด จำนวน 15 คน และเก็บแบบสอบถามจากแรงงานข้ามชาติ จำนวน 124 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา และวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุคูณ ด้วยวิธี Stepwiseผลการวิจัย: ปัจจัยการธำรงรักษาแรงงาน ประกอบด้วยตัวแปร 1) การสรรหาและคัดเลือกแรงงานข้ามชาติ 2) การอบรมทักษะการทำงานเป็นทีม 3) การดูแลสุขอนามัยและความปลอดภัย 4) การพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงาน 5) การจ่ายค่าตอบแทนและสวัสดิการ 6) การสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงาน ทุกตัวแปรผลประเมินในภาพรวม อยู่ในระดับมาก ส่วนปัจจัยการสร้างความพึงพอใจในการทำงาน และ ปัจจัยการธำรงรักษาแรงงานข้ามชาติให้คงอยู่ ได้ผลประเมินในภาพรวมอยู่ในระดับมากเช่นกัน ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ การสรรหาและคัดเลือกแรงงานเข้าทำงาน การดูแลสุขอนามัยและความปลอดภัย การพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงาน การจ่ายค่าตอบแทนและสวัสดิการ และการสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงาน มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในการทำงาน ร้อยละ 73 และ การดูแลสุขอนามัยและความปลอดภัย การพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงาน และการสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงาน มีความสัมพันธ์กับความน่าจะเป็นที่จะคงอยู่ในสถานประกอบการ ร้อยละ 47 ปัญหาอุปสรรคของเจ้าของฟาร์มปลาน้ำจืดต้องเผชิญกับปัญหาต้นทุนสูงขึ้น ส่วนแรงงานข้ามชาติต้องเผชิญกับปัญหาขั้นตอนการเข้าทำงานมากที่สุดสรุปผล: การธำรงรักษาแรงงานข้ามชาติสำหรับเจ้าของกิจการฟาร์มปลาน้ำจืด ควรมีความรู้เฉพาะทางเกี่ยวกับธุรกิจที่ตนเองเป็นเจ้าของให้มากที่สุด มีความคิดสร้างสรรค์กล้าออกแบบธุรกิจใหม่จากเดิม หาช่องทางและรักษาความสัมพันธ์กับพันธมิตรในโซ่อุปทานธุรกิจเพิ่มเสมอ สำหรับภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรปรับนโยบายการจ้างงานและขั้นตอนการนำเข้าแรงงานข้ามชาติให้ยืดหยุ่นขึ้น และส่งเสริมกิจกรรมทางการตลาดสำหรับธุรกิจเลี้ยงปลาน้ำจืด รวมถึงสนับสนุนการเรียนรู้และเทคโนโลยีการเกษตรใหม่ให้แก่เจ้าของฟาร์มปลาน้ำจืด
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:งานวิจัยนี้ศึกษาแนวทางการธำรงรักษาแรงงานข้ามชาติในกิจการประมงน้ำจืดซึ่งเป็นหนึ่งในกิจการที่ได้รับผลกระทบจากการขาดแคลนแรงงานข้ามชาติที่กลับภูมิลำเนาหรือถูกเลิกจ้างช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การธำรงรักษาแรงงาน กับความพึงพอใจกับความน่าจะเป็นในการคงอยู่ในสถานประกอบการ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจัยในการธำรงรักษาแรงงาน กับความพึงพอใจ กับความน่าจะเป็นในการคงอยู่ในสถานประกอบารและนำเสนอปัญหาอุปสรคและแนวทางการธำรงรัษาแรงานข้ามชาติอาเซียน ในกิจการฟาร์มปลาน้ำจืด จังหวัดฉะเชิงเทราระเบียบวิธีการวิจัย:งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยแบผสานวิธี เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เจ้าของกิจการฟาร์มปลาน้ำจื ดจำนวน 15 คน และเก็บแบสอบถามจากแรงานข้ามชตาิจำนวน 124 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา และวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุคูณ ด้วยวิธี Stepwiseผลการวิจัย:ปัจัยการธำรงรักษาแรงงาน ประกอบด้วยตัวแปร 1) การสรรหาและคัดเลือกแรงงานข้ามชาติ 2) การอบรมทักษะการทำงนาเป็นทีม 3)การดูแลสุขอนามัยแลคะวามปลอดภัย 4) การพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงาน 5) กาจร่ายค่าตอบแทนและสวัสดิการ 6) การสร้างขวัญและการำลังใจในการทำงานทุกตัวแปรผลประเมินในภาพรวม อยู่ในระดับมาก ส่วนปัจัยการสร้างความพึงพอใจในการทำงาน และ ปัจจัยการธำรงรักษาแรงงานข้ามชตาิใหค้งยอู่ผลประเมินในภาพรวมอยู่ในระดับมากเช่นกัน ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ การสรหาและคัดเลือกแรงงานเข้าทงำนการดูแลสุขอนามัยแลคะวามปลอดภัย การพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงาน การจ่ายค่าตอบแทนและสวัสดิการและการสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงานมีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในการทงำาน ร้อยละ 73 และ การดูแลสุขอนามัยและความปลอดภัย การพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงานและการสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงาน มีความสัมพันธ์กับความน่าจะเป็นที่จะคงอยู่ในสถานประกอบการ ร้อยละ 47ปัญหาอุสปรคของเจ้าของฟาร์มปลาน้ำจืดต้องเผชิญกับปัญหาต้นทุนทุนทงำานมากที่สุดสรุปผล:การธำรงรักษาแรงงานข้ามชาติสำหรับเจ้าขงกจการฟาร์มปลาน้ำืด ควรมีความรู้เฉพาะทางเกี่ยวกับธุรกจที่ตนเองเป็นเจ้าของใหม้ากที่สุดมีความคิดสร้างสรค์กล้าอกแบบธุรกิจใหมจ่ากเดิมหาช่องทางและรักษาความสัมพันธ์กับพันธมิตรในโซ่อุปทานธุรกิจเพิ่มเสมอสมเด็กเจพิมนเสมอ螒蟺位慰委伪蟻蠂慰蠀渭蔚 蟿慰谓 蟺蔚蟻喂蟽渭苇谓慰蠀渭蔚 蟿慰谓 蟺蔚蟻喂蟽渭苇谓慰蠀渭蔚 蟿慰谓 蟺蔚蟻喂蟽渭苇谓慰蠀渭蔚 蟿慰谓 蟺蔚蟻喂蟽渭苇谓慰蠀渭蔚 蟿慰谓 蟺蔚蟻喂蟽渭苇谓慰蠀渭蔚.
{"title":"การธำรงรักษาแรงงานข้ามชาติสัญชาติเมียนมา กัมพูชา และลาว ในกิจการประมงน้ำจืดหลังการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ (COVID-19) : กรณีศึกษาเจ้าของกิจการฟาร์มปลาน้ำจืด ในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา","authors":"Duangporn Kongpikul","doi":"10.60027/iarj.2024.275179","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.275179","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: งานวิจัยนี้ศึกษาแนวทางการธำรงรักษาแรงงานข้ามชาติในกิจการประมงน้ำจืดซึ่งเป็นหนึ่งในกิจการที่ได้รับผลกระทบจากการขาดแคลนแรงงานข้ามชาติที่กลับภูมิลำเนาหรือถูกเลิกจ้างช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การธำรงรักษาแรงงาน กับความพึงพอใจ กับความน่าจะเป็นในการคงอยู่ในสถานประกอบการ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยในการธำรงรักษาแรงงาน กับความพึงพอใจ กับความน่าจะเป็นในการคงอยู่ในสถานประกอบการ และนำเสนอปัญหาอุปสรรคและแนวทางการธำรงรักษาแรงงานข้ามชาติอาเซียน ในกิจการฟาร์มปลาน้ำจืด จังหวัดฉะเชิงเทรา\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยแบบผสานวิธี เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เจ้าของกิจการฟาร์มปลาน้ำจืด จำนวน 15 คน และเก็บแบบสอบถามจากแรงงานข้ามชาติ จำนวน 124 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา และวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุคูณ ด้วยวิธี Stepwise\u0000ผลการวิจัย: ปัจจัยการธำรงรักษาแรงงาน ประกอบด้วยตัวแปร 1) การสรรหาและคัดเลือกแรงงานข้ามชาติ 2) การอบรมทักษะการทำงานเป็นทีม 3) การดูแลสุขอนามัยและความปลอดภัย 4) การพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงาน 5) การจ่ายค่าตอบแทนและสวัสดิการ 6) การสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงาน ทุกตัวแปรผลประเมินในภาพรวม อยู่ในระดับมาก ส่วนปัจจัยการสร้างความพึงพอใจในการทำงาน และ ปัจจัยการธำรงรักษาแรงงานข้ามชาติให้คงอยู่ ได้ผลประเมินในภาพรวมอยู่ในระดับมากเช่นกัน ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ การสรรหาและคัดเลือกแรงงานเข้าทำงาน การดูแลสุขอนามัยและความปลอดภัย การพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงาน การจ่ายค่าตอบแทนและสวัสดิการ และการสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงาน มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในการทำงาน ร้อยละ 73 และ การดูแลสุขอนามัยและความปลอดภัย การพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงาน และการสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงาน มีความสัมพันธ์กับความน่าจะเป็นที่จะคงอยู่ในสถานประกอบการ ร้อยละ 47 ปัญหาอุปสรรคของเจ้าของฟาร์มปลาน้ำจืดต้องเผชิญกับปัญหาต้นทุนสูงขึ้น ส่วนแรงงานข้ามชาติต้องเผชิญกับปัญหาขั้นตอนการเข้าทำงานมากที่สุด\u0000สรุปผล: การธำรงรักษาแรงงานข้ามชาติสำหรับเจ้าของกิจการฟาร์มปลาน้ำจืด ควรมีความรู้เฉพาะทางเกี่ยวกับธุรกิจที่ตนเองเป็นเจ้าของให้มากที่สุด มีความคิดสร้างสรรค์กล้าออกแบบธุรกิจใหม่จากเดิม หาช่องทางและรักษาความสัมพันธ์กับพันธมิตรในโซ่อุปทานธุรกิจเพิ่มเสมอ สำหรับภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรปรับนโยบายการจ้างงานและขั้นตอนการนำเข้าแรงงานข้ามชาติให้ยืดหยุ่นขึ้น และส่งเสริมกิจกรรมทางการตลาดสำหรับธุรกิจเลี้ยงปลาน้ำจืด รวมถึงสนับสนุนการเรียนรู้และเทคโนโลยีการเกษตรใหม่ให้แก่เจ้าของฟาร์มปลาน้ำจืด","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"85 5","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-06-06","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141378223","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
期刊
Interdisciplinary Academic and Research Journal
全部 Acc. Chem. Res. ACS Applied Bio Materials ACS Appl. Electron. Mater. ACS Appl. Energy Mater. ACS Appl. Mater. Interfaces ACS Appl. Nano Mater. ACS Appl. Polym. Mater. ACS BIOMATER-SCI ENG ACS Catal. ACS Cent. Sci. ACS Chem. Biol. ACS Chemical Health & Safety ACS Chem. Neurosci. ACS Comb. Sci. ACS Earth Space Chem. ACS Energy Lett. ACS Infect. Dis. ACS Macro Lett. ACS Mater. Lett. ACS Med. Chem. Lett. ACS Nano ACS Omega ACS Photonics ACS Sens. ACS Sustainable Chem. Eng. ACS Synth. Biol. Anal. Chem. BIOCHEMISTRY-US Bioconjugate Chem. BIOMACROMOLECULES Chem. Res. Toxicol. Chem. Rev. Chem. Mater. CRYST GROWTH DES ENERG FUEL Environ. Sci. Technol. Environ. Sci. Technol. Lett. Eur. J. Inorg. Chem. IND ENG CHEM RES Inorg. Chem. J. Agric. Food. Chem. J. Chem. Eng. Data J. Chem. Educ. J. Chem. Inf. Model. J. Chem. Theory Comput. J. Med. Chem. J. Nat. Prod. J PROTEOME RES J. Am. Chem. Soc. LANGMUIR MACROMOLECULES Mol. Pharmaceutics Nano Lett. Org. Lett. ORG PROCESS RES DEV ORGANOMETALLICS J. Org. Chem. J. Phys. Chem. J. Phys. Chem. A J. Phys. Chem. B J. Phys. Chem. C J. Phys. Chem. Lett. Analyst Anal. Methods Biomater. Sci. Catal. Sci. Technol. Chem. Commun. Chem. Soc. Rev. CHEM EDUC RES PRACT CRYSTENGCOMM Dalton Trans. Energy Environ. Sci. ENVIRON SCI-NANO ENVIRON SCI-PROC IMP ENVIRON SCI-WAT RES Faraday Discuss. Food Funct. Green Chem. Inorg. Chem. Front. Integr. Biol. J. Anal. At. Spectrom. J. Mater. Chem. A J. Mater. Chem. B J. Mater. Chem. C Lab Chip Mater. Chem. Front. Mater. Horiz. MEDCHEMCOMM Metallomics Mol. Biosyst. Mol. Syst. Des. Eng. Nanoscale Nanoscale Horiz. Nat. Prod. Rep. New J. Chem. Org. Biomol. Chem. Org. Chem. Front. PHOTOCH PHOTOBIO SCI PCCP Polym. Chem.
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
0
微信
客服QQ
Book学术公众号 扫码关注我们
反馈
×
意见反馈
请填写您的意见或建议
请填写您的手机或邮箱
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
现在去查看 取消
×
提示
确定
Book学术官方微信
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术
文献互助 智能选刊 最新文献 互助须知 联系我们:info@booksci.cn
Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。
Copyright © 2023 Book学术 All rights reserved.
ghs 京公网安备 11010802042870号 京ICP备2023020795号-1