首页 > 最新文献

Interdisciplinary Academic and Research Journal最新文献

英文 中文
แบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์การในสถานศึกษาที่ส่งผลต่อความสุขในการทำงานของครู แบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์การในสถานศึกษาที่ส่งผลต่อความสุขในการทำงานของครู
Pub Date : 2024-07-22 DOI: 10.60027/iarj.2024.276855
จันทประภา ปะกายะ, ทวีศิลป์ กุลนภาดล
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: โรงเรียนเป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นเพื่อการจัดการศึกษาและส่งเสริมการเรียนรู้แก่ผู้เรียน โดยมุ่งหวังให้บุคลากรทำงานอย่างมีความสุข ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์องค์การในสถานศึกษาจึงมีส่วนสำคัญในการเสริมความสุขในองค์การสถานศึกษา การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา บรรยากาศองค์การในสถานศึกษา และความสุขในการทำงานของครู 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์การในสถานศึกษากับความสุขในการทำงานของครู 3) เพื่อศึกษาแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์การในสถานศึกษาที่ส่งผลต่อความสุขในการทำงานของครูระเบียบวิธีการวิจัย: ครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2566 จำนวน 191 คน โดยได้จากการเปิดตารางสำเร็จรูปเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie & Morgan, 1970) โดยใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) โดยใช้ขนาดโรงเรียนเป็นระดับชั้น (Strata) แล้ววิธีจับสลากจำนวนครูตามสัดส่วนของโรงเรียน สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันและการถดถอยพหุคูณแบบวิธีการนำตัวแปรเข้าทั้งหมดผลการวิจัย: 1) ระดับแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก ระดับบรรยากาศองค์การในสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก และระดับความสุขในการทำงานของครู โดยรวมอยู่ในระดับมาก 2) แบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์การในสถานศึกษามีความสัมพันธ์กับความสุขในการทำงานของครู ในภาพรวมพบว่า ตัวแปรทั้งหมดมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) ระหว่าง -.087 ถึง .635 3) แบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์การในสถานศึกษาร่วมกันพยากรณ์ตัวแปรความสุขในการทำงานของครู ได้ร้อยละ 37.30 (R2 = .373)สรุปผล : ผลวิจัยสรุปว่า ระดับแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา ระดับบรรยากาศองค์การในสถานศึกษา และระดับความสุขในการทำงานของครู โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์การในสถานศึกษามีความสัมพันธ์กับความสุขในการทำงานของครู และแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์การในสถานศึกษาร่วมกันพยากรณ์ตัวแปรความสุขในการทำงานของครูอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:โรงเรียนเป็นองค์กรที่จัดตั้งข้นเพื่อการจักดารศึกษาและส่งเสิมารเรียนร้แก่ผู้เรียน โดยม่งหวังให้บุคลากรทำงานอย่างมีความสุการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับแบบภาวะผูน้ำของผู้บริหารสถานศึกษาบรรยากาศองค์การในสถานศึกษา และความสุขในการทำงานของครู 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์การในสถานศึกษากับความสุขในการทำงานของครู3) เพือ่ศึกษาแบบาภวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยาาศองค์การในสถานศึกษาที่สงผต่อควมสุขในารทียบวิธีการวิจัย:ครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตดอนเมอืง กรงุเทพมหานคร ปีการศึกษา 2566 จำนวน 191 คน โดยได้จาการเปดิตารงสำเร็จรูปเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie & Morgan、1970) โดยใช้การสุ่มแบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) โดยใช้ขนาดโงเรียนเป็นระดับชั้น (Strata) แล้ววิธีจับสลากจำนวนครูตามสัดส่วนของโรงเรียน สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบเพียร์สันและการ↪Lo_E16ด↩ถอยพหุคูณแบวิธีการนำตัวแปรเข้าทั้งหมดผการวิจัย:1) ระดับแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก ระดับบรยากาศองค์การในสถานศึษา โดยรวมยู่ในระดับมาก และระดับความสุขในการทำงนาของครู โดยรวมอยู่ในระดับมา 2)แบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์การในสถานศึกษามีความสัมพันธ์กับความสุขในการทำงานของครู ในภาพรวมพบว่า ตัวแปรทั้งหมดมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) ระหว่าง -.087 ถึง .635 3)แบาภวะผู้นำขอขงผู้นนศึกษาและบรรยากาศองค์การในสถานศึกษาร่วมกันพยากรณตั์วแปรความสุขในการทำงานของคยายละ 37.30 (R2 = .373)สรุปผล :ผลวิจัยสรุปว่า ระดับแบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา ระดับบรยากาศองค์การในสถานศึกษา แลระดับความสุขในการทงานของครโดยรวมยู่ในระดับมาก โดยภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรยากาศองค์การในสถานศึกษามีความสัมพันธ์กับความสุขในการทงานของครและแบภาวะผผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศงกษาาร่วมกันยากรณต์ัวแปรควาสุขในการทงำนของรูย่างีนัยสำคัญทงสถิติที่ระดบั .001
{"title":"แบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์การในสถานศึกษาที่ส่งผลต่อความสุขในการทำงานของครู","authors":"จันทประภา ปะกายะ, ทวีศิลป์ กุลนภาดล","doi":"10.60027/iarj.2024.276855","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276855","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: โรงเรียนเป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นเพื่อการจัดการศึกษาและส่งเสริมการเรียนรู้แก่ผู้เรียน โดยมุ่งหวังให้บุคลากรทำงานอย่างมีความสุข ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์องค์การในสถานศึกษาจึงมีส่วนสำคัญในการเสริมความสุขในองค์การสถานศึกษา การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา บรรยากาศองค์การในสถานศึกษา และความสุขในการทำงานของครู 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์การในสถานศึกษากับความสุขในการทำงานของครู 3) เพื่อศึกษาแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์การในสถานศึกษาที่ส่งผลต่อความสุขในการทำงานของครู\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: ครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2566 จำนวน 191 คน โดยได้จากการเปิดตารางสำเร็จรูปเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie & Morgan, 1970) โดยใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) โดยใช้ขนาดโรงเรียนเป็นระดับชั้น (Strata) แล้ววิธีจับสลากจำนวนครูตามสัดส่วนของโรงเรียน สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันและการถดถอยพหุคูณแบบวิธีการนำตัวแปรเข้าทั้งหมด\u0000ผลการวิจัย: 1) ระดับแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก ระดับบรรยากาศองค์การในสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก และระดับความสุขในการทำงานของครู โดยรวมอยู่ในระดับมาก 2) แบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์การในสถานศึกษามีความสัมพันธ์กับความสุขในการทำงานของครู ในภาพรวมพบว่า ตัวแปรทั้งหมดมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) ระหว่าง -.087 ถึง .635 3) แบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์การในสถานศึกษาร่วมกันพยากรณ์ตัวแปรความสุขในการทำงานของครู ได้ร้อยละ 37.30 (R2 = .373)\u0000สรุปผล : ผลวิจัยสรุปว่า ระดับแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา ระดับบรรยากาศองค์การในสถานศึกษา และระดับความสุขในการทำงานของครู โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์การในสถานศึกษามีความสัมพันธ์กับความสุขในการทำงานของครู และแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาและบรรยากาศองค์การในสถานศึกษาร่วมกันพยากรณ์ตัวแปรความสุขในการทำงานของครูอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"5 3","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-22","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141816002","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การเสริมสร้างพลังแห่งการฟื้นตัวจากภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาด้วยการฝึกเมตตาภาวนา ตามหลักพระพุทธศาสนา การเสริมสร้างพลังแห่งการฟื้นตัวจากภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาด้วยการฝึกเมตตาภาวนา ตามหลักพระพุทธศาสนา
Pub Date : 2024-07-22 DOI: 10.60027/iarj.2024.277226
ปริยา ศุภวงศ์, ธนภณ สมหวัง
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: เมื่อนักศึกษากำลังเติบโตเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ วัยที่เต็มไปด้วยความรับผิดชอบและความคาดหวัง การเติบโตนี้จึงมาพร้อมกับจำนวนปัญหาที่มากขึ้นและขนาดของอุปสรรคที่ใหญ่ขึ้น นักศึกษาหลายคนไม่สามารถปรับตัวได้ หรืออาจปรับตัวได้ช้าจนก่อให้เกิดความเครียดเรื้อรังและกลายเป็นภาวะซึมเศร้าในที่สุด บทความนี้จึงเป็นการนำเสนอวิธีการเสริมสร้างพลังแห่งการฟื้นตัว (Resilience) ด้วยการฝึกเมตตาภาวนาตามหลักพุทธศาสนา เพื่อป้องกันภาวะอาการซึมเศร้าที่เมื่อนานวันไปจะกลายเป็นโรคซึมเศร้า ซึ่งพบเพิ่มมากขึ้นทุกปีจากใบลาป่วยของนักศึกษาที่วินิจฉัยรับรองโดยแพทย์เฉพาะทาง  ระเบียบวิธีการศึกษา: การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง จากนั้นทำการวิเคราะห์และสังเคราะห์ตามประเด็นวัตถุประสงค์การศึกษาและใช้วิธีการนำเสนอเชิงพรรณนาความสรุปผล: ด้วยการฝึกสมาธิด้วยความเมตตาและปฏิบัติตามหลักคำสอนของพุทธศาสนา นักเรียนสามารถเสริมสร้างความยืดหยุ่นและเอาชนะภาวะซึมเศร้าได้ ลักษณะเชิงบวก เช่น การตระหนักรู้ในตนเอง ความพึงพอใจ และความขอบคุณ ได้รับการส่งเสริมโดยการฝึกฝนนี้ และจะปรับปรุงความสามารถในการปรับตัวและมนุษยสัมพันธ์ซึ่งมีความสำคัญต่อความยืดหยุ่น
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:เมือนักศึกษากำลังเติบโตเขาสู่วัยผู้ใหญ่ วัยที่เต็มไปด้ยวความรับผิดชอบและควาคาหใหญข้นวนปัญหาที่มกข้นและขนาดองุปสรคที่↪LoE43↩หญข้นนักศึกษาหลายคนไม่สามารถปรับตัวได้หรอือจาปรับตัวได้ช้าจนก่อให้เกิดควาเมเครียดเรื้อรังและกลายปน็ภาวะซึมเศร้าในที่สุดมตัว (Resilience) มตัวยการรเอกเมตตาภาวนตามหาลักพุทศศาสนเพือป้องกันภาวะอาการซึมเศราที่เมอืนานวันไปะกลายเป็นโรคซึมเศร้า ซึ่งพบเพิ่มากขึ้นทุกปีจากใบลาปยวขงนักศึกษาที่วินจิฉัยรับรงโดยแพทย์เฉพาะทาง ระเบียบวิธีการศึกษา:เE28↩กษาเE28↩ึกษาเอกสาราทงวิชากรที่เE28↩กี่ยวข้อง จากนั้นทกำารวิเคราระห์และสังเคราระห์มประเด็็นวัตัถุประสงค์การศึกษาและใช้วิธีการนำเสนอเชิงพรรณนาความสรปผ:ด้วยการรฝึกสมาธิด้วยความเมตตาและปฏิบัติามตาหาลักคอสำนของพุทธศาสนา นักเรียนสามารถเสริมสร้างความืยดหายุ่นและเอาชนะภาวะซึมเศร้าได้ เอกษณะเชิงบวกเช่นการตระเด็กเด็กเด็กเดง ความพึงพใอจ และความขอบคุณ ได้รับการส่งเสริมโดยการรฝึกเด็กเสี้ และจะปรับปรุงความสามารถในการปรับตัวและมนุษยสัมพันธ์ซอ่งมีความสำคัญต่ออความยดืหยุน
{"title":"การเสริมสร้างพลังแห่งการฟื้นตัวจากภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาด้วยการฝึกเมตตาภาวนา ตามหลักพระพุทธศาสนา","authors":"ปริยา ศุภวงศ์, ธนภณ สมหวัง","doi":"10.60027/iarj.2024.277226","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.277226","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: เมื่อนักศึกษากำลังเติบโตเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ วัยที่เต็มไปด้วยความรับผิดชอบและความคาดหวัง การเติบโตนี้จึงมาพร้อมกับจำนวนปัญหาที่มากขึ้นและขนาดของอุปสรรคที่ใหญ่ขึ้น นักศึกษาหลายคนไม่สามารถปรับตัวได้ หรืออาจปรับตัวได้ช้าจนก่อให้เกิดความเครียดเรื้อรังและกลายเป็นภาวะซึมเศร้าในที่สุด บทความนี้จึงเป็นการนำเสนอวิธีการเสริมสร้างพลังแห่งการฟื้นตัว (Resilience) ด้วยการฝึกเมตตาภาวนาตามหลักพุทธศาสนา เพื่อป้องกันภาวะอาการซึมเศร้าที่เมื่อนานวันไปจะกลายเป็นโรคซึมเศร้า ซึ่งพบเพิ่มมากขึ้นทุกปีจากใบลาป่วยของนักศึกษาที่วินิจฉัยรับรองโดยแพทย์เฉพาะทาง  \u0000ระเบียบวิธีการศึกษา: การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง จากนั้นทำการวิเคราะห์และสังเคราะห์ตามประเด็นวัตถุประสงค์การศึกษาและใช้วิธีการนำเสนอเชิงพรรณนาความ\u0000สรุปผล: ด้วยการฝึกสมาธิด้วยความเมตตาและปฏิบัติตามหลักคำสอนของพุทธศาสนา นักเรียนสามารถเสริมสร้างความยืดหยุ่นและเอาชนะภาวะซึมเศร้าได้ ลักษณะเชิงบวก เช่น การตระหนักรู้ในตนเอง ความพึงพอใจ และความขอบคุณ ได้รับการส่งเสริมโดยการฝึกฝนนี้ และจะปรับปรุงความสามารถในการปรับตัวและมนุษยสัมพันธ์ซึ่งมีความสำคัญต่อความยืดหยุ่น","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"10 12","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-22","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141816450","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การสร้างการมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ของชุมชนในเขตอำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี การสร้างการมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ของชุมชนในเขตอำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี
Pub Date : 2024-07-22 DOI: 10.60027/iarj.2024.276931
วีระ วีระโสภณ, บัว ศรีคช
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การท่องเที่ยวเชิงนิเวศได้รับความสนใจเพิ่มขึ้น เนื่องจากเป็นรูปแบบการท่องเที่ยวที่มุ่งเน้นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างยั่งยืน งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) ศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ณ อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี (2) ศึกษาลักษณะส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วม และ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ข่าวสารกับการมีส่วนร่วมของชุมชนระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยเชิงปริมาณนี้ใช้กลุ่มตัวอย่าง 400 คน จากประชากร 6,260 คน ในอำเภอบ้านแหลม ได้มาจากการสุ่มแบบบังเอิญ เครื่องมือคือแบบสอบถามที่มีความเชื่อมั่น 0.879 ข้อมูลถูกวิเคราะห์ด้วยสถิติพรรณนาและสถิติอนุมาน ได้แก่ t-test และ ANOVAผลการวิจัย: พบว่าระดับการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยชุมชนมีส่วนร่วมมากในการหาสาเหตุปัญหา แต่ระดับการมีส่วนร่วมในขั้นตอนอื่น ๆ อยู่ในระดับปานกลาง นอกจากนี้ยังพบว่า ลักษณะส่วนบุคคลที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมอย่างมีนัยสำคัญ ได้แก่ อายุและอาชีพ ในขณะที่การรับรู้ข่าวสารไม่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติสรุปผล: ผลการวิจัยนี้ชี้ให้เห็นว่า การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างยั่งยืนนั้น ไม่เพียงแต่ต้องให้ความสำคัญกับการให้ข้อมูลข่าวสารเท่านั้น แต่ยังต้องสร้างความตระหนัก จิตสำนึก แรงจูงใจ และเสริมสร้างศักยภาพให้แก่ชุมชน โดยคำนึงถึงความแตกต่างของปัจจัยส่วนบุคคล เช่น อายุและอาชีพ เพื่อให้ทุกภาคส่วนในชุมชนสามารถมีบทบาทได้อย่างเหมาะสมและใช้ศักยภาพได้อย่างเต็มที่ในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ซึ่งจะนำไปสู่ความยั่งยืนในระยะยาว
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:เด็การท่องเที่ยวเชิงนิเวศได้รับความสนใจเพิ่มขึ้น เนอ่งจากเป็รนูปแบการท่องเที่ยวที่มุงเน้นการอนรุกษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรวมถึงการมีส่วนร่วมของชุมชนท้งถิ่น ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างยั่งยอืนงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) ศึกษาระบดัารมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ณ อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี (2)ศึกษาลักษณะส่วนบคคลที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วม และ (3) ศึกษาควมสัมพันธ์ระหวางการรับรู้ข่าวสารับการมีส่วนร่วมของชุมชนระเบียบวิธีการวจัย:การวิจัยเชิงปริมาณนี้ใช้กลุ่มตัวอย่าง 400 คน จากประาชกร 6,260 คน ในอำเภอบ้านแหลม ได้มาจาการสุ่มแบบังเอิญ เครืองมือคอือแบสอบถามที่มีความเชออมั่น 0.879 ข้อมูลถูกวิเคราะห์ด้วยสถิติพรรณนาและสถิติอนุมาน ได้แก่ t-test และ ANOVAผลการวิจัย:พบว่าระดับการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยชุมชนมีส่วนร่วมมากในการหาสาเหตุปัญหา แต่ระดับการมีส่วนร่วมในขั้นตอนอื่น ๆ อยู่ในระดับปานกลางนอกจากนี้ยังพบว่า ลักษณะส่วนบุคคลที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมอย่างมีนัยสำคัญ ได้แก่ อายุและอาชีพ ในขณะที่การรับรู้ข่าวสารไม่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติสรุปผล:ผลการวิจัยนี้ชี้ให้เหน็ว่า การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างยั่งยืนนั้นญกับการให้้อมลู่ขาวสารเท่องเที่ยวเชิงนิเวศย่างยังยืนันินท้้อมลู่ขาวสารเท่านั้น แต่ยังต้้องให้ความตระหนัก จิตสำนึก แรงจูงใจและเสริมสร้างศักยภาพให้แก่ชุมชน โดยคำนึงถึงความแตก่างขงปอัจจัยสนบุคคล เช่น อายุและอาชีพเพือใหาทุกภาค่สวนในชุมชนสามารถมีบทบาทได้อยางเหาะสมและใช้ศักยภาพได้อย่างเต็มที่ในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเว↪LoE28↩ ึซ่งจะนำไปสู่ความยั่งยืนในระยาว
{"title":"การสร้างการมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ของชุมชนในเขตอำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี","authors":"วีระ วีระโสภณ, บัว ศรีคช","doi":"10.60027/iarj.2024.276931","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276931","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การท่องเที่ยวเชิงนิเวศได้รับความสนใจเพิ่มขึ้น เนื่องจากเป็นรูปแบบการท่องเที่ยวที่มุ่งเน้นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างยั่งยืน งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) ศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ณ อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี (2) ศึกษาลักษณะส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วม และ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ข่าวสารกับการมีส่วนร่วมของชุมชน\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยเชิงปริมาณนี้ใช้กลุ่มตัวอย่าง 400 คน จากประชากร 6,260 คน ในอำเภอบ้านแหลม ได้มาจากการสุ่มแบบบังเอิญ เครื่องมือคือแบบสอบถามที่มีความเชื่อมั่น 0.879 ข้อมูลถูกวิเคราะห์ด้วยสถิติพรรณนาและสถิติอนุมาน ได้แก่ t-test และ ANOVA\u0000ผลการวิจัย: พบว่าระดับการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยชุมชนมีส่วนร่วมมากในการหาสาเหตุปัญหา แต่ระดับการมีส่วนร่วมในขั้นตอนอื่น ๆ อยู่ในระดับปานกลาง นอกจากนี้ยังพบว่า ลักษณะส่วนบุคคลที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมอย่างมีนัยสำคัญ ได้แก่ อายุและอาชีพ ในขณะที่การรับรู้ข่าวสารไม่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ\u0000สรุปผล: ผลการวิจัยนี้ชี้ให้เห็นว่า การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างยั่งยืนนั้น ไม่เพียงแต่ต้องให้ความสำคัญกับการให้ข้อมูลข่าวสารเท่านั้น แต่ยังต้องสร้างความตระหนัก จิตสำนึก แรงจูงใจ และเสริมสร้างศักยภาพให้แก่ชุมชน โดยคำนึงถึงความแตกต่างของปัจจัยส่วนบุคคล เช่น อายุและอาชีพ เพื่อให้ทุกภาคส่วนในชุมชนสามารถมีบทบาทได้อย่างเหมาะสมและใช้ศักยภาพได้อย่างเต็มที่ในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ซึ่งจะนำไปสู่ความยั่งยืนในระยะยาว","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"13 4","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-22","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141817144","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ความพร้อมในการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพื่อพัฒนาผู้เรียนตามกรอบการประเมิน PISA 2025 ของครูสังกัดสำนักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร ความพร้อมในการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพื่อพัฒนาผู้เรียนตามกรอบการประเมิน PISA 2025 ของครูสังกัดสำนักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร
Pub Date : 2024-07-22 DOI: 10.60027/iarj.2024.276485
อุลัยวรรณ์ สีอ่อน, จุฑาภรณ์ มาสันเทียะ, ดารุณี ทิพยกุลไพโรจน์
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การเตรียมความพร้อมของครูผู้สอนในระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลายและมัธยมศึกษาตอนต้นเพื่อปรับตัวตามกรอบการประเมิน PISA 2025 เป็นกระบวนการที่สำคัญและน่าสนใจอย่างมาก เพื่อให้ครูมีความพร้อมที่จะสอนและสนับสนุนการเรียนรู้ของนักเรียนในโลกดิจิทัล การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความพร้อมของครูสังกัดสำนักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร ในการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา ตามกรอบการประเมิน PISA 2025 และ (2) เปรียบเทียบความพร้อมของครูสังกัดสำนักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร ในการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา ตามกรอบการประเมิน PISA 2025 ระหว่างครูที่มีวิชาที่สอนแตกต่างกันระเบียบวิธีการวิจัย: ประชากร คือ ครูที่สอนวิชาวิทยาศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์ และวิชาคอมพิวเตอร์ ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย และมัธยมศึกษาตอนต้น ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ที่มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.963 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วยสถิติบรรยาย ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการศึกษา: (1) ในภาพรวมครูสังกัดสำนักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร มีความพร้อมในการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา ตามกรอบการประเมิน PISA 2025 อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ยคะแนนคิดเป็นร้อยละ 76.16 ของคะแนนเต็ม) (2) ความพร้อมของครูสังกัดสำนักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร ที่มีวิชาที่สอนแตกต่างกัน พบว่า ครูที่สอนวิชาคอมพิวเตอร์ มีค่าเฉลี่ยคะแนนความพร้อมในการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา ตามกรอบการประเมิน PISA 2025 สูงกว่าครูที่สอนวิชาอื่นๆ ซึ่งถือว่ามีความพร้อมในระดับมาก (ค่าเฉลี่ยคะแนนคิดเป็นร้อยละ 83.56 ของคะแนนเต็ม)สรุปผล: ด้วยคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 76.16 การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าครูมีความพร้อมเพียงปานกลางเท่านั้นในการนำการศึกษา STEM ไปปฏิบัติภายในกรอบการประเมิน PISA 2025 ในทางกลับกัน ผู้ที่สอนวิชาที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ได้คะแนน 83.56 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งสูงกว่าอย่างเห็นได้ชัดและบ่งชี้ถึงระดับความสามารถที่โดดเด่นซึ่งเอื้ออำนวยต่อความสำเร็จในการบูรณาการ STEM ในการสอน
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:การเตรียมความพร้อมของครูผู้สอนในระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลายและมัธยมศึกษาอนต้นเพื่อปรับตัตวามกรอบการประเมิน pisa 2025 เป็นกระบวนการที่สำคัญและน่าสนใจอย่างมากเพือให้ครูมีความพร้อมที่จะสอนและสนับสุนการเรียนรู้ของนักเรียนในโลกดิจิทัล การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพือ (1)ศึกษาความพร้อมของครูสังกัดสำนักงานเตาบงขุนเทียน กรุงเทพมหานคร ในการจัดากรเรียนรู้แบสะเต็มศึกษา ตามกรอบการประเมิน pisa 2025 และ (2) เปรียบเทียบความพร้อมของครูสังกัดสำนักงานเขตาบงุนเทียนกรุงเทพมหานคร ในากรจัดการเรียนรู้แบสะเต็มศึกษา ตามกรอบการประเมิน pisa 2025 ระหว่างครูที่มีวิชาที่สอนแติลางกันระเบียบวิธีการวิจัย:ประชากร คือ ครูที่สอนวิชาวิทยาศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์ และวิชาคอมพิวเตอร์ ระดับชั้นประถ↩มศึกษาตอนปลาย และมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนสังกัดสำนกังานเขตบางขุนเทียน กรงเทพมหานคร จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ที่มีค่าความเชื่อมันเท่ากับ 0.963 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วยสถิติบรยาย ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการศกษา:(1) เE43↩นภาพรวมครูสังกัดสำนักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร มีความพร้อมในการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา ตามกรอบการประเมิน pisa 2025 อยู่ในระดับปนากลาง (ค่าเฉลี่ยคะแนคิดเป็นร้อยละ 76.16 ของคะแนเต็ม) (2) ความพร้อมของครูสังกัดสำนกังานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร ที่มีวิชาที่สอนแตกตางกัน พบว่า ครูที่สอนวิชาคอมพิวเตอร์มีค่าเฉลี่ยคะแนนความพร้อมในการจัดารเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา ตามกรอบการประเมิน PISA 2025 สูงกว่าครูที่สสอนิชอาื่นๆ ซึ่งถือว่ามีความพร้อมในระดับมา (ค่าเฉลี่ยคะแนนคิเดป็นร้ยอละ 83.56 ของคะแนเต็ม)สรุปผล: ด้วยคะแนเฉลี่ยร้อยละ 76.16 การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าครูมีความพร้อมเพียงปานกลางเท่านั้นในการนำการศึกษา STEM ไปปฏิบัติภายในกรอบการประเมิน PISA 2025 ในทางกลับกัน ผู้ที่สอนวิชาที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ได้คะแนน 83.56 เปอร์เซ็นต์ เซึ่งสูงกว่าอย่าอย่างหเด็่ชัดและบ่งชี้ถ↩ึงระบัความสามารถ↩ที่โดเดด่นซึ่งเอื้อำนวยต่อควมาสำเร็จใ↩นการบูรณาการ stem ในารสอน
{"title":"ความพร้อมในการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา เพื่อพัฒนาผู้เรียนตามกรอบการประเมิน PISA 2025 ของครูสังกัดสำนักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร","authors":"อุลัยวรรณ์ สีอ่อน, จุฑาภรณ์ มาสันเทียะ, ดารุณี ทิพยกุลไพโรจน์","doi":"10.60027/iarj.2024.276485","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276485","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การเตรียมความพร้อมของครูผู้สอนในระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลายและมัธยมศึกษาตอนต้นเพื่อปรับตัวตามกรอบการประเมิน PISA 2025 เป็นกระบวนการที่สำคัญและน่าสนใจอย่างมาก เพื่อให้ครูมีความพร้อมที่จะสอนและสนับสนุนการเรียนรู้ของนักเรียนในโลกดิจิทัล การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความพร้อมของครูสังกัดสำนักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร ในการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา ตามกรอบการประเมิน PISA 2025 และ (2) เปรียบเทียบความพร้อมของครูสังกัดสำนักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร ในการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา ตามกรอบการประเมิน PISA 2025 ระหว่างครูที่มีวิชาที่สอนแตกต่างกัน\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: ประชากร คือ ครูที่สอนวิชาวิทยาศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์ และวิชาคอมพิวเตอร์ ระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย และมัธยมศึกษาตอนต้น ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ที่มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.963 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วยสถิติบรรยาย ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน\u0000ผลการศึกษา: (1) ในภาพรวมครูสังกัดสำนักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร มีความพร้อมในการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา ตามกรอบการประเมิน PISA 2025 อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ยคะแนนคิดเป็นร้อยละ 76.16 ของคะแนนเต็ม) (2) ความพร้อมของครูสังกัดสำนักงานเขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร ที่มีวิชาที่สอนแตกต่างกัน พบว่า ครูที่สอนวิชาคอมพิวเตอร์ มีค่าเฉลี่ยคะแนนความพร้อมในการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา ตามกรอบการประเมิน PISA 2025 สูงกว่าครูที่สอนวิชาอื่นๆ ซึ่งถือว่ามีความพร้อมในระดับมาก (ค่าเฉลี่ยคะแนนคิดเป็นร้อยละ 83.56 ของคะแนนเต็ม)\u0000สรุปผล: ด้วยคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 76.16 การศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าครูมีความพร้อมเพียงปานกลางเท่านั้นในการนำการศึกษา STEM ไปปฏิบัติภายในกรอบการประเมิน PISA 2025 ในทางกลับกัน ผู้ที่สอนวิชาที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ได้คะแนน 83.56 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งสูงกว่าอย่างเห็นได้ชัดและบ่งชี้ถึงระดับความสามารถที่โดดเด่นซึ่งเอื้ออำนวยต่อความสำเร็จในการบูรณาการ STEM ในการสอน","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"29 50","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-22","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141813915","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การพัฒนาทักษะการคิดเชิงบริหาร (EF) ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมเสริมประสบการณ์ สื่อสร้างสรรค์จากวัสดุภูมิปัญญาท้องถิ่น การพัฒนาทักษะการคิดเชิงบริหาร (EF) ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมเสริมประสบการณ์ สื่อสร้างสรรค์จากวัสดุภูมิปัญญาท้องถิ่น
Pub Date : 2024-07-22 DOI: 10.60027/iarj.2024.276823
ทิพย์อักษร พุทธสริน
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การส่งเสริมรากฐานของการพัฒนาทักษะการคิดเชิงบริหาร (EF) กับเด็กปฐมวัยให้เกิดการพัฒนาศักยภาพในการเจริญเติบโตและเรียนรู้อย่างเหมาะสม โดยมีการซึมซับภูมิปัญญาท้องถิ่นซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่เกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ที่มีคุณค่าทางวัฒนธรรมให้สืบทอดต่อไป การวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงบริหาร (EF) ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมเสริมประสบการณ์สื่อสร้างสรรค์จากวัสดุภูมิปัญญาท้องถิ่นระเบียบวิธีการวิจัย: ผู้วิจัยได้ใช้แบบแผนการวิจัย One - Group Pretest -Posttest Design กลุ่มตัวอย่างการวิจัย คือ เด็กปฐมวัยโรงเรียนเทศบาล 1 (วิทยานารี) อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 20 คน ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์สื่อสร้างสรรค์จากวัสดุภูมิปัญญาท้องถิ่น และแบบสังเกตทักษะการคิดเชิงบริหาร (EF) ของเด็กปฐมวัย วิเคราะห์คุณภาพเครื่องมือโดยค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างลักษณะพฤติกรรมกับจุดประสงค์ จากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คน ซึ่งได้ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) 0.96  และวิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่า t-test dependentผลการวิจัย: กลุ่มทักษะพื้นฐานก่อน/หลังจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ระดับปานกลาง/ระดับมากที่สุด  กลุ่มทักษะกำกับตัวเองก่อน/หลังจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ระดับปานกลาง/ระดับมากที่สุด กลุ่มทักษะปฏิบัติก่อน/หลังจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ระดับปานกลาง/ระดับมากที่สุด หลังการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เด็กปฐมวัยมีทักษะการคิดเชิงบริหาร (EF) สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05สรุปผล:  เด็กปฐมวัยที่ได้รับการกิจกรรมเสริมประสบการณ์สื่อสร้างสรรค์จากวัสดุภูมิปัญญาท้องถิ่นมีทักษะการคิดเชิงบริหาร (EF) ที่สูงขึ้น
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:การส่งเสิมรากฐานของการพัฒนาทักษะการคิเดดเชิงบริหาร (ef) กับเด็กปฐมวัยให้เกิดการพัฒนาศักยภาพในการเจริญเติบโแตละเรียนรู้ย่างเหมาะสมโดยมีารซึมซับูมิปัญญาท้องถิ่นซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่เกิดจาการสังสมประสการณ์ที่มคุ↪LoE13↩ค่าทางวั↪LoE12↩น↪LoE18↩รรม↪LoE43↩ห้สืบทอดต่การวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพือพัฒนาทักษะการคิดเชิงบริหาร (ef) ของเด็กปฐมวัยโดยใช้ิกจกรมเสริมประสบการณ์สือสร้างสรค์จากวัสดุภูมิปัญญาท้องถิ่นระเบียบวิธีการวิจัย:ผู้วิจัยได้ใชแบบแผนการวิจัย One - Group Pretest - Posttest Design กลุงัย后测设计 เด็กปฐมวัยโรงเรียนเทศบาล 1 (วิทยานารี) อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 20 คน ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เครื่งอืมอการวิจัย ได้แก่แผนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ส่ือสร้างสรค์จากวัสดุภูมิปัญญาท้องถิ่นและแบบสังกเตทักษะการคิเดชิงบริหาร (ef) ของเด็กปฐมวัยวิเคราะห์คุณภาพเครื่องมือโดยค่าดัชนีความสอดค้องระหวางลักษณะพฤติกรรมกบัจุดประสงค์ จากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คน ึ ซ่งได้ค่าดัชนีความสอดค้อง (ioc) 0.96 และวิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่า t-test dependentผลการวิจัย:กลุ่มทักษะพืนฐานกลุ่มทักษะกำกลุ่มทักษะกำกลุ่มทักษะกำกลุ่มทักษะกำกลุ่มทักษกำกลุ่มทักลุ่มทักลุ่มทักลุ่มที่สุดกลุ่มทักษะปฏิบัติก่อน/หลังจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ระดับปานกลาง/ระดับมากที่สุด หลังการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เด็กปฐมวัยมีทักษะการคิดเชิงบริหาร (EF) สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05สรุปผล: เด็กปฐมวัยที่ได้รับการกจิกรรมเสริมประสบการณ์สื่อสร้างสรค์จากวัสดุภูมิปัญญาท้องถิ่นมีทัษกะการคิดเชิงบรหาร (EF) ที่สูงขึ้น
{"title":"การพัฒนาทักษะการคิดเชิงบริหาร (EF) ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมเสริมประสบการณ์ สื่อสร้างสรรค์จากวัสดุภูมิปัญญาท้องถิ่น","authors":"ทิพย์อักษร พุทธสริน","doi":"10.60027/iarj.2024.276823","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276823","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การส่งเสริมรากฐานของการพัฒนาทักษะการคิดเชิงบริหาร (EF) กับเด็กปฐมวัยให้เกิดการพัฒนาศักยภาพในการเจริญเติบโตและเรียนรู้อย่างเหมาะสม โดยมีการซึมซับภูมิปัญญาท้องถิ่นซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่เกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ที่มีคุณค่าทางวัฒนธรรมให้สืบทอดต่อไป การวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงบริหาร (EF) ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมเสริมประสบการณ์สื่อสร้างสรรค์จากวัสดุภูมิปัญญาท้องถิ่น\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: ผู้วิจัยได้ใช้แบบแผนการวิจัย One - Group Pretest -Posttest Design กลุ่มตัวอย่างการวิจัย คือ เด็กปฐมวัยโรงเรียนเทศบาล 1 (วิทยานารี) อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 20 คน ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์สื่อสร้างสรรค์จากวัสดุภูมิปัญญาท้องถิ่น และแบบสังเกตทักษะการคิดเชิงบริหาร (EF) ของเด็กปฐมวัย วิเคราะห์คุณภาพเครื่องมือโดยค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างลักษณะพฤติกรรมกับจุดประสงค์ จากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คน ซึ่งได้ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) 0.96  และวิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่า t-test dependent\u0000ผลการวิจัย: กลุ่มทักษะพื้นฐานก่อน/หลังจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ระดับปานกลาง/ระดับมากที่สุด  กลุ่มทักษะกำกับตัวเองก่อน/หลังจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ระดับปานกลาง/ระดับมากที่สุด กลุ่มทักษะปฏิบัติก่อน/หลังจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ระดับปานกลาง/ระดับมากที่สุด หลังการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เด็กปฐมวัยมีทักษะการคิดเชิงบริหาร (EF) สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05\u0000สรุปผล:  เด็กปฐมวัยที่ได้รับการกิจกรรมเสริมประสบการณ์สื่อสร้างสรรค์จากวัสดุภูมิปัญญาท้องถิ่นมีทักษะการคิดเชิงบริหาร (EF) ที่สูงขึ้น","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"18 6","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-22","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141814575","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี หลักสูตรบัญชีบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี หลักสูตรบัญชีบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
Pub Date : 2024-07-05 DOI: 10.60027/iarj.2024.279211
นิฟาตีฮะ ปัตนวงศ์, เนตรวดี เพชรประดับ, นันทิกานต์ ประสพสุข
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์ : การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรบัญชีบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สามารถแก้ปัญหาแนวโน้มจำนวนนักศึกษาตั้งแต่ปีการศึกษา 2563 – 2566 ในหลักสูตรลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในช่วง 2 ปีหลัง จำนวน 70 คน, 56 คน, 48 คน และ 48 คน ตามลำดับ และสามารถพัฒนาหลักสูตรเพื่อตอบสนองความต้องการของนักศึกษาและเพิ่มจำนวนผู้เข้าศึกษาในอนาคตได้ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี หลักสูตรบัญชีบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ 2) เพื่อเป็นแนวทางในการรับนักศึกษาของคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ระเบียบวิธีการวิจัย : กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาใหม่ชั้นปีที่ 1 และนักศึกษาปัจจุบันชั้นปีที่ 1-4 หลักสูตรบัญชีบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ จำนวน 166 คน เลือกแบบเจาะจง เครื่องมือวิจัย ใช้แบบสอบถาม 3 ส่วน คือ ข้อมูลทั่วไป, ปัจจัยการตัดสินใจ, ข้อเสนอแนะ และใช้มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ โดยผ่านการตรวจสอบความเที่ยงตรงและความเชื่อมั่น การเก็บข้อมูล เป็นการชี้แจงวัตถุประสงค์ เก็บแบบสอบถามครบ 166 ชุด ประเมินผลปัจจัยการตัดสินใจเลือกเรียน การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้โปรแกรม Jamoviวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปด้วยสถิติพรรณนา วิเคราะห์ระดับความคิดเห็นด้วยค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานนำผลวิเคราะห์ไปใช้หาแนวทางในการรับนักศึกษาต่อไปผลการศึกษา : วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี หลักสูตรบัญชีบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เพื่อหาแนวทางในการรับนักศึกษา ปัจจัยสำคัญที่พบด้านสิ่งสนับสนุนและสิ่งอำนวยความสะดวก คือการมีทุนสนับสนุนการศึกษาสำหรับนักศึกษาที่มีฐานะยากจน ด้านภาพลักษณ์และชื่อเสียง คืออาจารย์ผู้สอนมีวุฒิการศึกษาที่เป็นที่ยอมรับ ความสามารถในการพัฒนาและเพิ่มพูนความรู้ให้นักศึกษา และแนวทางในการรับนักศึกษา ควรจัดสรรทุนการศึกษาเพิ่มเติมสำหรับนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ร่วมมือกับภาคเอกชนเพื่อจัดหาทุนการศึกษาเพิ่มเติม จัดโครงการทุนทำงานระหว่างเรียนภายในมหาวิทยาลัย เพิ่มโอกาสการฝึกงานและสหกิจศึกษาที่มีค่าตอบแทน สนับสนุนการทำธุรกิจขนาดเล็กของนักศึกษาภายในมหาวิทยาลัยสรุปผล : แนวทางในการรับนักศึกษาที่นำเสนอมุ่งเน้นการแก้ปัญหาด้านการเงินและการสนับสนุนทุนการศึกษา ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการตัดสินใจเลือกเรียน โดยยังคงให้ความสำคัญกับการพัฒนาด้านอุปกรณ์การเรียนการสอนและสิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆ ควบคู่กันไป
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์ :การศึกษาปัจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลืเข้าศึกษาต่อในหาลักสตรบัญชีบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยนราธิวสราชนครินทร์สามารถแกปัญหาแนวโน้มจำนวนักศึกษาตั้งแต่ปีการศึกษา 2563 - 2566 ในหาลักสตูรลดงอย่างต่เอนื่อง โดยเฉพาะในช่วง 2 ปีหาลัง จำนวน 70 คน、56 คน、48 คน และ 48 คน ตาลมำดับ และสามารถพัฒนาหลักูสตรเพ่อตอบสนองความต้องการของนักศึกษาและเพิ่มจำนวนผู้เข้าศึษกาใอนาคตได้การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพือศึกษาปัจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลอกเข้าศึกษาต่ระอดับปริญญาตรีหลักสูตรบัญชีบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ 2) เพื่อเป็นแนวทางในการรับนักศึกษาของคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ระเบียบวิธีการวิจัย :นักศึกษาใหม่ชัน้ปีที่ 1 และนักศึกษาปัจจุบันชัน้ปีที่ 1-4 สิชีบัญชีบัณฑิตต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ จำนวน 166 คน เลือกแบเจาะจง เครื่องมือวิจัย ใช้แบสอบถาม 3 ส่วน คือ ข้อมูลทั่วไป、ปัจัยการตัดสินใจ、ข้อเสนอแนะ และใช้มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ โดยผ่านการตรวจสอบความเที่ยงตรงและความเชื่อมั่น การเก็บข้อมูล เป็นการชี้แจงวัตถุประสงค์ เก็บแบบสอบถามครบ 166 ชุด ประเมินผลปัจจัยการตัดสินใจเลือกเรียนการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้โปรแกรม Jamoviวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปด้วยสถิติพรรณนา วิเคราะห์ระดับความคิดเห็นด้วยค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานนำผลวิเคราะห์ไปใช้หาแนวทางในการรับนักศึกษาต่อไปผลการศึกษา :วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี หลักสูตรบัญชีบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เพื่อหาแนวทางในการรับนักศึกษาปัจจัยสำคัญที่พบด้านสิ่งสนับสนุนและสิ่งอำนวยความสะดวก คือการมีทุนสนับสนุนการศึกษาสำหรับนักศึกษาที่มีฐานะยากจน ด้านภาพลักษณ์และชื่อเสียง คืออาจารย์ผู้สอนมีวุฒิการศึกษาที่เป็นที่ยอมรับความสามารพัฒนาและเพิ่มพนความรู้ให้นัศึกษา และแทางในการรัศึกษา ควจัดสรรทุนการศึกษาเพิ่มเติสำหรับนัศึกษาที่มีผลการเรียนดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพ์ร่วมมือกับภาคเอกชนเพือจัดหาทุนการศึกษาเพิ่มเติมจัดโครงการทุนทำงานระหว่าเงียนภายในมหาวิทยาลัยเพิ่มโอาสการฝึกงานและสหาจศึกษาที่มี่คาตอบแทน สนับสุนการทำธุรกจนขาดเล็กของนักศึกษาภายในมหาวิทยาลัยสรุปผล :แนวาทงในการรับนักศึกษาที่นเสนอมุ่งเน้นารแ้ปัญหาด้านการตัดสินใจเลอกรียนโดยังคงให้วามสำคัญกับการพั↪LoE12↩นาด้านอปุกร↪LoE13↩์การเรียนการสอนและสิ่งอำนวยความสะดวกอืนๆควบคูกันไป
{"title":"ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี หลักสูตรบัญชีบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์","authors":"นิฟาตีฮะ ปัตนวงศ์, เนตรวดี เพชรประดับ, นันทิกานต์ ประสพสุข","doi":"10.60027/iarj.2024.279211","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.279211","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์ : การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรบัญชีบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สามารถแก้ปัญหาแนวโน้มจำนวนนักศึกษาตั้งแต่ปีการศึกษา 2563 – 2566 ในหลักสูตรลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในช่วง 2 ปีหลัง จำนวน 70 คน, 56 คน, 48 คน และ 48 คน ตามลำดับ และสามารถพัฒนาหลักสูตรเพื่อตอบสนองความต้องการของนักศึกษาและเพิ่มจำนวนผู้เข้าศึกษาในอนาคตได้ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี หลักสูตรบัญชีบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ 2) เพื่อเป็นแนวทางในการรับนักศึกษาของคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย : กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาใหม่ชั้นปีที่ 1 และนักศึกษาปัจจุบันชั้นปีที่ 1-4 หลักสูตรบัญชีบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ จำนวน 166 คน เลือกแบบเจาะจง เครื่องมือวิจัย ใช้แบบสอบถาม 3 ส่วน คือ ข้อมูลทั่วไป, ปัจจัยการตัดสินใจ, ข้อเสนอแนะ และใช้มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ โดยผ่านการตรวจสอบความเที่ยงตรงและความเชื่อมั่น การเก็บข้อมูล เป็นการชี้แจงวัตถุประสงค์ เก็บแบบสอบถามครบ 166 ชุด ประเมินผลปัจจัยการตัดสินใจเลือกเรียน การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้โปรแกรม Jamoviวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปด้วยสถิติพรรณนา วิเคราะห์ระดับความคิดเห็นด้วยค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน\u0000นำผลวิเคราะห์ไปใช้หาแนวทางในการรับนักศึกษาต่อไป\u0000ผลการศึกษา : วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี หลักสูตรบัญชีบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เพื่อหาแนวทางในการรับนักศึกษา ปัจจัยสำคัญที่พบ\u0000ด้านสิ่งสนับสนุนและสิ่งอำนวยความสะดวก คือการมีทุนสนับสนุนการศึกษาสำหรับนักศึกษาที่มีฐานะยากจน ด้านภาพลักษณ์และชื่อเสียง คืออาจารย์ผู้สอนมีวุฒิการศึกษาที่เป็นที่ยอมรับ ความสามารถในการพัฒนาและเพิ่มพูนความรู้ให้นักศึกษา และแนวทางในการรับนักศึกษา ควรจัดสรรทุนการศึกษาเพิ่มเติมสำหรับนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ร่วมมือกับภาคเอกชนเพื่อจัดหาทุนการศึกษาเพิ่มเติม จัดโครงการทุนทำงานระหว่างเรียนภายในมหาวิทยาลัย เพิ่มโอกาสการฝึกงานและสหกิจศึกษาที่มีค่าตอบแทน สนับสนุนการทำธุรกิจขนาดเล็กของนักศึกษาภายในมหาวิทยาลัย\u0000สรุปผล : แนวทางในการรับนักศึกษาที่นำเสนอมุ่งเน้นการแก้ปัญหาด้านการเงินและการสนับสนุนทุนการศึกษา ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการตัดสินใจเลือกเรียน โดยยังคงให้ความสำคัญกับการพัฒนาด้านอุปกรณ์การเรียนการสอนและสิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆ ควบคู่กันไป","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":" 2","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-05","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141674428","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ผลของการสอนโดยใช้วิธีสอน OK5R ที่มีต่อความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ผลของการสอนโดยใช้วิธีสอน OK5R ที่มีต่อความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
Pub Date : 2024-07-05 DOI: 10.60027/iarj.2024.276858
ใจฝัน ศิลปศร
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การอ่านเพื่อความเข้าใจเป็นการอ่านที่มีความสำคัญสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เนื่องจากช่วยให้นักเรียนสามารถแปลตัวอักษร คำ ข้อความ และประโยคอย่างเข้าใจ จนสามารถจับใจความของเรื่องที่อ่านได้ รวมถึงสามารถสรุปสาระสำคัญในแง่มุมต่าง ๆ เช่น การเปรียบเทียบ คาดเดาเหตุการณ์ วิเคราะห์เจตนาของผู้เขียน และข้อคิดที่ได้รับจากเรื่องที่อ่าน ทั้งนี้ วิธีสอน OK5R เป็นวิธีสอนที่ช่วยให้นักเรียนได้เชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ ทำให้สามารถเข้าใจเรื่องที่อ่านได้ดียิ่งขึ้น ดังนั้น การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนและหลังการสอนโดยใช้วิธีสอน OK5Rระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านแสนรัก (นามสมมติ) อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียนจำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ t-test (Dependent Samples) ความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้วิธีสอน OK5R หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .01ผลการวิจัย: ผลการสอนโดยใช้วิธีสอน OK5R มีผลต่อความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ทำให้ความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนสูงขึ้น แสดงให้เห็นว่าวิธีสอน OK5R สามารถนำมาใช้พัฒนาความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนได้ เพราะมีลำดับขั้นตอนการจัดกิจกรรมที่ชัดเจน อีกทั้ง มีความน่าสนใจ ประกอบกับความหลากหลายของกิจกรรมที่ช่วยพัฒนาความสามารถในการอ่านของนักเรียนได้เป็นอย่างดีสรุปผล: การศึกษาแสดงให้เห็นว่าทักษะการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จะดีขึ้นอย่างมากเมื่อใช้วิธีการสอน OK5R สิ่งนี้แสดงให้เห็นว่าแนวทางดังกล่าวทำงานได้ดีเพียงใดในการส่งเสริมการพัฒนาทักษะผ่านกิจกรรมที่วางแผนไว้และน่าสนใจ
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:การอ่านเพือ่ความเข้าใจเป็นการอ่านที่มีความสำคัญสำหรับนักเรียนชันป้ระถมศึกษาปีที่ 6 เนื่องจากช่ยให้นักเรียนสามารถแปตัวอกษร คำ ข้อความ และประโยคอย่างเข้าใจจนสามารถจับใจความของเรื่องที่อ่านได้ รวมถึงสามารถสรุปสาระสำคัญในแง่มุมต่าง ๆ เช่น การเปรียบเทียบ คาดเดาเหตุการณ์ วิเคราะห์เจตนาของผู้เขียน และข้อคิดที่ได้รับจากเรื่องที่อ่านเทั้งนี้ วิธีสอน ok5r เป็นวิธีสอนที่ช่วยให้นักเรียนได้เชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ทำให้สามารถเข้าใจเรื่องที่อานได้ดียิ่งขึน ดังนั้นการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนและหาลังการสอนโดยใช้วิธีสอน ok5rระเบียบวิธีการวจัย:กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านแสนรัก (นามสมมติ) อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียนจำนวน 20คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ t-test (Dependent Samples) ความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจอขงนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้วิธีสน OK5R หลังเรียนสูงกวาก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .01ผลการวิจัย:ผลการสอนโดยใช้วิธีสอน OK5R มีผลต่อความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ทำให้ความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนสูงขึ้น แสดงให้เห็นว่าวิธีสอน OK5Rสามารถนำมาใช้พัฒนาความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนได้ เพราะมีลำดับขั้นตอนการจัดกจกรรมที่ชัดเจนอกทั้ง มีความน่าสนใจ ประกอบับความหาลาลายของกิกจรมที่ช่วยพัฒนาความสามารถในการอ่านของนักเรียนได้เป็นยอ่าดงีสรุปผล:การศึกษาแสดงให้เห็นว่าทักษะารอ่านเพื่อความเข้าใจขงนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จะดีขึ้นอย่างมากเมื่อใช้วิธีการสอนok5r สิ่งนี้าแด็ัฒนาทักษะผ่ารมที่วาแด็ัฒนาทักษะผนาทักษะผนารมที่วาแด็ัฒนาทักษะผนาทักษะผนารมที่วาแด็ัฒนาทักษะผนาทักษะผนารมที่วัใจ
{"title":"ผลของการสอนโดยใช้วิธีสอน OK5R ที่มีต่อความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6","authors":"ใจฝัน ศิลปศร","doi":"10.60027/iarj.2024.276858","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276858","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การอ่านเพื่อความเข้าใจเป็นการอ่านที่มีความสำคัญสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เนื่องจากช่วยให้นักเรียนสามารถแปลตัวอักษร คำ ข้อความ และประโยคอย่างเข้าใจ จนสามารถจับใจความของเรื่องที่อ่านได้ รวมถึงสามารถสรุปสาระสำคัญในแง่มุมต่าง ๆ เช่น การเปรียบเทียบ คาดเดาเหตุการณ์ วิเคราะห์เจตนาของผู้เขียน และข้อคิดที่ได้รับจากเรื่องที่อ่าน ทั้งนี้ วิธีสอน OK5R เป็นวิธีสอนที่ช่วยให้นักเรียนได้เชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่ ทำให้สามารถเข้าใจเรื่องที่อ่านได้ดียิ่งขึ้น ดังนั้น การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนและหลังการสอนโดยใช้วิธีสอน OK5R\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านแสนรัก (นามสมมติ) อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียนจำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ t-test (Dependent Samples) ความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้วิธีสอน OK5R หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .01\u0000ผลการวิจัย: ผลการสอนโดยใช้วิธีสอน OK5R มีผลต่อความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ทำให้ความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนสูงขึ้น แสดงให้เห็นว่าวิธีสอน OK5R สามารถนำมาใช้พัฒนาความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนได้ เพราะมีลำดับขั้นตอนการจัดกิจกรรมที่ชัดเจน อีกทั้ง มีความน่าสนใจ ประกอบกับความหลากหลายของกิจกรรมที่ช่วยพัฒนาความสามารถในการอ่านของนักเรียนได้เป็นอย่างดี\u0000สรุปผล: การศึกษาแสดงให้เห็นว่าทักษะการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จะดีขึ้นอย่างมากเมื่อใช้วิธีการสอน OK5R สิ่งนี้แสดงให้เห็นว่าแนวทางดังกล่าวทำงานได้ดีเพียงใดในการส่งเสริมการพัฒนาทักษะผ่านกิจกรรมที่วางแผนไว้และน่าสนใจ","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":" 12","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-05","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141675239","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
รูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาระดับห้องเรียนโรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น รูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาระดับห้องเรียนโรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น
Pub Date : 2024-07-02 DOI: 10.60027/iarj.2024.276197
วัชระ คงแสนคำ
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การวิจัยรูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น เพื่อนำมาใช้ในพัฒนาและส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน พร้อมการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ และมีมาตรฐานการจัดการศึกษา ระดับห้องเรียน เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนมากที่สุด มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหา สาเหตุของปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนแวงใหญ่ 2) ศึกษาความต้องการจำเป็นของการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม 3) พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหญ่ และ 4) ศึกษาผลการทดลองใช้รูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคมระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยปฏิบัติการ (Operations Research) ประชากร ได้แก่ ครู จำนวน 41 คน และนักเรียน จำนวน 603 คน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม ปีการศึกษา 2561-2563 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบบันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2) แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ 3) แบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับการบริหารจัดการ 4) แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบ 5) คู่มือการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน 6) แบบประเมินผลการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และ 7) แบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัย: (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนต่ำ โดยแนวทางแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ประกอบด้วยการส่งเสริมด้านการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ด้านการพัฒนาครูและบุคลากร ด้านการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และด้านการบริหารจัดการและการนำองค์กรแบบมีส่วนร่วม (2) สภาพปัจจุบันของการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และสภาพที่พึงประสงค์ในการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยดัชนีความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน คือ 0.55 (PNImodified= 0.55) (3) รูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการและเหตุผล 2) วัตถุประสงค์ 3) องค์ประกอบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 4) วิธีการดำเนินงานของรูปแบบ 5) การวัดและประเมินผล โดยรูปแบบมีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีความเป็นไปได้ของรูปแบบโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และมีความเป็นประโยชน์ของรูปแบบโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และ (4) ผลการทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา พบว่า 1) ผลการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา หลังการทดลองอยู่ในระดับมากที่สุด สูงกว่าก่อนการทดลอง โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่าหลังการทดลองใช้รูปแบบรูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนการทดลอง และ 3) ความพึงพอใจที่มีต่อรูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดสรุปผล: ผลการวิจัยสรุปได้ว่า รูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ที่พัฒนาขึ้นมีองค์ประกอบและวิธีการดำเนินการเพื่อพัฒนาการบร
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:การวิจัยรูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น เพื่อนำมาใช้ในพัฒนาและส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนพร้อมการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ และมีมาตรฐานการจัดการศึกษา ระดับห้อเรียน เพื่อให้เกดิประโยชน์ต่อผู้เรียนากที่สุด มีวัตถ↩ุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหาสาเหตุของปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนแวงใหญ่ 2) ศึกษาความต้องการจำเป็นของการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม 3)พัฒนารูปแบการบจัดการคุณภาพและมตารฐานการศึกษา ระดับห้งเรียนแวงใหญ่ และ 4)ศึกษาผลการทดลองใช้รูปแบารบิหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหารญ่วิทยาคมระเบียบวิธีการวจั:运筹学) ประชากร ได้แก่ ครู จำนวน 41 คน และนักเรียน จำนวน 603 คน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม ปีการศึษกา 2561-2563 เครืองมอที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2) แบบสอบถามสภาพปัจจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์3) แบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับการบริหารจัดการ 4) แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปดไ้ของรูปแบ 5)เด็กเจัดากรรุณภาพและาตรฐานการศึกษา เรียน 6) แบประเมินผการรัพฒนาการบริหารจัดากรคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา(7) แบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัย:(1) เE1C↩ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนต่ำ โดยแนวทางแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนประกอบด้วยการส่งเสริมด้านการพัฒนาหาลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ด้านการพัฒนาครูและบุคลานการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และด้านการบริหารจัดการและการนำองค์กรแบมสี่วนร่วม (2)ภาพปัจจุบันของการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับหอ้งเรียน โดยรวมอยู่ในระดับปนากลาง และสภาพที่พึงประสงค์ในการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึษาระดับห้องเรียน โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยดัชนีความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการรบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน คอื 0.55 (PNImodified= 0.55) (3) รูปแบบการพัฒนาการบริหาจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการและเหตุผล 2)3) วัตถปรุตศึกษา 4) วิธีการดำเนินงานของรูปแบ 5) การวัดแยประเมินผลโดยรูปแบมีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีความเป็นไปด้ของรูปแบบโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดและมีควาเป็นประโยชน์ของรูปบบโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และ (4) ผการทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศกษาพบว่า 1) ผลการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา หลังการทดลองอยู่ในระดับมากที่สุด สูงกว่าก่อนการทดลอง โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้เด็กเด็กเE43↩ชรูปแบรูแปบบารพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนการทดลองและ 3)ความพึงพอใจี่มที่ีต่อรนปแบารพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาโดยรวมอยู่ใระดับมากที่สุผล:ผณภาพและมาตรฐานการศ↩ึกษา ที่พัฒนาขึ้นมีงอค์ประกอบและวิธีการดำเนินการเพือพัฒนาการณภาพและมาตรฐานการศ↩ึกษา ที่พัฒนาขึ้นมีงอค์ประกอบและวิธีการดำเนินการเพือพัฒนาการณภาพและมาตรฐานการศ↩ึกษาที่เหาะสมชัดเจน ส่งผลให้ครูและบุคลากรฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ีความพร้อมในารดำเนินกจกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
{"title":"รูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาระดับห้องเรียนโรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น","authors":"วัชระ คงแสนคำ","doi":"10.60027/iarj.2024.276197","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276197","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การวิจัยรูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น เพื่อนำมาใช้ในพัฒนาและส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน พร้อมการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ และมีมาตรฐานการจัดการศึกษา ระดับห้องเรียน เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนมากที่สุด มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหา สาเหตุของปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนแวงใหญ่ 2) ศึกษาความต้องการจำเป็นของการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม 3) พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหญ่ และ 4) ศึกษาผลการทดลองใช้รูปแบบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยปฏิบัติการ (Operations Research) ประชากร ได้แก่ ครู จำนวน 41 คน และนักเรียน จำนวน 603 คน โรงเรียนแวงใหญ่วิทยาคม ปีการศึกษา 2561-2563 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบบันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2) แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ 3) แบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับการบริหารจัดการ 4) แบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบ 5) คู่มือการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน 6) แบบประเมินผลการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และ 7) แบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน\u0000ผลการวิจัย: (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนต่ำ โดยแนวทางแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ประกอบด้วยการส่งเสริมด้านการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ด้านการพัฒนาครูและบุคลากร ด้านการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และด้านการบริหารจัดการและการนำองค์กรแบบมีส่วนร่วม (2) สภาพปัจจุบันของการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และสภาพที่พึงประสงค์ในการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยดัชนีความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ระดับห้องเรียน คือ 0.55 (PNImodified= 0.55) (3) รูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการและเหตุผล 2) วัตถุประสงค์ 3) องค์ประกอบการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 4) วิธีการดำเนินงานของรูปแบบ 5) การวัดและประเมินผล โดยรูปแบบมีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีความเป็นไปได้ของรูปแบบโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และมีความเป็นประโยชน์ของรูปแบบโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และ (4) ผลการทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา พบว่า 1) ผลการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา หลังการทดลองอยู่ในระดับมากที่สุด สูงกว่าก่อนการทดลอง โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ พบว่าหลังการทดลองใช้รูปแบบรูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนการทดลอง และ 3) ความพึงพอใจที่มีต่อรูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด\u0000สรุปผล: ผลการวิจัยสรุปได้ว่า รูปแบบการพัฒนาการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ที่พัฒนาขึ้นมีองค์ประกอบและวิธีการดำเนินการเพื่อพัฒนาการบร","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"30 5","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-02","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141685493","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย
Pub Date : 2024-07-02 DOI: 10.60027/iarj.2024.276694
วรินทร แสงแดง, เพ็ญศรี แสวงเจริญ, อรพรรณ บุตรกตัญญู
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การเตรียมความพร้อมของเด็กปฐมวัยคือการพัฒนา และส่งเสริมให้เด็กได้ฝึกทักษะชีวิตที่จำเป็น ให้เด็กสามารถจัดการกับความต้องการ และสิ่งท้าทายต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะชีวิตยังรวมถึงความสามารถในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ด้วย การเสริมสร้างทักษะชีวิตให้กับเด็กปฐมวัยจึงควรได้รับการปลูกฝังและสร้างเสริมตั้งแต่เด็ก การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้เป็นเด็กปฐมวัย ชาย - หญิง อายุ 4 – 5 ปี ที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (ปฐมวัย) จังหวัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วยแผน การจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย และแบบประเมินทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ t-test (dependent sample) และการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัย: ผลการศึกษาพบว่าเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน มีคะแนนเฉลี่ย ทักษะชีวิตหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง โดยก่อนการทดลองมีคะแนนเฉลี่ย 10.53 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 4.81 และหลังการทดลองมีคะแนนเฉลี่ย 25.13 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.04 คะแนนเฉลี่ยทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัยหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการประเมินรายด้าน คือ ด้านการคิดวิเคราะห์ ด้านการตัดสินใจ ด้านการแก้ปัญหา และด้านการสื่อสาร พบว่าคะแนนเฉลี่ยระดับทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัยก่อนการทดลองส่วนใหญ่อยู่ในระดับควรพัฒนา คิดเป็นร้อยละ 80.00 รองลงมา คือ มีทักษะชีวิตระดับพอใช้ คิดเป็นร้อยละ 20.00 และหลังการทดลองทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัยส่วนใหญ่ อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 80.00 รองลงมา คือ มีทักษะชีวิตระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 13.33 และระดับดี คิดเป็นร้อยละ 6.67 ตามลำดับ คะแนนเฉลี่ยระดับทักษะชีวิตหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้ง 4 ด้าน ซึ่งจากผลการศึกษาในครั้งนี้มีข้อเสนอแนะ ดังต่อไปนี้ 1) ผู้บริหารควรส่งเสริมให้ มีการจัดบรรยากาศในโรงเรียนที่เอื้อต่อการพัฒนาทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย 2) ครูหรือบุคลากรที่เกี่ยวข้อง จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง ทั้งในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และ ในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และ 3) โรงเรียนจัดโครงการให้ความรู้ผู้ปกครองเกี่ยวกับการฝึกทักษะชีวิต ให้กับเด็กปฐมวัยอย่างสม่ำเสมอเมื่ออยู่ที่บ้านสรุปผล: ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าการใช้การจัดการเรียนรู้ตามปรากฏการณ์ในวัยเด็กช่วยพัฒนาทักษะชีวิตได้อย่างมาก สิ่งนี้แสดงให้เห็นได้จากคะแนนเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหลังการทดลองในทุกด้านที่ได้รับการประเมิน ขอแนะนำให้สร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่สนับสนุนในโรงเรียน กิจกรรมสร้างทักษะชีวิตอย่างต่อเนื่อง และจัดโปรแกรมการศึกษาสำหรับผู้ปกครองเกี่ยวกับการฝึกทักษะชีวิตในวัยเด็กที่บ้านเป็นประจำ
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:การเตรียมความพร้อมของเด็กปฐมวัยืคอการพัฒนา และส่งเสริมให้เด็กได้ฝึกทักษชีวิตที่จำเป็น ให้เด็กสามารถจัดากรับความต้องการและสิ่งท้าทายต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะชีวิยตังรวมถ↩ึงความสามารถในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ยวการเสิมสร้างทักษะชีวิตให้กับเด็กปฐมวัยจึงควรได้รับการปลูกอยการศ ึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเเปรียบเทียบทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัยก่อนและหางการรัยจันี้ารนี้ารนี้ารนี้ารนี้ารนี้ารนี้ารนี้ารนี้ารนี้าวิจัย:กลุ่มตัวอย่างในากรศึกษาครั้งีน้เป็นเด็กปฐมวัย ชาย-หายุ 4 - 5 ปี ที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566สาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (ปฐมวัย) จังหวัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 15 คน เครื่ออืงมอที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วยแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย และแบบประเมินทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ t-检验(因变量样本):ผลากรศึษาพบว่าเด็ปกฐมวัยที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน มีคะแนเฉลี่ย ทัษกะชีวิตหลังการทดลองสูงกว่ากอนการทดลอง โดยก่อนการทดลองมีคะแนเฉลี่ย 10.53 ส่วนเบี่ยงเมนาตรฐาน 4.81 และหังการทดลงอมีคะแนเฉลี่ย 25.13 ส่วนเบี่ยงเมนาตรฐาน 3.04 เด็กปฐมวัยหลังการจัดการเรียนรู้โดยใชปรากรฏการณ์เป็นฐานสูงขึ้นอย่างมีนยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการประเมินรายด้าน คือ ด้านการคิดวิเคราะห์ ด้านการตัดสินใจ ด้านการแก้ปัญหา และด้านการสื่อสาร พบว่าคะแนนเฉลี่ยระดับทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัยก่อนการทดลองส่วนใหญ่อยู่ในระดับควรพัฒนา คิดเป็นร้อยละ 80.00 รองลงมา คือ มีทักษะชีวิตระดับพอใช คิดเป็นร้อยละ 20.00 แลงการทดลองทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัยส่วนใหญ่ อยู่ในระดับดีมากคิเดป็นร้อยละ 80.00 รองลงมาคือ มีทักษะชีวิตระดับปนากลาง คิดเป็นร้อยละ 13.33 แบดียน 6.67 ตามลดำับ คะแนเฉลี่ยระดับทักษะชีวิตหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้ง 4 ด้าน ซึ่งจากผลการศึกษาในครั้งนี้มีข้อเสนอแนะ ดังต่อไปนี้ 1) ผู้บริหารควรส่งเสริมให้ มีการจัดบรรยากาศในโรงเรียนที่เอื้อต่อการพัฒนาทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย 2) ครูหรือบุคลากรที่เกี่ยวข้องจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะชีวิขตองเด็กปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง ทั้งในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และ ในการปฏิบัติกจวัตรประจำวันและ 3) โรงเรียนจัดโครงการให้ความรู้ผู้กปครองเกี่ยวกับการฝึกทัษะชีวิ ตให้กับเด็กปฐมวัยอย่างสม่ำเสอมเมื่อยออยู่ที่บ้านสรุปผล:ผลการศึกษาชี้ใหารจัดการเรียนรู้ตามปรากฏการณ์ในวัยเด็ชก่วยพัฒนาทักษะชีวิชติได้อย่างมากสิ่งนี้แสดงใยสำคัญทางสถจิหางกรทดอในทุด้านที่ยอในทุด้ารับกรประเมินขอแนะนำให้สร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่สนับสนุนในโรงเรียน กิจกรรมสร้างทักษะชีวิตอย่างต่อเนื่อง และจัดโปรแกรมการศึกษาสำหรับผู้ปกครองเกี่ยวกับการฝึกทักษะชีวิตในวัยเด็กที่บ้านเป็นประจำ
{"title":"ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย","authors":"วรินทร แสงแดง, เพ็ญศรี แสวงเจริญ, อรพรรณ บุตรกตัญญู","doi":"10.60027/iarj.2024.276694","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276694","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การเตรียมความพร้อมของเด็กปฐมวัยคือการพัฒนา และส่งเสริมให้เด็กได้ฝึกทักษะชีวิตที่จำเป็น ให้เด็กสามารถจัดการกับความต้องการ และสิ่งท้าทายต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะชีวิตยังรวมถึงความสามารถในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ด้วย การเสริมสร้างทักษะชีวิตให้กับเด็กปฐมวัยจึงควรได้รับการปลูกฝังและสร้างเสริมตั้งแต่เด็ก การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้เป็นเด็กปฐมวัย ชาย - หญิง อายุ 4 – 5 ปี ที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (ปฐมวัย) จังหวัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วยแผน การจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย และแบบประเมินทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ t-test (dependent sample) และการวิเคราะห์เนื้อหา\u0000ผลการวิจัย: ผลการศึกษาพบว่าเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน มีคะแนนเฉลี่ย ทักษะชีวิตหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง โดยก่อนการทดลองมีคะแนนเฉลี่ย 10.53 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 4.81 และหลังการทดลองมีคะแนนเฉลี่ย 25.13 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.04 คะแนนเฉลี่ยทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัยหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการประเมินรายด้าน คือ ด้านการคิดวิเคราะห์ ด้านการตัดสินใจ ด้านการแก้ปัญหา และด้านการสื่อสาร พบว่าคะแนนเฉลี่ยระดับทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัยก่อนการทดลองส่วนใหญ่อยู่ในระดับควรพัฒนา คิดเป็นร้อยละ 80.00 รองลงมา คือ มีทักษะชีวิตระดับพอใช้ คิดเป็นร้อยละ 20.00 และหลังการทดลองทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัยส่วนใหญ่ อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 80.00 รองลงมา คือ มีทักษะชีวิตระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 13.33 และระดับดี คิดเป็นร้อยละ 6.67 ตามลำดับ คะแนนเฉลี่ยระดับทักษะชีวิตหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้ง 4 ด้าน ซึ่งจากผลการศึกษาในครั้งนี้มีข้อเสนอแนะ ดังต่อไปนี้ 1) ผู้บริหารควรส่งเสริมให้ มีการจัดบรรยากาศในโรงเรียนที่เอื้อต่อการพัฒนาทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัย 2) ครูหรือบุคลากรที่เกี่ยวข้อง จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะชีวิตของเด็กปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง ทั้งในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และ ในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และ 3) โรงเรียนจัดโครงการให้ความรู้ผู้ปกครองเกี่ยวกับการฝึกทักษะชีวิต ให้กับเด็กปฐมวัยอย่างสม่ำเสมอเมื่ออยู่ที่บ้าน\u0000สรุปผล: ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าการใช้การจัดการเรียนรู้ตามปรากฏการณ์ในวัยเด็กช่วยพัฒนาทักษะชีวิตได้อย่างมาก สิ่งนี้แสดงให้เห็นได้จากคะแนนเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหลังการทดลองในทุกด้านที่ได้รับการประเมิน ขอแนะนำให้สร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่สนับสนุนในโรงเรียน กิจกรรมสร้างทักษะชีวิตอย่างต่อเนื่อง และจัดโปรแกรมการศึกษาสำหรับผู้ปกครองเกี่ยวกับการฝึกทักษะชีวิตในวัยเด็กที่บ้านเป็นประจำ","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"24 12","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-02","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141685476","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง กฎหมายแรงงาน ของนักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 ระหว่างวิธีการสอนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนกับวิธีการสอนแบบบรรยาย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง กฎหมายแรงงาน ของนักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 ระหว่างวิธีการสอนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนกับวิธีการสอนแบบบรรยาย
Pub Date : 2024-07-02 DOI: 10.60027/iarj.2024.276597
ชลิดา แสนวิเศษ
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในเรื่องกฎหมายแรงงานเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นสำหรับผู้เรียนที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย การนำกิจกรรมการเรียนการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อนมาใช้ในการเรียนการสอน จะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาและส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นได้ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง กฎหมายแรงงาน ของนักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 ระหว่างวิธีการสอนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนกับวิธีการสอนแบบบรรยาย และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 หลังการใช้วิธีการสอนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง แบบแผนการวิจัยแบบสองกลุ่มมีการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ได้แก่ นักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2/2566 รายวิชา รป 2208304 การจัดการแรงงานสัมพันธ์ จำนวน 106 คน 2 ห้องเรียนโดยกำหนดให้ห้องเรียนที่ 1 เป็นกลุ่มทดลอง และกำหนดให้ห้องเรียนที่ 2 เป็นกลุ่มควบคุม เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย แผนการสอนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน แผนการสอนแบบบรรยาย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่า t แบบ Independentผลการวิจัย: 1) นักศึกษาที่ได้รับการสอนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนกับนักศึกษาที่ได้รับการสอนแบบบรรยายคะแนนหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 หลังการใช้กิจกรรมแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนโดยรวมมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุดสรุปผล: จากผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าการจัดกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนด้วยรูปแบบ (Classwide-peer Tutoring) โดยการการจับคู่ (One-to-One Tutoring) ช่วยให้นักศึกษาพัฒนาการเรียนและส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นอีกทั้งจากผลการสอบถามพึงพอใจนักศึกษามีระดับความพึงพอใจระดับมากที่สุดในทุกด้าน
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในเรื่องกฎหมายแรงานเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นสำหรับผู้เรียนที่เกี่ยวขอ้งกับกฎหมาย การนำกจิกรรมการเรียนการสอนแบบเพื่อนช่วยเพือนมาใช้ในการเรียนการสอนจะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจเนือหาและส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึนได้ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรือง กฎหมายแรงงาน ของนักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 ระห่วางวิธีการสอนแบบลุ่มเพื่อนช่วยเพือนกับวิธีการสอนแบบรยายและเพื่ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาสาขวิชา รัฐประศาสนศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 หลังการใช้วิธีการสอนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนระเบียบวิธีการวิจัย:การวัยนี้เป็นการวจัยกึ่งทดลอง แบแบผนการวจัยแบสองกลุ่มมีการทดสอบก่อน แมตัวอย่างที่ใช้ได้แก่นักศึษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2/2566 รายวิชา รป 2208304 การจัดการแรงานสัมพันธ์ จำนวน 106 คน 2 ห้องเรียนโดยกำหนให้องเรียนที่ 1 เป็นกลุ่มทดลอง2 เป็นกลุ่มควบคุม เครืองมืทีใช้ประกอบด้วย แผนการสอนแบบกลุ่มเพือนช่วยเพือน แผนการสอนแบบรรยายแบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่า t แบบ Independentผลการวิจัย:1) นักศึษาที่ได้รับารสอนแบกลุ่มเพ่อือนเชวยเพอือนกับนักศึษาที่ได้รับารสอนแบบรรยายคะแนหางเรียนแตตางกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดบั .05 2) นักศึษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสต์ ชั้นปีที่ 3 หาลังการใช้ิกจรมแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนโดยรวมีคะแนเฉลี่ยอยู่ในระดับมกที่สุดสรุปผล:จากผลารวิจัยนี้แสดงใหาการจัดมแบเพื่อนช่วยเพื่อนด้วยรูปแบบ (Classwide-peer Tutoring) โดยการการจับคู่ (One-to-一对一辅导) ช่วยใหนักศึกษาพัฒนากรเียนและสางผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงึข้ผลากรสมฤทธิ์ทางการเรียนสมศทธิ์ทางการเรียนสูงึข้ผลากรสมถามพึงพอใจันกศึกษารมฤทธิ์ทางกอใจระดบัมากที่สุดในทุกด้าน
{"title":"การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง กฎหมายแรงงาน ของนักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 ระหว่างวิธีการสอนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนกับวิธีการสอนแบบบรรยาย","authors":"ชลิดา แสนวิเศษ","doi":"10.60027/iarj.2024.276597","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276597","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในเรื่องกฎหมายแรงงานเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นสำหรับผู้เรียนที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย การนำกิจกรรมการเรียนการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อนมาใช้ในการเรียนการสอน จะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาและส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นได้ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง กฎหมายแรงงาน ของนักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 ระหว่างวิธีการสอนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนกับวิธีการสอนแบบบรรยาย และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 หลังการใช้วิธีการสอนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง แบบแผนการวิจัยแบบสองกลุ่มมีการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ได้แก่ นักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2/2566 รายวิชา รป 2208304 การจัดการแรงงานสัมพันธ์ จำนวน 106 คน 2 ห้องเรียนโดยกำหนดให้ห้องเรียนที่ 1 เป็นกลุ่มทดลอง และกำหนดให้ห้องเรียนที่ 2 เป็นกลุ่มควบคุม เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย แผนการสอนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน แผนการสอนแบบบรรยาย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่า t แบบ Independent\u0000ผลการวิจัย: 1) นักศึกษาที่ได้รับการสอนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนกับนักศึกษาที่ได้รับการสอนแบบบรรยายคะแนนหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักศึกษาสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 หลังการใช้กิจกรรมแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนโดยรวมมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด\u0000สรุปผล: จากผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าการจัดกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนด้วยรูปแบบ (Classwide-peer Tutoring) โดยการการจับคู่ (One-to-One Tutoring) ช่วยให้นักศึกษาพัฒนาการเรียนและส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นอีกทั้งจากผลการสอบถามพึงพอใจนักศึกษามีระดับความพึงพอใจระดับมากที่สุดในทุกด้าน","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"47 9","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-02","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141688020","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
期刊
Interdisciplinary Academic and Research Journal
全部 Acc. Chem. Res. ACS Applied Bio Materials ACS Appl. Electron. Mater. ACS Appl. Energy Mater. ACS Appl. Mater. Interfaces ACS Appl. Nano Mater. ACS Appl. Polym. Mater. ACS BIOMATER-SCI ENG ACS Catal. ACS Cent. Sci. ACS Chem. Biol. ACS Chemical Health & Safety ACS Chem. Neurosci. ACS Comb. Sci. ACS Earth Space Chem. ACS Energy Lett. ACS Infect. Dis. ACS Macro Lett. ACS Mater. Lett. ACS Med. Chem. Lett. ACS Nano ACS Omega ACS Photonics ACS Sens. ACS Sustainable Chem. Eng. ACS Synth. Biol. Anal. Chem. BIOCHEMISTRY-US Bioconjugate Chem. BIOMACROMOLECULES Chem. Res. Toxicol. Chem. Rev. Chem. Mater. CRYST GROWTH DES ENERG FUEL Environ. Sci. Technol. Environ. Sci. Technol. Lett. Eur. J. Inorg. Chem. IND ENG CHEM RES Inorg. Chem. J. Agric. Food. Chem. J. Chem. Eng. Data J. Chem. Educ. J. Chem. Inf. Model. J. Chem. Theory Comput. J. Med. Chem. J. Nat. Prod. J PROTEOME RES J. Am. Chem. Soc. LANGMUIR MACROMOLECULES Mol. Pharmaceutics Nano Lett. Org. Lett. ORG PROCESS RES DEV ORGANOMETALLICS J. Org. Chem. J. Phys. Chem. J. Phys. Chem. A J. Phys. Chem. B J. Phys. Chem. C J. Phys. Chem. Lett. Analyst Anal. Methods Biomater. Sci. Catal. Sci. Technol. Chem. Commun. Chem. Soc. Rev. CHEM EDUC RES PRACT CRYSTENGCOMM Dalton Trans. Energy Environ. Sci. ENVIRON SCI-NANO ENVIRON SCI-PROC IMP ENVIRON SCI-WAT RES Faraday Discuss. Food Funct. Green Chem. Inorg. Chem. Front. Integr. Biol. J. Anal. At. Spectrom. J. Mater. Chem. A J. Mater. Chem. B J. Mater. Chem. C Lab Chip Mater. Chem. Front. Mater. Horiz. MEDCHEMCOMM Metallomics Mol. Biosyst. Mol. Syst. Des. Eng. Nanoscale Nanoscale Horiz. Nat. Prod. Rep. New J. Chem. Org. Biomol. Chem. Org. Chem. Front. PHOTOCH PHOTOBIO SCI PCCP Polym. Chem.
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
0
微信
客服QQ
Book学术公众号 扫码关注我们
反馈
×
意见反馈
请填写您的意见或建议
请填写您的手机或邮箱
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
现在去查看 取消
×
提示
确定
Book学术官方微信
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术
文献互助 智能选刊 最新文献 互助须知 联系我们:info@booksci.cn
Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。
Copyright © 2023 Book学术 All rights reserved.
ghs 京公网安备 11010802042870号 京ICP备2023020795号-1