首页 > 最新文献

Interdisciplinary Academic and Research Journal最新文献

英文 中文
ภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการเรียนร่วม ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการเรียนร่วม ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร
Pub Date : 2024-07-24 DOI: 10.60027/iarj.2024.276825
ศศิกาญจน์ อ่าววิจิตรกุล, ธีระภาพ เพชรมาลัยกุล
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ภาวะผู้นำวิชาการในศตวรรษที่ 21 เป็นทักษะ พฤติกรรม แนวทางปฏิบัติที่สำคัญต่อการพัฒนาการบริหารการจัดการเรียนในสถานศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการบริหารจัดการเรียนร่วมของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ เมื่อผู้บริหารมีภาวะผู้นำวิชาการในศตวรรษที่ 21 จะส่งผลให้สามารถบริหารจัดการเรียนร่วมได้อย่างดี เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ขององค์กร การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาระดับการบริหารจัดการเรียนร่วม ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระห่างภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 และการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 4) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครระเบียบวิธีการวิจัย: ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ ครูการศึกษาพิเศษและครูที่เกี่ยวข้องในสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 158 โรงเรียน ผู้วิจัยเลือกใช้ตารางสำเร็จรูปของ (Krejcie & Morgan, 1970) จำนวน 186 คน ค่าเชื่อมั่นของเครื่องมือเท่ากับ .837 สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันและการถดถอยพหุคูณแบบวิธีการนำตัวแปรเข้าทั้งหมดผลการวิจัย: (1) ระดับภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 และระดับการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับมาก (2) ภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21ของผู้บริหารมีความสัมพันธ์กับการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับสถิติที่ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r)= .856* แสดงว่าตัวแปรทั้งสองตัวมีความสัมพันธ์ในระดับสูง (3) โดยภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 พยากรณ์การบริหารจัดการเรียนร่วม ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ได้ร้อยละ 73.5สรุปผล : ผลวิจัยสรุปว่า ภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 และระดับการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือด้านพัฒนาบุคลากรและด้านนักเรียน ภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21ของผู้บริหารมีความสัมพันธ์กับการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับสถิติที่ .01 ซึ่งชี้ว่าภาวะผู้นำวิชาการและการบริหารจัดการเรียนร่วมมีความสัมพันธ์กัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการพัฒนาบุคลากรและด้านเครื่องมือมีความสัมพันธ์มากที่สุด และภาวะผู้นำวิชาการในศตวรรษที่ 21 สามารถพยากรณ์การบริหารจัดการเรียนร่วมได้ โดยด้านการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้มีอำนาจพยากรณ์สูงสุด
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:ภาวะผู้นำวิชาการในศตวรรษที่ 21 เป็นทักษะ พฤติกรรม แนวทางปฏิบัติที่สำคัญต่อการพัฒนาการบริหารการจัดการเรียนในสถานศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการบริหารจัดการเรียนร่วมของเด็กที่มีความต้องการพิเศษเมื่อผู้บริหารมีภาวะผู้นำวิชาการในศตวรรษที่ 21 จะส่งผลให้สามารถบริหารจัดการเรียนร่วมได้อย่างดี เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ขององค์กร การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)เพือศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 2) เพือศึกษาระดับการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 3) เพอือศึกษาความสัมพันธ์ระหา่งภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตรรษที่21 และการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 4) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครระเบียบวิธีการวิจัย:ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ ครูการศึกษาพิเศษและครูที่เเกี่ยวขอ้งใช้ในสถานศึกษา สังกัดารุงเทพมหานคร จำนวน 158 โรงเรียน ผู้วิจัยเลอืกใช้ตารางสำเร็จรูของ (Krejcie & Morgan、1970) จำนวน 186 คน ค่าเชื่อมั่นของเครื่องมือเท่ากับ .837 สถิติที่ใช้ในการวจัยได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์หสัมพันธ์แบบเพียร์สันและการถดถอยพหุคูณแบบวิธีการนำตัวแปรเข้าทั้งหมดผลการวจัย:(1) ระดับภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรษที่ 21 และระดับการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับมาก (2)ภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรษที่ 21ของผู้บริหารมีความสัมพันธ์กับารบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับสถิติที่ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r)= .856* แสดงว่าตัวแปรทั้งสองตัวมีความสัมพันธ์ในระดับสูง (3) โดยภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรษที่ 21 พยากรณ์การบริหารจัดการเรียนร่วม ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ไดร้อยละ 73.5สรุปผล :ผลวิจัยสรุปว่า ภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 และระดับการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือด้านพัฒนาบุคลากรและด้านนักเรียนภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรษที่ 21ของผู้บริหารมีความสัมพันธ์กับารบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับสถิติที่ .01 ึซ่งชี้ว่าภาวะผู้นำวิชาการและการบิหาจัดการเรียนร่วมีความสัมพันธ์กัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการพัฒนาบุคลากรและด้านเครอือมีความสัมพันธ์มากที่สุดและภาวะผู้นำวิชาการในศตวรษที่ 21 สามารถพยากรณ์การบริหาจรัดการเรียนร่วมได้โดยด้านการสร้างเครอขา่ยการเรียนรู้มีอำนาจพยากรณ์สูงสุด
{"title":"ภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการเรียนร่วม ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร","authors":"ศศิกาญจน์ อ่าววิจิตรกุล, ธีระภาพ เพชรมาลัยกุล","doi":"10.60027/iarj.2024.276825","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276825","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ภาวะผู้นำวิชาการในศตวรรษที่ 21 เป็นทักษะ พฤติกรรม แนวทางปฏิบัติที่สำคัญต่อการพัฒนาการบริหารการจัดการเรียนในสถานศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการบริหารจัดการเรียนร่วมของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ เมื่อผู้บริหารมีภาวะผู้นำวิชาการในศตวรรษที่ 21 จะส่งผลให้สามารถบริหารจัดการเรียนร่วมได้อย่างดี เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ขององค์กร การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาระดับการบริหารจัดการเรียนร่วม ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระห่างภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 และการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 4) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ ครูการศึกษาพิเศษและครูที่เกี่ยวข้องในสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 158 โรงเรียน ผู้วิจัยเลือกใช้ตารางสำเร็จรูปของ (Krejcie & Morgan, 1970) จำนวน 186 คน ค่าเชื่อมั่นของเครื่องมือเท่ากับ .837 สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันและการถดถอยพหุคูณแบบวิธีการนำตัวแปรเข้าทั้งหมด\u0000ผลการวิจัย: (1) ระดับภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 และระดับการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับมาก (2) ภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21ของผู้บริหารมีความสัมพันธ์กับการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับสถิติที่ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r)= .856* แสดงว่าตัวแปรทั้งสองตัวมีความสัมพันธ์ในระดับสูง (3) โดยภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 พยากรณ์การบริหารจัดการเรียนร่วม ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ได้ร้อยละ 73.5\u0000สรุปผล : ผลวิจัยสรุปว่า ภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21 และระดับการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือด้านพัฒนาบุคลากรและด้านนักเรียน ภาวะผู้นำเชิงวิชาการในศตวรรษที่ 21ของผู้บริหารมีความสัมพันธ์กับการบริหารจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับสถิติที่ .01 ซึ่งชี้ว่าภาวะผู้นำวิชาการและการบริหารจัดการเรียนร่วมมีความสัมพันธ์กัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการพัฒนาบุคลากรและด้านเครื่องมือมีความสัมพันธ์มากที่สุด และภาวะผู้นำวิชาการในศตวรรษที่ 21 สามารถพยากรณ์การบริหารจัดการเรียนร่วมได้ โดยด้านการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้มีอำนาจพยากรณ์สูงสุด","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"33 11","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-24","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141808570","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
Development of Learning Media Applications using a Smartphone 使用智能手机开发学习媒体应用程序
Pub Date : 2024-07-24 DOI: 10.60027/iarj.2024.276522
Sarawut Kedthawon, Suriyan Saengngam, Pornthip Kerdthaworn
Background and objectives: Learning management that is consistent with learning in the 21st century requires designing teaching methods so that teachers, the teaching process, and the learning process are related. The use of smartphones is a teaching medium and packages of programs are packaged into smartphone applications. It is another method that is widely used today. The objectives of this research are: 1) to develop a learning media application Using a smartphone 2) to evaluate the quality of learning media applications using the developed smartphone 3) to assess user satisfaction with the learning media application Using the developed smartphone.Research methods: The tools used are 1) learning media applications. using a smartphone in this research, the researcher has a 5-step process which consists of the Analysis stage (Analysis), program design stage (Design), development stage (Development), experiment stage (Implementation), evaluation stage (Evaluation) 2) Quality assessment form for learning media applications on devices. Move The evaluation of the application was divided into 2 aspects: technical quality and content of the application by 3 experts and 3) a user satisfaction questionnaire of 60 people. The sample group was General science students Faculty of Education and Human Development Statistics used mean and standard deviation.Research results: The research results showed that 1) learning media applications were obtained. using a smartphone 2) learning media applications using a smartphone technical quality and content of the application Overall it is at a high level. And 3) users are satisfied with the learning media application. using a smartphone Overall it is at a high level.Conclusion: Development of learning media applications using a smartphone It is the development of teaching media in the form of a smartphone application. Having content to understand the work can help to have more skills in learning science. Application quality analysis results Evaluated by 3 experts it was found that the quality assessment results were at a high level. Results of satisfaction assessment of learning media applications using a smartphone Overall, it is at a high level.
背景和目标:与 21 世纪学习相适应的学习管理要求设计教学方法,使教师、教学过程和学习过程相互关联。使用智能手机作为教学媒介,将程序打包成智能手机应用程序。这是当今广泛使用的另一种方法。本研究的目标是1) 使用智能手机开发学习媒体应用程序 2) 使用开发的智能手机评估学习媒体应用程序的质量 3) 使用开发的智能手机评估用户对学习媒体应用程序的满意度:使用的工具有:1)使用智能手机的学习媒体应用程序。在这项研究中,研究人员采用了 5 步流程,包括分析阶段(分析)、程序设计阶段(设计)、开发阶段(开发)、实验阶段(实施)、评估阶段(评估)2)设备上学习媒体应用程序的质量评估表。移动 对应用程序的评估分为两个方面:由 3 位专家对应用程序的技术质量和内容进行评估;3)对 60 人进行用户满意度问卷调查。样本组为教育与人类发展学院的理科学生,统计使用了平均值和标准差:研究结果表明:1)使用智能手机获得了学习媒体应用程序;2)使用智能手机的学习媒体应用程序的技术质量和内容总体上处于较高水平。结论:使用智能手机开发学习媒体应用程序 它是以智能手机应用程序的形式开发的教学媒体。有了了解作品的内容,有助于掌握更多学习科学的技能。应用质量分析结果 经 3 位专家评估,发现质量评估结果处于较高水平。使用智能手机学习媒体应用程序的满意度评估结果 总体而言,处于较高水平。
{"title":"Development of Learning Media Applications using a Smartphone","authors":"Sarawut Kedthawon, Suriyan Saengngam, Pornthip Kerdthaworn","doi":"10.60027/iarj.2024.276522","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276522","url":null,"abstract":"Background and objectives: Learning management that is consistent with learning in the 21st century requires designing teaching methods so that teachers, the teaching process, and the learning process are related. The use of smartphones is a teaching medium and packages of programs are packaged into smartphone applications. It is another method that is widely used today. The objectives of this research are: 1) to develop a learning media application Using a smartphone 2) to evaluate the quality of learning media applications using the developed smartphone 3) to assess user satisfaction with the learning media application Using the developed smartphone.\u0000Research methods: The tools used are 1) learning media applications. using a smartphone in this research, the researcher has a 5-step process which consists of the Analysis stage (Analysis), program design stage (Design), development stage (Development), experiment stage (Implementation), evaluation stage (Evaluation) 2) Quality assessment form for learning media applications on devices. Move The evaluation of the application was divided into 2 aspects: technical quality and content of the application by 3 experts and 3) a user satisfaction questionnaire of 60 people. The sample group was General science students Faculty of Education and Human Development Statistics used mean and standard deviation.\u0000Research results: The research results showed that 1) learning media applications were obtained. using a smartphone 2) learning media applications using a smartphone technical quality and content of the application Overall it is at a high level. And 3) users are satisfied with the learning media application. using a smartphone Overall it is at a high level.\u0000Conclusion: Development of learning media applications using a smartphone It is the development of teaching media in the form of a smartphone application. Having content to understand the work can help to have more skills in learning science. Application quality analysis results Evaluated by 3 experts it was found that the quality assessment results were at a high level. Results of satisfaction assessment of learning media applications using a smartphone Overall, it is at a high level.","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"67 17","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-24","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141806804","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
รูปแบบเครือข่ายความร่วมมือด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนากระบวนการทำงานของภาคีเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จังหวัดลำปาง รูปแบบเครือข่ายความร่วมมือด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนากระบวนการทำงานของภาคีเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จังหวัดลำปาง
Pub Date : 2024-07-24 DOI: 10.60027/iarj.2024.276988
กนิษฐ์กานต์ ปันแก้ว, กิตติยา ปลอดแก้ว, ปริตต์ สายสี, ธิดารัตน์ ผมงาม
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาฐานข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จังหวัดลำปาง 2) สร้างและหาประสิทธิภาพของรูปแบบเครือข่ายความร่วมมือด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม และ 3) เปรียบกระบวนการทำงานของภาคีเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมก่อนและหลังการใช้รูปแบบ ระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้ที่มีบทบาทในการต่อยอดการพัฒนาบนฐานทุนทางวัฒนธรรม จำนวน 60 คน ประกอบด้วย กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ชุมชน ครู และตัวแทนจากองค์การบริหารส่วนตำบล ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ เครื่องมือที่ใช้ คือ รูปแบบเครือข่ายความร่วมมือฯ แบบสอบวัดความรู้ และแบบประเมินกระบวนการทำงานของภาคีเครือข่าย การดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การพัฒนาฐานข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจังหวัดลำปาง ระยะที่ 2 การสร้างและหาประสิทธิภาพของรูปแบบเครือข่ายความร่วมมือฯ ระยะที่ 3 การเปรียบกระบวนการทำงานของภาคีเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จังหวัดลำปาง ก่อนและหลังการใช้รูปแบบเครือข่ายความร่วมมือฯ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัย: ผลการวิจัยพบว่า 1) ฐานข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม มีองค์ประกอบคือ โครงสร้างของเครือข่าย วัตถุประสงค์ กฎกติกา กิจกรรม และแนวทางในการส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายดำเนินการตามบทบาทอย่างเป็นรูปธรรม รวมทั้งคลิปวีดิโอเพื่อประชาสัมพันธ์เครือข่าย 2) รูปแบบเครือข่ายความร่วมมือด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม มี 4 องค์ประกอบ คือ 2.1) ที่มาของรูปแบบ ประกอบด้วย ความเป็นมา แนวคิด และหลักการ 2.2) กระบวนการของรูปแบบ ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ เนื้อหา กระบวนการจัดการเรียนรู้ บทบาทผู้เข้ารับการอบรม บทบาทวิทยากร ปัจจัยสนับสนุน การวัดและประเมินผล 2.3) ผลการใช้รูปแบบ และ 2.4) การนำรูปแบบไปใช้ ซึ่งรูปแบบมีความเหมาะสมในระดับมากที่สุดและมีประสิทธิภาพ เท่ากับ 84.27/83.81 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด และ 3) กระบวนการทำงานของภาคีเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมหลังการใช้รูปแบบสูงกว่าก่อนการใช้รูปแบบสรุปผล: 1) ฐานข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม มีองค์ประกอบคือ โครงสร้างของเครือข่าย วัตถุประสงค์ กฎกติกา กิจกรรม และแนวทางในการส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายดำเนินการตามบทบาทอย่างเป็นรูปธรรม รวมทั้งคลิปวีดิโอเพื่อประชาสัมพันธ์เครือข่าย 2) รูปแบบเครือข่ายความร่วมมือด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม มี 4 องค์ประกอบ 3) กระบวนการทำงานของภาคีเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมหลังการใช้รูปแบบสูงกว่าก่อนการใช้รูปแบบ
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาฐานข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จังหวัดลำปาง 2) สร้างและหาประสิทธิภาพของรูปแบบเครือข่ายความร่วมมือด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมและ 3) เปรียบกระบวนากรทำงานของภาคีเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมก่อนและหลังการใช้รูปบ ระเบียบวิธีการวิจัย:กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้ที่มีบทบาทในการต่อยอดการพัฒนาบนฐานทุนทางวัฒนธรรม จำนวน 60 คน ประกอบด้วย กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ชุมชน ครู และตัวแทนจากองค์การบริหารส่วนตำบล ที่สนใจเข้าร่วมโครงการเครืองมือที่ใช้ คือ รูปบแบเครือข่ายความร่วมือฯ แบสอบวัดความรู้และแบประเมินกระบวนการทำงานของภาคีเครือข่าย การดำเนินการวจัยแบ่งเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะที่1 การพัฒนาฐานขอมูลแเชิงวัฒนธรรมจังหวัดลำปาง ระยะที่ 2 การสร้างแลาระสิทธิภาพของรูปบแเครือข่ายความร่วมือฯ ระยะที่ 3การเปรียบกระบวนการทำงานของภาคีเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จังหวัดลำปาง ก่อนและหลังการใช้รูปแบบเครือข่ายความร่วมมือฯ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัย:ผลการวิจัยพบว่า 1) ฐานข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม มีองค์ประกอบคือ โครงสร้างของเครือข่าย วัตถุประสงค์ กฎกติกา กิจกรรม และแนวทางในการส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายดำเนินการตามบทบาทอย่างเป็นรูปธรรมรวมทั้งคลิปวีดิโอเพื่อประชาสัมพันธ์เครือข่าย 2) รรูปแบบเครือข่ายความร่วมือด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม มี 4 อ งค์ประกอบ คอื 2.1) กระาของรูปแบ ประกอบด้วย ความเป็นมา แนวคิด แหะลักการ 2.2) กระบวนการของรูปแบบ ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ เนือหา กระบวนการจัดการเรียนรู้บ ทบาทผู้เข้ารับการอบรม บทบาทวิทยากร ปัจัยสนับสนุน การวัดและประเมินผล 2.3) ผลการใชรู้ปแบ และ 2.4) การนำรูปแบใช้ ซึ่งรูปแบมีความเหมาะสมในระดับมากที่สุดและมีประสิทธิภาพ เท่ากับ 84.27/83.81 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด และ 3) กระบวนการทงำานของภาคีเครอืข่ายการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมหลังการใช้รูปแบสูงกว่าก่อนการใช้รูปแบสรุปผล:1) ฐานข้อมูลแหาลงท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม มีองค์ประกอบือ โครงสร้างของเครือข่าย วัตถุประสงค์ กฎกติกา กจิกรรมและแนวทางในการส่งเสริมให้ภาคีเครอืข่ายดเนินการตามบทบาทอย่างเป็นรูปธรรม รวมทั้งคลิปวีดิโอเพื่ปอระชาสัมพันธ์เครอืข่าย2) รูปแบเครือข่ายความร่วมือด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบมีส่วนร่วม มี 4 องค์ประกอบ 3) กระบวนการทำงานของภาคีเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมหลังการใช้รูปแบบสูงกว่ากอนการใช้รปูแบ
{"title":"รูปแบบเครือข่ายความร่วมมือด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนากระบวนการทำงานของภาคีเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จังหวัดลำปาง","authors":"กนิษฐ์กานต์ ปันแก้ว, กิตติยา ปลอดแก้ว, ปริตต์ สายสี, ธิดารัตน์ ผมงาม","doi":"10.60027/iarj.2024.276988","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276988","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาฐานข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จังหวัดลำปาง 2) สร้างและหาประสิทธิภาพของรูปแบบเครือข่ายความร่วมมือด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม และ 3) เปรียบกระบวนการทำงานของภาคีเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมก่อนและหลังการใช้รูปแบบ ระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้ที่มีบทบาทในการต่อยอดการพัฒนาบนฐานทุนทางวัฒนธรรม จำนวน 60 คน ประกอบด้วย กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ชุมชน ครู และตัวแทนจากองค์การบริหารส่วนตำบล ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ เครื่องมือที่ใช้ คือ รูปแบบเครือข่ายความร่วมมือฯ แบบสอบวัดความรู้ และแบบประเมินกระบวนการทำงานของภาคีเครือข่าย การดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การพัฒนาฐานข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจังหวัดลำปาง ระยะที่ 2 การสร้างและหาประสิทธิภาพของรูปแบบเครือข่ายความร่วมมือฯ ระยะที่ 3 การเปรียบกระบวนการทำงานของภาคีเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จังหวัดลำปาง ก่อนและหลังการใช้รูปแบบเครือข่ายความร่วมมือฯ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน\u0000ผลการวิจัย: ผลการวิจัยพบว่า 1) ฐานข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม มีองค์ประกอบคือ โครงสร้างของเครือข่าย วัตถุประสงค์ กฎกติกา กิจกรรม และแนวทางในการส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายดำเนินการตามบทบาทอย่างเป็นรูปธรรม รวมทั้งคลิปวีดิโอเพื่อประชาสัมพันธ์เครือข่าย 2) รูปแบบเครือข่ายความร่วมมือด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม มี 4 องค์ประกอบ คือ 2.1) ที่มาของรูปแบบ ประกอบด้วย ความเป็นมา แนวคิด และหลักการ 2.2) กระบวนการของรูปแบบ ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ เนื้อหา กระบวนการจัดการเรียนรู้ บทบาทผู้เข้ารับการอบรม บทบาทวิทยากร ปัจจัยสนับสนุน การวัดและประเมินผล 2.3) ผลการใช้รูปแบบ และ 2.4) การนำรูปแบบไปใช้ ซึ่งรูปแบบมีความเหมาะสมในระดับมากที่สุดและมีประสิทธิภาพ เท่ากับ 84.27/83.81 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด และ 3) กระบวนการทำงานของภาคีเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมหลังการใช้รูปแบบสูงกว่าก่อนการใช้รูปแบบ\u0000สรุปผล: 1) ฐานข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม มีองค์ประกอบคือ โครงสร้างของเครือข่าย วัตถุประสงค์ กฎกติกา กิจกรรม และแนวทางในการส่งเสริมให้ภาคีเครือข่ายดำเนินการตามบทบาทอย่างเป็นรูปธรรม รวมทั้งคลิปวีดิโอเพื่อประชาสัมพันธ์เครือข่าย 2) รูปแบบเครือข่ายความร่วมมือด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม มี 4 องค์ประกอบ 3) กระบวนการทำงานของภาคีเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมหลังการใช้รูปแบบสูงกว่าก่อนการใช้รูปแบบ","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"31 5","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-24","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141807406","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2
Pub Date : 2024-07-24 DOI: 10.60027/iarj.2024.275508
รหัสดาว ไกรศิริ, ชยากานต์ เรืองสุวรรณ
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์การวิจัย: ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษามีอิทธิพลต่อคุณภาพการสอนของครู และนำมาซึ่งความมีประสิทธิผลในสถานศึกษา ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษามีความสำคัญในการสร้างอิทธิพลหรือการสร้างแรงจูงใจให้ผู้ร่วมงานเชื่อถือยอมรับและศรัทธา ให้เกิดความร่วมมือต่อ การเปลี่ยนแปลงเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาทั้งด้านการบริหารงานวิชาการ โดยเฉพาะด้านการเรียนการสอนของครู ให้ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพนักเรียนให้ได้มาตรฐานการศึกษาบรรลุ ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ดังนั้นการวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 และเพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2ระเบียบวิธีการวิจัย : การวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง 310 คน ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 83 คน และครูผู้สอน จำนวน 227 คน สุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม มีค่าดัชนีความสอดคล้อง 0.80 - 1.00 มีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับบเท่ากับ 0.96 และมีค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.35 - 0.75 สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีการเรียงลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็น ระยะที่ 2 ศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ 9 คน เพื่อศึกษาแนวทาง และ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน เพื่อประเมินแนวทาง เครื่องมือ คือ แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง และแบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทางผลการวิจัย: 1. สภาพปัจจุบันโดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก สภาพที่พึงประสงค์โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และมีค่าดัชนีความต้องการจำเป็นอยู่ระหว่าง 0.30 - 0.34 เรียงลำดับจากมากไปน้อย ดังนี้ 1) ด้านการบริหารจัดการหลักสูตร 2) ด้านการนิเทศและการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 3) ด้านการจัดการเรียนรู้ 4) ด้านการพัฒนาสื่อและแหล่งการเรียนรู้ และ 5) ด้านการวัดประเมินผลและวิจัย 2. แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ประกอบด้วย 24 แนวทาง ดังนี้ 1) ด้านการบริหารจัดการหลักสูตร มี 5 แนวทาง 2) ด้านการนิเทศและการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มี 4 แนวทาง 3) ด้านการจัดการเรียนรู้ มี 4 แนวทาง 4) ด้านการพัฒนาสื่อและแหล่งการเรียนรู้ มี 5 แนวทาง และ 5) ด้านการวัดประเมินผลและวิจัย มี 5 แนวทาง และมีผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้โดยรวมของแนวทางอยู่ในระดับมากที่สุด  สรุปผล: ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาเป็นความสามารถในการนำบุคลากรของสถานศึกษาให้ร่วมมือปฏิบัติงานจนบรรลุเป้าหมายของสถานศึกษา โดยเฉพาะงานด้านวิชาการซึ่งเป็นงานหลักที่สำคัญที่สุดในการบริหารและจัดการศึกษาในสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพ ผู้บริหารสถานศึกษาต้องมีความรู้ความเข้าใจขอบข่ายเนื้อหาและหลักการบริหารงานอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับขอบข่ายงานวิชาการ ด้านหลักสูตรและการบริหารหลักสูตร ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการนิเทศภายในด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา และด้านการประกันคุณภาพการศึกษา
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์การวิจัย:ภาวะผู้นำทางวิชากรของผู้บริหารสถานศึกษามีอิทธิพลต่อคุณภาพการสอนของครู และนำมาซึ่งความมปีระสิทธิผลในสถานศึกษาภาวะผู้นำทางวิชากรของผู้บรองหารสถานศึกษามีความสำคั↪LoE0D↩↪LoE43↩นการสร้างอิท↪LoE18↩พลหอืการสร้างแดงจง↪LoE43↩จ↪LoE43↩ห้ผู้่รวมงานเช่อ↪LoE16↩ือยอมรั↪LoE28↩รัท↪LoE18↩าให้เกิดความร่วมมือต่อ การเปลี่ยนแปลงเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาทั้งด้านการบริหารงานวิชาการ โดยเฉพาะด้านการเรียนการสอนของครู ให้ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพนักเรียนให้ได้มาตรฐานการศึกษาบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งวไ้ ดังนั้นการวจัยครั้งนี้จงึมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพจัปจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้งการจำเป็นภาวะผู้นำทงาวิชาการของผู้บริหารสถานศึษาสังกัดสำนังกานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 และเพื่อศึกษาแนวทางการอฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการอขงผู้บริหารสถานศึษาสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขตร 2ะเบียบวิธีการวิจัย :การวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจุบัน สภาพที่พึงประสงค์แลคะวามต้องการจำเป็นภาวะผู้นำททงงวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มตวัยาง 310 คนศึกษา จำนวน 83 คน และครูผู้สอน จำนวน 227 คน สุ่มตวัอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งช้ันภูมิ เครื่องมือที่ใช้อือแบสอบถาม มีค่าดัชนีความสอดคล้อง 0.80 - 1.00 มีค่าความเช่ือมั่นของบบสอบถามทั้งฉบบับเท่ากับ 0.96 และมีค่าอำนาจำแนกอยู่ระหวาง 0.35 - 0.75 สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมตารฐาน และค่าดชันีการเรียงลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็นระยะที่ 2 ศึกษาแนวาทงการพัฒนาภาวะผู้นทำางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มผู้ให้ขออมูลสำคัญได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ 9 คน เพื่อศึกษาแนวทาง และ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน เพื่อประเมินแนวทาง เครื่องมือ คือ แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง และแบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทางผลการวิจัย:1. สภาพปัจจุบันโดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก สภาพที่พึงประสงค์โดยรวมยู่ในระดับมากที่สุด และมีค่าดัชนีความต้องการจำเป็นอยู่ระหว่าง 0.30 - 0.34 เรียงลำดับจากมากไปน้อย ดังนี้ 1) ด้านการบริหารจัดการหารอกสูตร 2) ด้านการนิเทศและการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา3) ด้านการจัดการเรียนรู้ 4) ด้านการพัฒนาสื่อและแหล่งการเรียนรู้ และ 5) ด้านการวัดประเมินผลและวิจัย 2.แนวาทงการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ประกอบด้วย 24 แนวาทง ดังนี้ 1) ด้านการบริหารจัดการหลักสูตรมี 5 แนวทาง 2) ด้านารนิเทศและการพัฒนาระบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มี 4 แนวทาง 3) ด้านารจัดากรเรียนรู้มี 4 แนวทาง 4) ด้านการพัฒนาสื่อและแหล่งการเรียนรู้ มี 5 แนวทาง และ 5) ด้านการวัดประเมินผลและวิจัย มี 5 แนวทาง และมีผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้โดยรวมของแนวทางอยู่ในระดับมากที่สุด สรุปผล:ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บรองถานศึกษาเป็นความสามารถในการนำบุคลากรของสถานศึกษานศึกษานโดยเฉพาะงานวิชาการซึ่งเป็นานหลักที่สุดในการบรินารศึกษาในศึกษาให้มีรปะสิทธิภาพผู้าศึกษาต้องมีความรู้ควาเข้าใจขอบข่ายเนื้อหาแดมิชนศภายในด้านการวัดและประเมินผลการศึษกา และด้านการประกันคุณภาพการศึษกา
{"title":"แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2","authors":"รหัสดาว ไกรศิริ, ชยากานต์ เรืองสุวรรณ","doi":"10.60027/iarj.2024.275508","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.275508","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์การวิจัย: ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษามีอิทธิพลต่อคุณภาพการสอนของครู และนำมาซึ่งความมีประสิทธิผลในสถานศึกษา ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษามีความสำคัญในการสร้างอิทธิพลหรือการสร้างแรงจูงใจให้ผู้ร่วมงานเชื่อถือยอมรับและศรัทธา ให้เกิดความร่วมมือต่อ การเปลี่ยนแปลงเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาทั้งด้านการบริหารงานวิชาการ โดยเฉพาะด้านการเรียนการสอนของครู ให้ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพนักเรียนให้ได้มาตรฐานการศึกษาบรรลุ ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ดังนั้นการวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 และเพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย : การวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง 310 คน ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 83 คน และครูผู้สอน จำนวน 227 คน สุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม มีค่าดัชนีความสอดคล้อง 0.80 - 1.00 มีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับบเท่ากับ 0.96 และมีค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.35 - 0.75 สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีการเรียงลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็น ระยะที่ 2 ศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ 9 คน เพื่อศึกษาแนวทาง และ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน เพื่อประเมินแนวทาง เครื่องมือ คือ แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง และแบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทาง\u0000ผลการวิจัย: 1. สภาพปัจจุบันโดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก สภาพที่พึงประสงค์โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และมีค่าดัชนีความต้องการจำเป็นอยู่ระหว่าง 0.30 - 0.34 เรียงลำดับจากมากไปน้อย ดังนี้ 1) ด้านการบริหารจัดการหลักสูตร 2) ด้านการนิเทศและการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 3) ด้านการจัดการเรียนรู้ 4) ด้านการพัฒนาสื่อและแหล่งการเรียนรู้ และ 5) ด้านการวัดประเมินผลและวิจัย 2. แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ประกอบด้วย 24 แนวทาง ดังนี้ 1) ด้านการบริหารจัดการหลักสูตร มี 5 แนวทาง 2) ด้านการนิเทศและการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มี 4 แนวทาง 3) ด้านการจัดการเรียนรู้ มี 4 แนวทาง 4) ด้านการพัฒนาสื่อและแหล่งการเรียนรู้ มี 5 แนวทาง และ 5) ด้านการวัดประเมินผลและวิจัย มี 5 แนวทาง และมีผลการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้โดยรวมของแนวทางอยู่ในระดับมากที่สุด  \u0000สรุปผล: ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาเป็นความสามารถในการนำบุคลากรของสถานศึกษาให้ร่วมมือปฏิบัติงานจนบรรลุเป้าหมายของสถานศึกษา โดยเฉพาะงานด้านวิชาการซึ่งเป็นงานหลักที่สำคัญที่สุดในการบริหารและจัดการศึกษาในสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพ ผู้บริหารสถานศึกษาต้องมีความรู้ความเข้าใจขอบข่ายเนื้อหาและหลักการบริหารงานอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับขอบข่ายงานวิชาการ ด้านหลักสูตรและการบริหารหลักสูตร ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการนิเทศภายในด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา และด้านการประกันคุณภาพการศึกษา","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"90 10","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-24","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141807944","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
Factors Associated with the Opinion on Self-Care of Elderly in Southernmost Provinces, Thailand 与泰国最南部省份老年人自我护理观点相关的因素
Pub Date : 2024-07-24 DOI: 10.60027/iarj.2024.277038
Matureedee Masamae, Rhysa McNeil, M. Eso
Background and Aims: Self-care is crucial for the elderly since it allows everyone to have a healthy life, boost immunity, prevent sickness, care for themselves when unwell, and continue to perform everyday duties in their own homes. This study aimed to investigate the factors influencing the elderly's opinions on self-care in the southernmost provinces of Thailand.Methodology: This quantitative study used data collected by the Deep South Coordination Center from 271 elderly people in Pattani. The independent variable included demographic factors and health conditions. The outcome variable was a 4-point rating scale opinion on the self-care of the elderly. Descriptive statistics were employed to illustrate the sample's characteristics. Factor analysis was used to reduce the number of outcome variables. Multiple linear regression was used to examine the relationship between the outcome variables and the independent variables.Results: Eighteen outcome variables were categorized into three factors consisting of positive self-management, health preparation, and doing things for great pleasure. Elderly people who could walk with their spouse or family were more likely to have positive self-management and health preparation than those who lived alone or were separated and could not walk. Elderly people who did not engage in health-risk activities and could use public transportation independently were more likely to enjoy themselves than those who could not.Conclusion: The findings might improve the quality of self-care among the elderly to live better in their current societal situation. This can encourage care healthcare providers to promote daily living practices among the elderly.
背景和目的:自我保健对老年人来说至关重要,因为它能让每个人拥有健康的生活,增强免疫力,预防疾病,在身体不适时照顾自己,并在自己家中继续履行日常职责。本研究旨在调查影响泰国最南端省份老年人对自我护理看法的因素:这项定量研究使用了深南协调中心从北大年府 271 位老人那里收集到的数据。自变量包括人口统计因素和健康状况。结果变量是对老年人自我护理的 4 点评分。采用描述性统计来说明样本的特征。采用因子分析来减少结果变量的数量。采用多元线性回归法研究结果变量与自变量之间的关系:结果:18 个结果变量被归类为三个因子,包括积极的自我管理、健康准备和快乐做事。能与配偶或家人一起散步的老人比独居或分居且不能散步的老人更有可能进行积极的自我管理和健康准备。与不能独立使用公共交通工具的老年人相比,不从事有健康风险的活动且能独立使用公共交通工具的老年人更有可能享受生活:研究结果可能会提高老年人的自我保健质量,使他们在当前的社会环境中生活得更好。结论:研究结果可能会提高老年人的自我护理质量,使他们在当前的社会环境中生活得更好,从而鼓励医疗保健提供者向老年人推广日常生活方式。
{"title":"Factors Associated with the Opinion on Self-Care of Elderly in Southernmost Provinces, Thailand","authors":"Matureedee Masamae, Rhysa McNeil, M. Eso","doi":"10.60027/iarj.2024.277038","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.277038","url":null,"abstract":"Background and Aims: Self-care is crucial for the elderly since it allows everyone to have a healthy life, boost immunity, prevent sickness, care for themselves when unwell, and continue to perform everyday duties in their own homes. This study aimed to investigate the factors influencing the elderly's opinions on self-care in the southernmost provinces of Thailand.\u0000Methodology: This quantitative study used data collected by the Deep South Coordination Center from 271 elderly people in Pattani. The independent variable included demographic factors and health conditions. The outcome variable was a 4-point rating scale opinion on the self-care of the elderly. Descriptive statistics were employed to illustrate the sample's characteristics. Factor analysis was used to reduce the number of outcome variables. Multiple linear regression was used to examine the relationship between the outcome variables and the independent variables.\u0000Results: Eighteen outcome variables were categorized into three factors consisting of positive self-management, health preparation, and doing things for great pleasure. Elderly people who could walk with their spouse or family were more likely to have positive self-management and health preparation than those who lived alone or were separated and could not walk. Elderly people who did not engage in health-risk activities and could use public transportation independently were more likely to enjoy themselves than those who could not.\u0000Conclusion: The findings might improve the quality of self-care among the elderly to live better in their current societal situation. This can encourage care healthcare providers to promote daily living practices among the elderly.","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"25 12","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-24","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141806332","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การสร้างแบบวัดทักษะการวิจัยสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย การสร้างแบบวัดทักษะการวิจัยสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
Pub Date : 2024-07-22 DOI: 10.60027/iarj.2024.277004
สันติสุข สดใสญาติ, กมลทิพย์ ศรีหาเศษ, ดารุณี ทิพยกุลไพโรจน์
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ทักษะการวิจัยเป็นทักษะสำคัญที่แสดงให้เห็นถึงความสามารถและพฤติกรรมบ่งชี้ของการเป็นนักวิจัยและใช้กระบวนการวิจัยได้ถูกต้อง และยังแสดงให้เห็นถึงความสามารถในการค้นคว้าและแสวงหาคำตอบในสิ่งที่สงสัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ หากผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานได้รับการส่งเสริมให้มีทักษะการวิจัยจะส่งผลให้การศึกษาในระดับที่สูงขึ้นมีประสิทธิภาพ ซึ่งปัญหาในการศึกษาทักษะการวิจัยในนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาคือการขาดแบบวัดทักษะการวิจัยสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาที่มีคุณภาพ บทความวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างแบบวัดทักษะการวิจัยสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และ (2) สร้างคะแนนจุดตัดที่ใช้ในการแปลความหมายแบบวัดทักษะการวิจัยสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี จำนวน 716 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบียงเบนมาตรฐานผลการวิจัย: 1) แบบวัดทักษะการวิจัยมีค่าความตรงเชิงเนื้อหาอยู่ระหว่างช่วง 0.67-1.00 มีค่าความเที่ยง เท่ากับ .96 มีค่าความยากอยู่ระหว่างช่วง .88-.98 และมีค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่างช่วง .28-.58 และ 2) กำหนดคะแนนจุดตัดในการพิจารณาผลการวัดทักษะการวิจัยที่ร้อยละ 80 โดยผลการพิจารณามี 2 ระดับ ดังนี้ 2.1) ระดับที่ 1 การพิจารณาในภาพรวม พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีคะแนนผ่านคะแนนจุดตัด คิดเป็นร้อยละ 90.50 และ 2.2) ระดับที่ 2 การพิจารณารายทักษะ พบว่า ทักษะการวิจัยที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายมีคะแนนทักษะสูงสุด คือ การกำหนดประเด็นวิจัย และการเขียนรายงานการวิจัยและนำเสนอผลการวิจัยโดยทั้งสองทักษะมีจำนวนนักเรียนที่มีคะแนนผ่านคะแนนจุดตัดทักษะ คิดเป็นร้อยละ 90.22 ส่วนการเผยแพร่งานวิจัยและการนำผลการวิจัยไปใช้ มีจำนวนนักเรียนที่มีคะแนนผ่านคะแนนจุดตัดน้อยที่สุดเมื่อเทียบกับทักษะด้านอื่น ๆ คิดเป็นร้อยละ 85.57สรุปผล: ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าแบบวัดทักษะการวิจัยที่สร้างขึ้นมีคุณภาพสามารถนำไปใช้เป็นเครื่องมือกลางในการวัดทักษะการวิจัยของผู้เรียนที่ทำให้ทราบถึงทักษะการวิจัยของผู้เรียนแต่ละคน และนำผลที่ได้จากการวัดทักษะนำไปส่งเสริม ต่อยอด และพัฒนาทักษะการวิจัยให้เกิดแก่ผู้เรียนมากยิ่งขึ้นต่อไป
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:ทักษะารวจัยเป็นทักษะสำคัญที่แสดงให้เห็นถึงความสามารถและพฤติกรรมบ่งชี้องการเป็นนักวจัยและใช้กรระบวนการวจัยได้ถูต้องและยงแสดงให้เห็นถึงความสามารถในาร้นคว้าและแสงหาคำตอในสิ่งที่สงสัยเพืหากผ้เรียนใระนรดับากรศึษากขันพร้นฐานได้รับากรส่งเสิมให้มีทัษากกรวิจัยจะส่งผลให้การศึษากในระดับที่สูงขึนประสิทธิภาพซึ่งปัญหาในการศึกษาทักษะการวิจัยในนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาคือการขาดแบบวัดทักษะการวิจัยสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาที่มีคุณภาพ บทความวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)สร้างแบบวัดทักษะการวิจัยสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และ (2) สร้างคะแนนจุดตัดที่ใช้ในการแปลความหมายแบบวัดทักษะการวิจัยสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายระเบียบวิธีการวิจัย:กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานทบุรี จำนวน 716 คนใช้วิธีการสุ่มแบบหายข้ันตอน และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบียงเบนมาตรฐานผลการวิจัย:1) แบบวัดทักษะการวจัยมีค่าความตรงเชิงเนื้อหายอู่ระหวางชว่ง 0.67-1.00 มีค่าความเที่ยง เท่ากับ .96 มีค่าควมยากอยู่ระหวางช่วง .88-.98 และมีค่าอำนาจำแนกอยู่ระหว่างชว่ง .28-.58 และ 2) กหนำดคะแนจุดตัดในการพิจารณาผการวัดทักษะการวจัยที่ร้อยละ 80 โดยผลการพิจารณามี 2 ระดับ ดังนี้ 2.1) ระดับที่ 1 การพิจารณาในภาพรวม พบ่วา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีคะแนนผ่านคะแนนจุดตัด คิดเป็นร้อยละ 90.50 และ 2.2) เระดับที่ 2 การพิจารณารายทักษะ พบว่า ทักษะการวิจัยที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายมีคะแนนทักษะสงูสุด คือ การกำหนประเด็นวิจัยและการเขียนรายงานการวิจัยและนำเสนอผลากรวิจัยโดยทั้งสองทักษะมีจำนวนักเรียนที่มีคะแนนผ่านคะแนจุดตัดทักษะ คิดเป็ร้อยละ 90.22 ส่วนการเผยแพร่งานวิจัยและการนำผลากรวจัยไปใช้ มีจำนวนนักเรียนที่มีคะแนนผ่านคะแนนจุดตัดน้อยที่สุดเมื่อเทียบกับทักะษด้านอื่น ๆ คิดเป็นร้อยละ 85.57สรุปผล:ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าแบบวัดทักษะการวิจัยที่สร้างขึ้นมีคุณภาพสามารถนำไปใช้เป็นเครื่องมือกลางในการวัดทักษะการวิจัยของผู้เรียนที่ทำให้ทราบถึงทักษะการวิจัยของผู้เรียนแต่ละคนมต่อยอด และพัฒนาทักษะากรวจัยให้เกิดแก่ผู้เรียนมตายิงขึ้นต่อไปป
{"title":"การสร้างแบบวัดทักษะการวิจัยสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย","authors":"สันติสุข สดใสญาติ, กมลทิพย์ ศรีหาเศษ, ดารุณี ทิพยกุลไพโรจน์","doi":"10.60027/iarj.2024.277004","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.277004","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: ทักษะการวิจัยเป็นทักษะสำคัญที่แสดงให้เห็นถึงความสามารถและพฤติกรรมบ่งชี้ของการเป็นนักวิจัยและใช้กระบวนการวิจัยได้ถูกต้อง และยังแสดงให้เห็นถึงความสามารถในการค้นคว้าและแสวงหาคำตอบในสิ่งที่สงสัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ หากผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานได้รับการส่งเสริมให้มีทักษะการวิจัยจะส่งผลให้การศึกษาในระดับที่สูงขึ้นมีประสิทธิภาพ ซึ่งปัญหาในการศึกษาทักษะการวิจัยในนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาคือการขาดแบบวัดทักษะการวิจัยสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาที่มีคุณภาพ บทความวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างแบบวัดทักษะการวิจัยสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และ (2) สร้างคะแนนจุดตัดที่ใช้ในการแปลความหมายแบบวัดทักษะการวิจัยสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี จำนวน 716 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบียงเบนมาตรฐาน\u0000ผลการวิจัย: 1) แบบวัดทักษะการวิจัยมีค่าความตรงเชิงเนื้อหาอยู่ระหว่างช่วง 0.67-1.00 มีค่าความเที่ยง เท่ากับ .96 มีค่าความยากอยู่ระหว่างช่วง .88-.98 และมีค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่างช่วง .28-.58 และ 2) กำหนดคะแนนจุดตัดในการพิจารณาผลการวัดทักษะการวิจัยที่ร้อยละ 80 โดยผลการพิจารณามี 2 ระดับ ดังนี้ 2.1) ระดับที่ 1 การพิจารณาในภาพรวม พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีคะแนนผ่านคะแนนจุดตัด คิดเป็นร้อยละ 90.50 และ 2.2) ระดับที่ 2 การพิจารณารายทักษะ พบว่า ทักษะการวิจัยที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายมีคะแนนทักษะสูงสุด คือ การกำหนดประเด็นวิจัย และการเขียนรายงานการวิจัยและนำเสนอผลการวิจัยโดยทั้งสองทักษะมีจำนวนนักเรียนที่มีคะแนนผ่านคะแนนจุดตัดทักษะ คิดเป็นร้อยละ 90.22 ส่วนการเผยแพร่งานวิจัยและการนำผลการวิจัยไปใช้ มีจำนวนนักเรียนที่มีคะแนนผ่านคะแนนจุดตัดน้อยที่สุดเมื่อเทียบกับทักษะด้านอื่น ๆ คิดเป็นร้อยละ 85.57\u0000สรุปผล: ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าแบบวัดทักษะการวิจัยที่สร้างขึ้นมีคุณภาพสามารถนำไปใช้เป็นเครื่องมือกลางในการวัดทักษะการวิจัยของผู้เรียนที่ทำให้ทราบถึงทักษะการวิจัยของผู้เรียนแต่ละคน และนำผลที่ได้จากการวัดทักษะนำไปส่งเสริม ต่อยอด และพัฒนาทักษะการวิจัยให้เกิดแก่ผู้เรียนมากยิ่งขึ้นต่อไป","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"33 18","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-22","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141815437","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนศึกษากรณีการรวบรวมข้อเท็จจริงในชั้นสอบสวนคดีอาญา การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนศึกษากรณีการรวบรวมข้อเท็จจริงในชั้นสอบสวนคดีอาญา
Pub Date : 2024-07-22 DOI: 10.60027/iarj.2024.276588
แสวง สำราญดี, อิงครัต ดลเจิม
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: สิทธิและเสรีภาพของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครองโดยรัฐธรรมนูญตามหลักรัฐธรรมนูญนิยม หลักนิติรัฐ หลักนิติธรรม หลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และหลักความเสมอภาค ผู้ต้องหาก็เป็นบุคคลที่ได้รับความคุ้มครองเช่นเดียวกับบุคคลทั่วไปในอันที่จะดำรงไว้ซึ่งสิทธิและเสรีภาพประการต่าง ๆ ที่ปรากฏไว้ในรัฐธรรมนูญ ดังนั้นบทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนศึกษากรณีการรวบรวมข้อเท็จจริงในชั้นสอบสวนคดีอาญา (2) ศึกษามาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนกรณีรวบรวมข้อเท็จจริงในชั้นสอบสวนคดีอาญาในประเทศไทย ประเทศญี่ปุ่น สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี สาธารณรัฐฝรั่งเศส และมาตรฐานขององค์การสหประชาชาติ (3) วิเคราะห์สภาพปัญหาในการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนกรณีการรวมรวบข้อเท็จจริงในชั้นสอบสวนคดีอาญา (4) เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาในการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนกรณีการรวบรวมข้อเท็จจริงในชั้นสอบสวนคดีอาญาให้มีประสิทธิภาพระเบียบวิธีการวิจัย: งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเอกสารโดยศึกษาจากหนังสือ ตำรา เอกสาร บทบัญญัติของกฎหมาย บทความ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ บทความทางวิชาการ และ ข้อมูลทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ตทั้งที่เป็นภาษาไทยและต่างประเทศโดยการนำมาวิเคราะห์เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกฎหมายของประเทศไทยและต่างประเทศผลการศึกษา (1) แนวคิดในการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนกรณีการรวบรวมข้อเท็จจริงในชั้นสอบสวนคดีอาญาเป็นไปตามแนวคิดในหลักการตรวจสอบเพื่อให้ได้ความจริงแท้โดยปรากฏทฤษฎีที่เกี่ยวข้องคือหลักการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน หลักนิติรัฐ หลักนิติธรรม หลักความเสมอภาค หลักความได้สัดส่วนและหลักภารกิจของรัฐ (2) มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนกรณีรวบรวมข้อเท็จจริงในชั้นสอบสวนคดีอาญา ของประเทศไทยปรากฏในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ส่วนมาตรการในประเทศญี่ปุ่น สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี สาธารณรัฐฝรั่งเศสปรากฏตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของประเทศนั้น ๆ สำหรับมาตรฐานขององค์การสหประชาชาติปรากฏตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (3)ในระบบกฎหมายของประเทศญี่ปุ่นสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี สาธารณรัฐฝรั่งเศสตลอดจนมาตรฐานขององค์การสหประชาชาติมีการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของผู้ที่เข้าสู่กระบวนการในชั้นสอบสวนคดีอาญาอย่างเคร่งครัดแต่ในการรวบรวมข้อเท็จจริงในชั้นสอบสวนคดีอาญาของไทยที่มีการดำเนินการผ่านสื่อออนไลน์อาจมีการละเมิดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนตามที่รัฐธรรมนูญและกฎหมายให้ความคุ้มครอง (4) ควรมีการแก้ไขประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 135 โดยอาศัยกลไกของพระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทำร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวให้มีประสิทธิภาพต่อไปสรุปผล: ผลงานวิจัยชี้ให้เห็นว่าการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพในการสืบสวนคดีอาญาสอดคล้องกับหลักการสากลที่ฝังอยู่ในกรอบกฎหมายระหว่างประเทศหลายประการ อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยมีความเหลื่อมล้ำเกิดขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับการสืบสวนที่เกี่ยวข้องกับสื่อออนไลน์ ซึ่งตอกย้ำถึงความจำเป็นของการเปลี่ยนแปลงทางกฎหมายเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและรักษาสิทธิตามรัฐธรรมนูญ
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:สิทธิและเสรีภาพของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครองโดยรัฐธรรมนูญตามหลักรัฐธรรมนูญนิยม หลักนิติรัฐ หลักนิติธรรม หลักศักดิ์ศรีความเ็ปนมนุษย์เสมอภาค เE1C↩ู้ต้องหาก็เป็นบุคเที่ได้รับความคุ้มครองเช่นเดียวกับบุคเทั่วไปในอันที่จะดำรงไว้ซึ่งสิทธและเสรีภาพประการต่างๆ ที่ปรากฏไว้ในรัฐธรรมนูญ ดังนั้นบทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนศึกษากรณีการรวบรวมข้อเท็จจริงในชั้นสอบสวนคดีอาญา (2)ศึกษามาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับารคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนกรณีรวบรวมข้อเท็จริงในชั้นสอบวนคดีอาญาในประเทศไทยประเทศญี่ปุ่น สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี สาธารณรัฐ ฝรั่งเศสและมาตรฐานขององค์การสหประชาชติ (3)วิเคราะหาห์สภาพปัญหาในการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนกรรณีการวมรวบข้อเท็จจริงในชั้นสอบสวนคดีอาญา (4)เสนอแนแนวทางการแกไขปัญหาในการุ้มครงอสิทธิและเสรีภาพของประชาชนการวบรวมข้อเท็จริงในชั้นสอบสิทธีการวจั:งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเอกสารโดยศึกษาจากหนังสือ ตำรา เอกสาร บทบัญญัติของกฎหมาย บทความ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ บทความทางวิชาการ และแนวเล้อมตั้งที่เป็นภาษาไทยและตางประเทศโดยการนำมาวิเคราห์เปรียบเทียบความเหมือนและควาแตการศึกษา (1)แนวคิดในการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนกรณีการรวบรวมข้อเท็จจริงในชั้นสอบสวนคดีอาญาเป็นไปตามแนวคิดในหลักการตรวจสอบเพื่อให้ได้ความจริงแท้โดยปรากฏทฤษฎีที่เกี่ยวข้องคือหลักการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนหลักนิติรัฐ หลักนิติธรรม หลักความเสมอภาค หลักความได้สัดส่วนและหลักภารกิจของรัฐ (2) มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนกรณีรวบรวมข้อเท็จจริงในชั้นสอบสวนคดีอาญาของประเทศไทยปรากฏในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยแะประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาควมาอาญา ส่วนมาตรการในประเทศญี่ปุน่ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีสาธารณรัฐฝรั่งเศสปรากฏตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของประเทศนั้น ๆ สำหรับมาตรฐานขององค์การสหประชาชาติปรากฏตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (3)ในระบบกฎหมายของประเทศญี่ปุ่นสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีสาธารณรัฐฝรั่งเศสตลอดจนมาตรฐานขององค์การสหประชาชาติมีการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของผู้ที่เข้าสู่กระบวนการในชั้นสอบสวนคดีอาญาอย่างเคร่งครัดแต่ในการรวบรวมข้อเท็จจริงในชั้นสอบสวนคดีอาญาของไทยที่มีการดำเนินการผ่านสื่อออนไลน์อาจมีการละเมิดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนตามที่รัฐธรรมนูญและกฎหมายให้ความคุ้มครอง(4) ควรมีการแกไขประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 135 โดยอาศัยกลไกของพระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทำร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ.2562 เพื่อแก้าญหาดังกล่าวให้มีประสิทธิภาพต่อไปสรุปผล:ผลงานวิจัยชี้ให้เห็นว่าการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพในการสืบสวนคดีอาญาสอดคล้องกับหลักการสากลที่ฝังอยู่ในกรอบกฎหมายระหว่างประเทศหลายประการ อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยมีความเหลื่อมล้ำเกิดขึ้น
{"title":"การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนศึกษากรณีการรวบรวมข้อเท็จจริงในชั้นสอบสวนคดีอาญา","authors":"แสวง สำราญดี, อิงครัต ดลเจิม","doi":"10.60027/iarj.2024.276588","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276588","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: สิทธิและเสรีภาพของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครองโดยรัฐธรรมนูญตามหลักรัฐธรรมนูญนิยม หลักนิติรัฐ หลักนิติธรรม หลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ และหลักความเสมอภาค ผู้ต้องหาก็เป็นบุคคลที่ได้รับความคุ้มครองเช่นเดียวกับบุคคลทั่วไปในอันที่จะดำรงไว้ซึ่งสิทธิและเสรีภาพประการต่าง ๆ ที่ปรากฏไว้ในรัฐธรรมนูญ ดังนั้นบทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนศึกษากรณีการรวบรวมข้อเท็จจริงในชั้นสอบสวนคดีอาญา (2) ศึกษามาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนกรณีรวบรวมข้อเท็จจริงในชั้นสอบสวนคดีอาญาในประเทศไทย ประเทศญี่ปุ่น สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี สาธารณรัฐฝรั่งเศส และมาตรฐานขององค์การสหประชาชาติ (3) วิเคราะห์สภาพปัญหาในการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนกรณีการรวมรวบข้อเท็จจริงในชั้นสอบสวนคดีอาญา (4) เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาในการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนกรณีการรวบรวมข้อเท็จจริงในชั้นสอบสวนคดีอาญาให้มีประสิทธิภาพ\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย: งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเอกสารโดยศึกษาจากหนังสือ ตำรา เอกสาร บทบัญญัติของกฎหมาย บทความ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ บทความทางวิชาการ และ ข้อมูลทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ตทั้งที่เป็นภาษาไทยและต่างประเทศโดยการนำมาวิเคราะห์เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของกฎหมายของประเทศไทยและต่างประเทศ\u0000ผลการศึกษา (1) แนวคิดในการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนกรณีการรวบรวมข้อเท็จจริงในชั้นสอบสวนคดีอาญาเป็นไปตามแนวคิดในหลักการตรวจสอบเพื่อให้ได้ความจริงแท้โดยปรากฏทฤษฎีที่เกี่ยวข้องคือหลักการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน หลักนิติรัฐ หลักนิติธรรม หลักความเสมอภาค หลักความได้สัดส่วนและหลักภารกิจของรัฐ (2) มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนกรณีรวบรวมข้อเท็จจริงในชั้นสอบสวนคดีอาญา ของประเทศไทยปรากฏในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยและประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ส่วนมาตรการในประเทศญี่ปุ่น สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี สาธารณรัฐฝรั่งเศสปรากฏตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของประเทศนั้น ๆ สำหรับมาตรฐานขององค์การสหประชาชาติปรากฏตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (3)ในระบบกฎหมายของประเทศญี่ปุ่นสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี สาธารณรัฐฝรั่งเศสตลอดจนมาตรฐานขององค์การสหประชาชาติมีการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของผู้ที่เข้าสู่กระบวนการในชั้นสอบสวนคดีอาญาอย่างเคร่งครัดแต่ในการรวบรวมข้อเท็จจริงในชั้นสอบสวนคดีอาญาของไทยที่มีการดำเนินการผ่านสื่อออนไลน์อาจมีการละเมิดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนตามที่รัฐธรรมนูญและกฎหมายให้ความคุ้มครอง (4) ควรมีการแก้ไขประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 135 โดยอาศัยกลไกของพระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดทำร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวให้มีประสิทธิภาพต่อไป\u0000สรุปผล: ผลงานวิจัยชี้ให้เห็นว่าการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพในการสืบสวนคดีอาญาสอดคล้องกับหลักการสากลที่ฝังอยู่ในกรอบกฎหมายระหว่างประเทศหลายประการ อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยมีความเหลื่อมล้ำเกิดขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับการสืบสวนที่เกี่ยวข้องกับสื่อออนไลน์ ซึ่งตอกย้ำถึงความจำเป็นของการเปลี่ยนแปลงทางกฎหมายเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและรักษาสิทธิตามรัฐธรรมนูญ","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"21 9","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-22","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141817217","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
Digital Competency Model Development for Public High School Teachers in Nanning 南宁公立高中教师数字能力模型开发
Pub Date : 2024-07-22 DOI: 10.60027/iarj.2024.276525
Shiya Ruan, Pong Horadal, Kanakorn Sawangcharoen, S. Teekasap
Background and Aims: With the rapid development and popularization of technology, the application of digital technology in education is increasingly widespread, and the digital competency of teachers has become the key to promoting education modernization and innovation. The objectives of this study include: 1) To study the situation of digital competency of public high school teachers in Nanning. 2) To develop a model for improving the digital competency of public high school teachers in Nanning. 3) To evaluate the model for improving the digital competency of public high school teachers in Nanning.Methodology: This study is based on the latest research results and widely adopts the opinions of experts in the field of digital education by employing the Delphi method and the focus group method.Results: The digital competency model for teachers in public high schools in Nanning was successfully developed. Important measures and suggestions have been provided to promote the improvement of the digital competency of teachers in public high schools in Nanning.Conclusion: An important development in educational practices is indicated by the development of a digital competency model for teachers in public high schools in Nanning, which was completed with success. The strategies and recommendations offered are meant to improve educators' digital literacy, promoting efficient instruction in the digital era and improving the educational experiences of students.
研究背景与目的:随着科技的快速发展和普及,数字技术在教育中的应用日益广泛,教师的数字能力已成为推动教育现代化和教育创新的关键。本研究的目标包括1)研究南宁市公立高中教师的数字化能力状况。2) 建立南宁市公立高中教师数字化能力提升模型。3) 评估南宁市公立高中教师数字化能力提升模型:本研究以最新研究成果为基础,广泛采纳数字教育领域专家的意见,采用德尔菲法和焦点小组法:结果:成功开发了南宁市公立高中教师数字化能力模型。结果:成功开发了南宁市公立高中教师数字化能力模型,为促进南宁市公立高中教师数字化能力的提升提供了重要的措施和建议:南宁市公立高中教师数字化能力模型的成功开发是教育实践的重要发展。所提出的策略和建议旨在提高教育工作者的数字素养,促进数字时代的高效教学,改善学生的教育体验。
{"title":"Digital Competency Model Development for Public High School Teachers in Nanning","authors":"Shiya Ruan, Pong Horadal, Kanakorn Sawangcharoen, S. Teekasap","doi":"10.60027/iarj.2024.276525","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276525","url":null,"abstract":"Background and Aims: With the rapid development and popularization of technology, the application of digital technology in education is increasingly widespread, and the digital competency of teachers has become the key to promoting education modernization and innovation. The objectives of this study include: 1) To study the situation of digital competency of public high school teachers in Nanning. 2) To develop a model for improving the digital competency of public high school teachers in Nanning. 3) To evaluate the model for improving the digital competency of public high school teachers in Nanning.\u0000Methodology: This study is based on the latest research results and widely adopts the opinions of experts in the field of digital education by employing the Delphi method and the focus group method.\u0000Results: The digital competency model for teachers in public high schools in Nanning was successfully developed. Important measures and suggestions have been provided to promote the improvement of the digital competency of teachers in public high schools in Nanning.\u0000Conclusion: An important development in educational practices is indicated by the development of a digital competency model for teachers in public high schools in Nanning, which was completed with success. The strategies and recommendations offered are meant to improve educators' digital literacy, promoting efficient instruction in the digital era and improving the educational experiences of students.","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"22 14","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-22","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141815948","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การศึกษาประเภทเนื้อหา การมีส่วนร่วม การแบ่งปันเนื้อหาของผู้รับสารผ่านเฟซบุ๊กแฟนเพจรายการข่าว การศึกษาประเภทเนื้อหา การมีส่วนร่วม การแบ่งปันเนื้อหาของผู้รับสารผ่านเฟซบุ๊กแฟนเพจรายการข่าว
Pub Date : 2024-07-22 DOI: 10.60027/iarj.2024.276256
ปุริมปรัชญ์ อำพัน, ประกอบเกียรติ อิ่มศิริ, ศราวุฒิ เกิดถาวร, พิศิษฐ์ พิภพพรพงศ์, ธันย์นิชา วิโรจน์รุจน์, เบญจวรรณ อินทระ, ประวิทย์ ธงชัย, เบญจภา ไกรทอง, อาทินันทน์ แก้วประจันทร์
เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่เกิดขึ้นได้จากการเข้าถึงเทคโนโลยีสมัยใหม่ มีผลกระทบอย่างมากต่อการสื่อสาร ด้วยการมีส่วนร่วมของผู้ใช้ที่เพิ่มขึ้น Facebook จึงกลายเป็นโซเชียลเน็ตเวิร์กออนไลน์ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในประเทศไทย ตามมาด้วย Line Application นักวิจัยมีความสนใจที่จะตรวจสอบพลวัตของการแชร์เนื้อหา การมีส่วนร่วม และเนื้อหาบนหน้าแฟนเพจของ Facebook และรายการข่าวอันเป็นผลมาจากข้อมูลดังกล่าว ดังนั้นการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์  (1) เพื่อศึกษาประเภทเนื้อหาที่ถูกนำเสนอผ่านเฟซบุ๊กแฟนเพจรายการข่าว และ (2) เพื่อศึกษาการแบ่งปันเนื้อหาของผู้รับสารผ่านเฟซบุ๊กแฟนเพจรายการข่าว ระเบียบวิธีการวิจัย:  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้มาโดยโดยทำการสุ่มกลุ่มตัวอย่างวิจัยแบบเจาะจง (Purposive sampling ) จากเนื้อหาเฟซบุ๊กแฟนเพจรายการข่าวที่มีผู้ติดตามไม่น้อยกว่า 100,000 บัญชีใช้งาน ตั้งแต่เดือนมกราคม – ธันวาคม 2565   โดยเนื้อหาที่นำมาวิเคราะห์ต้องมีการมีส่วนร่วมของผู้รับสารตอบกลับไม่น้อยกว่าร้อยละ 1 ของบัญชีใช้งานทั้งหมด และผู้วิจัยได้นำการแบ่งเนื้อหาอย่างน้อย 3 การแบ่งปัน (การแชร์โพสต์) ต่อ 1 เนื้อหา มาวิเคราะห์ทั้งในรูปแบบวัจนภาษาและอวัจนภาษาผลการวิจัย: (1) เฟซบุ๊กแฟนเพจรายการข่าวส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์ด้านการนำเสนอข่าวสารมากที่สุดและประเภทเนื้อหาที่ถูกนำเสนอมากที่สุด (2) การแบ่งเนื้อหาประเภทรูปภาพ การแบ่งปันเนื้อหารายการข่าวของผู้รับสารผ่านเฟซบุ๊กแฟนเพจ คือ ด้านทัศนคติและค่านิยมมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ ด้านความต้องการ ด้านประสบการณ์และนิสัย ด้านเป้าหมาย ด้านสภาวะ ด้านความสามารถ ด้านการใช้ประโยชน์และด้านลีลาในการสื่อสาร ตามลำดับ  นอกจากนั้เนผู้รับสารส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์ต่อนำเสนอเนื้อหาสารมากที่สุด คือ เพื่อการนำเสนอข่าวสารด้วยการให้ข้อมูลต่าง ๆ ที่จะเป็นประโยชน์ต่อผู้รับสารซึ่งสอดคล้องกับปฏิกิริยาตอบกลับในการแบ่งปันเนื้อหา (Share) ของผู้รับสารที่มีจำนวนการตอบสนองมากที่สุดสรุปผล: ผลจากการศึกษาแฟนเพจ Facebook สำหรับรายการข่าวให้ความสำคัญกับความเป็นกลางและความหลากหลายของเนื้อหาเป็นหลัก โดยเน้นการนำเสนอข่าวสารในรูปแบบต่างๆ นอกจากนี้ ตามที่ระบุด้วยอัตราการตอบกลับที่สูง ผู้รับโต้ตอบกับเนื้อหาโดยมีจุดประสงค์หลักในการแบ่งปันข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ซึ่งบ่งบอกถึงเป้าหมายร่วมกันในการเผยแพร่เนื้อหาที่ให้ข้อมูลแก่ผู้ชม
จมติลายเป็นโซเชียลเชียลเนติลายวับความนิยมากที่สุดในประเทย ตามาดวย Line Application นักวิจัยมีความสใจที่จะตรวจอบพลวัตอกราแชร์เนื้อหาการมีส่วนร่วมและเน้าแฟนเพจของ Facebook และรายการขาวอันเป็นผลมาจากข้อมูลดังกล่าว ดังนั้นการวิจัยครั้งนี้ีมวัตถุประสงค์ (1)เพือศึกษาประเทเนือหาที่ถูกนำเนสอผ่านเฟซบุ๊กแฟนเพจรายการข่าว และ (2) เพือศึกษาการะเบียบวิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวจัยครั้งนี้↪Lo_ด้มาโดยโดยทำการสุ่มกลุ่มตัวอย่างวิจัยแบเจาะจง (Purposive sampling ) จากเนื้อหาเฟซุบ๊กแฟนเพจรายการข่าวที่มีผูต้ิดตามไม่น้อยกว่า 100、000 มตัญชีใช้งาน มตั้งแต่เดือนมกราคม - ธันวาคม 2565 โดยเน้อหาที่นำมาวิเคราะห์ต้องมีการมีส่วนร่วมของผู้รับสารตอบกลับไมน้อยกว่าร้อยละ 1 ของบัญชีใช้งานทั้งหมด3 การแบ่งปัน (การแชร์โพสต์) ต่อ 1 เนื้อหา มาวิเคราะห์ทั้งในรูปบบวัจนภาษาแลอะวัจนภาษาผลการวจัย:(1) เฟซบุ๊กแฟนเพจรายการข่าวส่วนใหญ่มีวัตถปุระสงค์ด้านการนำเสนอข่าวสารมากที่สุดแลปะระเภทนื้อหาที่ถูกนำเสนอมากที่สุด (2) การแบ่งเนื้อหาประเภทรูปภาพการแบงปันเนื้อหารายการข่าวของผู้รับสารผ่านเฟซบุ๊กแฟนเพจ คือ ด้านทัศนคติและค่านิยมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ ด้านความต้องการ ด้านประสบารณ์และนิสัย ด้านเป้าหมาย ด้านสภาวะด้านความสามารรถ ด้านการใช้ประโยชน์และด้านีลาในการสือสาร ตามลำดับ นอกจากนั้เนผู้รับสารส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์ต่อนำเสนอเนื้อหาสารมากที่สุด คือเพื่อการนำเสนอข่าวสารด้วยการให้ข้อมูลต่าง ๆ ที่จะเป็นประโยชน์ต่อผู้รับสารซึ่งสอดคล้องกับปฏิกิริยาตอบกลับในการแบ่งปันเนื้อหา (Share) ของผู้รับสารที่มีจำนวนการตอบสนองมากที่สุดสรุปผล:ผลากการศึกษาแฟนเพจ Facebook สำรับรายการข่าวให้ความสำคัญกับความเป็นกลางและความหาการเป็นกลางและความหากที่ี้าวนกาที่ี้าวนกาที่ี้าวนุดสรุปผเพจ Facebook สำรับรายการข่าววในรูปบตางๆ นอกจากี้ตามที่ระบุด้วยอัตราการตอบกลับที่สูง ผู้รับโต้ตอบกับเนื้อหาโดยมีจุดประสงค์หลักในการแบ่งปันข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ซึ่งบ่งบอกถึงเป้าหมายร่วมกันในการเผยแพร่เนื้อหาที่ให้ข้อมูลแก่ผู้ชม
{"title":"การศึกษาประเภทเนื้อหา การมีส่วนร่วม การแบ่งปันเนื้อหาของผู้รับสารผ่านเฟซบุ๊กแฟนเพจรายการข่าว","authors":"ปุริมปรัชญ์ อำพัน, ประกอบเกียรติ อิ่มศิริ, ศราวุฒิ เกิดถาวร, พิศิษฐ์ พิภพพรพงศ์, ธันย์นิชา วิโรจน์รุจน์, เบญจวรรณ อินทระ, ประวิทย์ ธงชัย, เบญจภา ไกรทอง, อาทินันทน์ แก้วประจันทร์","doi":"10.60027/iarj.2024.276256","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.276256","url":null,"abstract":"เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่เกิดขึ้นได้จากการเข้าถึงเทคโนโลยีสมัยใหม่ มีผลกระทบอย่างมากต่อการสื่อสาร ด้วยการมีส่วนร่วมของผู้ใช้ที่เพิ่มขึ้น Facebook จึงกลายเป็นโซเชียลเน็ตเวิร์กออนไลน์ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในประเทศไทย ตามมาด้วย Line Application นักวิจัยมีความสนใจที่จะตรวจสอบพลวัตของการแชร์เนื้อหา การมีส่วนร่วม และเนื้อหาบนหน้าแฟนเพจของ Facebook และรายการข่าวอันเป็นผลมาจากข้อมูลดังกล่าว ดังนั้นการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์  (1) เพื่อศึกษาประเภทเนื้อหาที่ถูกนำเสนอผ่านเฟซบุ๊กแฟนเพจรายการข่าว และ (2) เพื่อศึกษาการแบ่งปันเนื้อหาของผู้รับสารผ่านเฟซบุ๊กแฟนเพจรายการข่าว\u0000 ระเบียบวิธีการวิจัย:  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้มาโดยโดยทำการสุ่มกลุ่มตัวอย่างวิจัยแบบเจาะจง (Purposive sampling ) จากเนื้อหาเฟซบุ๊กแฟนเพจรายการข่าวที่มีผู้ติดตามไม่น้อยกว่า 100,000 บัญชีใช้งาน ตั้งแต่เดือนมกราคม – ธันวาคม 2565   โดยเนื้อหาที่นำมาวิเคราะห์ต้องมีการมีส่วนร่วมของผู้รับสารตอบกลับไม่น้อยกว่าร้อยละ 1 ของบัญชีใช้งานทั้งหมด และผู้วิจัยได้นำการแบ่งเนื้อหาอย่างน้อย 3 การแบ่งปัน (การแชร์โพสต์) ต่อ 1 เนื้อหา มาวิเคราะห์ทั้งในรูปแบบวัจนภาษาและอวัจนภาษา\u0000ผลการวิจัย: (1) เฟซบุ๊กแฟนเพจรายการข่าวส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์ด้านการนำเสนอข่าวสารมากที่สุดและประเภทเนื้อหาที่ถูกนำเสนอมากที่สุด (2) การแบ่งเนื้อหาประเภทรูปภาพ การแบ่งปันเนื้อหารายการข่าวของผู้รับสารผ่านเฟซบุ๊กแฟนเพจ คือ ด้านทัศนคติและค่านิยมมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ ด้านความต้องการ ด้านประสบการณ์และนิสัย ด้านเป้าหมาย ด้านสภาวะ ด้านความสามารถ ด้านการใช้ประโยชน์และด้านลีลาในการสื่อสาร ตามลำดับ  นอกจากนั้เนผู้รับสารส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์ต่อนำเสนอเนื้อหาสารมากที่สุด คือ เพื่อการนำเสนอข่าวสารด้วยการให้ข้อมูลต่าง ๆ ที่จะเป็นประโยชน์ต่อผู้รับสารซึ่งสอดคล้องกับปฏิกิริยาตอบกลับในการแบ่งปันเนื้อหา (Share) ของผู้รับสารที่มีจำนวนการตอบสนองมากที่สุด\u0000สรุปผล: ผลจากการศึกษาแฟนเพจ Facebook สำหรับรายการข่าวให้ความสำคัญกับความเป็นกลางและความหลากหลายของเนื้อหาเป็นหลัก โดยเน้นการนำเสนอข่าวสารในรูปแบบต่างๆ นอกจากนี้ ตามที่ระบุด้วยอัตราการตอบกลับที่สูง ผู้รับโต้ตอบกับเนื้อหาโดยมีจุดประสงค์หลักในการแบ่งปันข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ซึ่งบ่งบอกถึงเป้าหมายร่วมกันในการเผยแพร่เนื้อหาที่ให้ข้อมูลแก่ผู้ชม","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"77 17","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-22","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141817508","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ความสัมพันธ์ระหว่างการนอนดันบาร์เบลกับการนอนดึงบาร์เบล การนอนดันบาร์เบลกับการพายบนเครื่องพายเรืออยู่กับที่และการนอนดึงบาร์เบลกับการพายบนเครื่องพายเรืออยู่กับที่ของนักกีฬาเรือพายที่เข้าร่วมการคัดเลือกเป็นนักกีฬาตัวแทนทีมชาติไทยรุ่นอายุไม่ต่ำกว่า 50 ปี ประจำปี 2565 ความสัมพันธ์ระหวางการนอนดันบาร์เบลกับารนอนดึงบาร์เบลงเด็กเด็กที่แด็กที่แด็กที่แด็กที่แด็กที่แด็กที่แด็กที่แด็กที่แด็กที่แด็กที่แด็กที่แด็กที่เด็กที่แด็กที่แด็กที้าราร่วมารรัดเด็กปนักีฬาตัวแทนทีมชตาิไทยรมติชตาิไทยรมติชตาิไทยรมติชตาิไทยรมติชตาิไทยรมติชตาิไทยรมติชติชน50 ปี ประจำปี 2565
Pub Date : 2024-07-22 DOI: 10.60027/iarj.2024.274419
เกรียงไกร รอดปัญญา, ประกิต หงส์แสนยาธรรม
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:                     การกีฬาเป็นสิ่งที่มีจุดประสงค์พื้นฐานที่จะส่งเสริมให้ร่างกายแข็งแรงและสามารถที่จะแสดงฝีมือในเชิงกีฬา กีฬาเรือพายเป็นกีฬาที่ใช้ความอดทนและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ เป็นปัจจัยสำคัญ โดยมีความสัมพันธ์ของทีมและทักษะของการพายเป็นปัจจัยร่วมในการทำงานของร่างกาย งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการนอนดันบาร์เบลกับการนอนดึงบาร์เบล การนอนดันบาร์เบลกับการพายบนเครื่องพายเรืออยู่กับที่และการนอนดึงบาร์เบลกับการพายบนเครื่องพายเรืออยู่กับที่ระเบียบวิธีการวิจัย:       กลุ่มเป้าหมาย คือ ประชาชนชายที่เข้าร่วมการคัดเลือกเป็นนักกีฬาเรือพายตัวแทนทีมชาติไทย รุ่นอายุไม่ต่ำกว่า 50 ปี ในปี พ.ศ. 2565 จำนวน 42 คน ประกอบด้วย กลุ่มคนถนัดพายทางขวา 23 คน และกลุ่มคนถนัดพายทางซ้าย 19 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบทดสอบสมรรถภาพของนักกีฬาเรือพายของสมาคมกีฬาเรือพายแห่งประเทศไทย จำนวน 3 รายการ ได้แก่ 1) การทดสอบการนอนดันบาร์เบล 2นาที ที่น้ำหนัก 80% ของน้ำหนักตัว 2) การทดสอบการนอนดึงบาร์เบล 2 นาที ที่น้ำหนัก 80% ของน้ำหนักตัว 3) การทดสอบการพายบนเครื่องพายเรืออยู่กับที่ ระยะ 500 เมตร วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s product-moment correlation coefficient) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปผลการวิจัย: (1) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการนอนดันบาร์เบลกับการนอนดึงบาร์เบลของคนถนัดพายทางขวา เท่ากับ .783 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 (2) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการนอนดันบาร์เบลกับการนอนดึงบาร์เบลของคนถนัดพายทางซ้าย เท่ากับ .765 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 (3) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการนอนดันบาร์เบลกับการนอนดึงบาร์เบลของคนถนัดพายทางขวาและทางซ้ายรวมกัน เท่ากับ .782 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 (4) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการนอนดันบาร์เบลกับการพายบนเครื่องพายเรืออยู่กับที่ของคนถนัดพายทางขวา เท่ากับ -.469 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 (5) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการนอนดันบาร์เบลกับการพายบนเครื่องพายเรืออยู่กับที่ของคนพายทางซ้าย เท่ากับ -.327 อย่างไม่มีนัยสำคัญที่ระดับ .05 (6) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการนอนดันบาร์เบลกับการพายบนเครื่องพายเรืออยู่กับที่ของคนถนัดพายทางขวาและทางซ้ายรวมกัน เท่ากับ -.420 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 (7) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการนอนดึงบาร์เบลกับการพายบนเครื่องพายเรืออยู่กับที่ของคนถนัดพายทางขวา เท่ากับ -.706 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 (8) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการนอนดึงบาร์เบลกับการพายบนเครื่องพายเรืออยู่กับที่ของคนถนัดพายทางซ้ายเท่ากับ -.323 อย่างไม่มีนัยสำคัญที่ระดับ .05 และ (9) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการนอนดึงบาร์เบลกับการพายบนเครื่องพายเรืออยู่กับที่ของคนถนัดพายทางขวาและทางซ้ายรวมกัน เท่ากับ -.541 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01สรุปผล: ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์แสดงให้เห็นว่าความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพของการนอนดันบาร์เบล, การนอนดึงบาร์เบลและการพายบนเครื่องพายเรืออยู่กับที่ได้รับผลกระทบอย่างมากจากความสามารถในการพายเรือ ไม่ว่าจะซ้าย ขวา หรือทั้งสองอย่าง การนอนดันบาร์เบล และการพายบนเครื่องพายเรืออยู่กับที่ มีความสัมพันธ์เชิงลบอย่างชัดเจน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มการพายเรือด้านขวา ในขณะที่ การนอนดันบาร์เบล และ การนอนดึงบาร์เบล แสดงความสัมพันธ์เชิงบวกที่แข็งแกร่งในกลุ่มการพายทั้งด้านขวาและด้านซ้าย นอกจ
ภูมิหลังและวัตถุประสงค์: การกีฬาเป็นสิ่งที่มีจุดประสงค์พื้นฐานที่จะส่งเชิงกีฬากีฬาเรือพายเป็นกีฬาที่ใช้ความอดทนและความแข็งแรงของกล้ามเืน้อ เป็นปัจจัยสำคัญ โดยมีความสัมพันธ์ของทีมและทักษอขงการพายเปนป็ัจัยร่วมในการทำงานอขงร่างกายเพื่ศึกษาความสัมพันธ์ระห้างการ้ามีวัตถุประสงค์เด็กเด็กเด็กเมตันเมตันเมตันเมตัน เมตันเมตัน เมตันเมตัน เมตัน เมตัน เมตัน เมตัน เมตัน เมตัน เมตัน เมตัน เมตัน เมตัน เมตัน เมตัน เมตัน เมตัน เมตัน เมตัน เมตัน เมตัน เมตัน กลุ่มเป้าหมาย คือ ประชาชนชายที่เข้าร่วมการคัดเลือกเป็นนักกีฬาเรือพายตัวแทนทีมชตาิไทย รุ่นอายุไมต่ำกว่า 50 ปี ในปี พ.ศ.2565 จำนวน 42 คน ประกอบด้วย กลุ่มคนถนัดพายทางขว 23า คน และกลุ่มคนถนัดพายทางซ้าย 19 คนเครืองมือที่ใช้ในการวจัยเป็นแบบทดสอบสมรรถภาพของนักกีฬาเรอืพายของสมาคมกีฬาเรือพายแห่งประเทศไทย จนำวน 3 รายการ ได้แก่ 1) การทดสอบการนอนดันบาร์เล2นาที ที่น้ำหนัก 80% ของน้ำหนักตัว 2) การทดสอบการนอนดึงบาร์เบล 2 นาที ที่น้ำหนัก 80% ของน้ำหนักตัว 3)500 เมตร วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์หสัมพันธ์แบเพียร์สัน (Pearson's product-矩相关系数)โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปผลการวจัย:(1) ค่าสัมประสิทธิ์สหัมพันธ์ระห่างการนอนดันบาร์เบลักบารนอนดึงบาร์เบลองคนถนัดพายทางขวา เท่ากับ .783 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 (2) ค่าสัมประสิทธิ์สหัมพันธ์ระหว่างกรนอนดันบาร์เบลกับารนอนดึงบาร์เบลของคนถนัดพายทางซ้าย เท่ากับ .765 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 (3) ค่าสัมประสิทธิ์สหัมพันธ์ระหว่างการนอนดันบาร์เบลกับารนอนดึงบาร์เบลของคนถนัดพายทางขวาและทางซ้ายรวมกัน เท่ากับ .782 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 (4) ค่าสัมประสิทธิ์สหัมพันธ์ระหว่างการนอนดันบาร์เเท่ากรพายบนเครื่องพายรือยู่กับที่ของคนถนัดพายทางขวา เท่ากับ -.469 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 (5) ค่าสัมประสิทธิ์สหัมพันธ์ระหว่างการนอนดันบาร์เบลักบารพายบนเครื่องพายเรือยู่กับที่ของคนพายทางซ้าย เท่าับ -.327 อย่างไม่ีนัยสำคัญที่ระดับ .05 (6) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างกรนอนดันบาร์เบลักบารพายนเครื่องพายเรือยู่กับที่ของคนถนัดพายทาขงวาและทางซ้ายรวมกัน เท่ากบั -.420 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 (7) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการนอนดึงบาร์เบลักบารพายบนเรื่องพายเรือออยู่กับที่ของคนถนัดพายทางขวา เท่ากับ -.706 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 (8) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการนอนดึงบาร์เบลักบารพายบนเรอือยู่กับที่ของคนถนัดพายทงซ้ายเท่ากบั -.323 อย่างไม่ีนัยสำคัญที่ระดับ .05 และ (9) ค่าสัมประสิทธิ์หสัมพันธ์ระหว่างการนอนดึงบาร์เบลักบารพายบนเครือกบที่อขงคนถนัดพายทางขวาและทางซ้ายรวมกัน เท่ากับ -.541 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01สรุปผล:ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์แสดงให้เห็นว่าความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพของการนอนดันบาร์เบล、เด็กเด็กเด็กทยยยยยยยยยยยยยยยยยออออออออยู่กับที่ได้รับผลกระทบอย่างมากจากความสามารถในการพายเรือ ไม่ว่าจะซ้าย ขวา หรอออทั้งสองอย่าง การออออย่าง การออออออย่าง การอออออออย่าง เบลและการพายบนเครื่องพายเรือยู่กับที่ มีความสัมพันธ์เชิงลบอย่างชัดเจน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มการพายเรือด้านขวา ในขณะที่ การนอนดันบาร์เบ และ การนอนดึงบาร์เบลแสดงความสัพันธ์เชิงบวกที่แข็งแกร่งในกลุ่การพายทั้งด้านขวาและด้านซ้าย นอกจากนี้ สำหรับทุกกลุ่มความสามารถ↩การนอนดึงบาร์เบลยังแสดงความสัมพันธ์เชิงลบอย่างต่อเนื่องกับประสิทธิภาพของการพายบนเครื่องพายเรืออยู่กับที่ซึ่งบ่งบอกถึงผลกระทบที่เป็นเอกลักษณ์ของค
{"title":"ความสัมพันธ์ระหว่างการนอนดันบาร์เบลกับการนอนดึงบาร์เบล การนอนดันบาร์เบลกับการพายบนเครื่องพายเรืออยู่กับที่และการนอนดึงบาร์เบลกับการพายบนเครื่องพายเรืออยู่กับที่ของนักกีฬาเรือพายที่เข้าร่วมการคัดเลือกเป็นนักกีฬาตัวแทนทีมชาติไทยรุ่นอายุไม่ต่ำกว่า 50 ปี ประจำปี 2565","authors":"เกรียงไกร รอดปัญญา, ประกิต หงส์แสนยาธรรม","doi":"10.60027/iarj.2024.274419","DOIUrl":"https://doi.org/10.60027/iarj.2024.274419","url":null,"abstract":"ภูมิหลังและวัตถุประสงค์:                     การกีฬาเป็นสิ่งที่มีจุดประสงค์พื้นฐานที่จะส่งเสริมให้ร่างกายแข็งแรงและสามารถที่จะแสดงฝีมือในเชิงกีฬา กีฬาเรือพายเป็นกีฬาที่ใช้ความอดทนและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ เป็นปัจจัยสำคัญ โดยมีความสัมพันธ์ของทีมและทักษะของการพายเป็นปัจจัยร่วมในการทำงานของร่างกาย งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการนอนดันบาร์เบลกับการนอนดึงบาร์เบล การนอนดันบาร์เบลกับการพายบนเครื่องพายเรืออยู่กับที่และการนอนดึงบาร์เบลกับการพายบนเครื่องพายเรืออยู่กับที่\u0000ระเบียบวิธีการวิจัย:       กลุ่มเป้าหมาย คือ ประชาชนชายที่เข้าร่วมการคัดเลือกเป็นนักกีฬาเรือพายตัวแทนทีมชาติไทย รุ่นอายุไม่ต่ำกว่า 50 ปี ในปี พ.ศ. 2565 จำนวน 42 คน ประกอบด้วย กลุ่มคนถนัดพายทางขวา 23 คน และกลุ่มคนถนัดพายทางซ้าย 19 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบทดสอบสมรรถภาพของนักกีฬาเรือพายของสมาคมกีฬาเรือพายแห่งประเทศไทย จำนวน 3 รายการ ได้แก่ 1) การทดสอบการนอนดันบาร์เบล 2นาที ที่น้ำหนัก 80% ของน้ำหนักตัว 2) การทดสอบการนอนดึงบาร์เบล 2 นาที ที่น้ำหนัก 80% ของน้ำหนักตัว 3) การทดสอบการพายบนเครื่องพายเรืออยู่กับที่ ระยะ 500 เมตร วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s product-moment correlation coefficient) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป\u0000ผลการวิจัย: (1) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการนอนดันบาร์เบลกับการนอนดึงบาร์เบลของคนถนัดพายทางขวา เท่ากับ .783 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 (2) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการนอนดันบาร์เบลกับการนอนดึงบาร์เบลของคนถนัดพายทางซ้าย เท่ากับ .765 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 (3) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการนอนดันบาร์เบลกับการนอนดึงบาร์เบลของคนถนัดพายทางขวาและทางซ้ายรวมกัน เท่ากับ .782 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 (4) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการนอนดันบาร์เบลกับการพายบนเครื่องพายเรืออยู่กับที่ของคนถนัดพายทางขวา เท่ากับ -.469 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 (5) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการนอนดันบาร์เบลกับการพายบนเครื่องพายเรืออยู่กับที่ของคนพายทางซ้าย เท่ากับ -.327 อย่างไม่มีนัยสำคัญที่ระดับ .05 (6) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการนอนดันบาร์เบลกับการพายบนเครื่องพายเรืออยู่กับที่ของคนถนัดพายทางขวาและทางซ้ายรวมกัน เท่ากับ -.420 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 (7) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการนอนดึงบาร์เบลกับการพายบนเครื่องพายเรืออยู่กับที่ของคนถนัดพายทางขวา เท่ากับ -.706 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 (8) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการนอนดึงบาร์เบลกับการพายบนเครื่องพายเรืออยู่กับที่ของคนถนัดพายทางซ้ายเท่ากับ -.323 อย่างไม่มีนัยสำคัญที่ระดับ .05 และ (9) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างการนอนดึงบาร์เบลกับการพายบนเครื่องพายเรืออยู่กับที่ของคนถนัดพายทางขวาและทางซ้ายรวมกัน เท่ากับ -.541 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01\u0000สรุปผล: ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์แสดงให้เห็นว่าความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพของการนอนดันบาร์เบล, การนอนดึงบาร์เบลและการพายบนเครื่องพายเรืออยู่กับที่ได้รับผลกระทบอย่างมากจากความสามารถในการพายเรือ ไม่ว่าจะซ้าย ขวา หรือทั้งสองอย่าง การนอนดันบาร์เบล และการพายบนเครื่องพายเรืออยู่กับที่ มีความสัมพันธ์เชิงลบอย่างชัดเจน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มการพายเรือด้านขวา ในขณะที่ การนอนดันบาร์เบล และ การนอนดึงบาร์เบล แสดงความสัมพันธ์เชิงบวกที่แข็งแกร่งในกลุ่มการพายทั้งด้านขวาและด้านซ้าย นอกจ","PeriodicalId":505621,"journal":{"name":"Interdisciplinary Academic and Research Journal","volume":"14 19","pages":""},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2024-07-22","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"141814369","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
期刊
Interdisciplinary Academic and Research Journal
全部 Acc. Chem. Res. ACS Applied Bio Materials ACS Appl. Electron. Mater. ACS Appl. Energy Mater. ACS Appl. Mater. Interfaces ACS Appl. Nano Mater. ACS Appl. Polym. Mater. ACS BIOMATER-SCI ENG ACS Catal. ACS Cent. Sci. ACS Chem. Biol. ACS Chemical Health & Safety ACS Chem. Neurosci. ACS Comb. Sci. ACS Earth Space Chem. ACS Energy Lett. ACS Infect. Dis. ACS Macro Lett. ACS Mater. Lett. ACS Med. Chem. Lett. ACS Nano ACS Omega ACS Photonics ACS Sens. ACS Sustainable Chem. Eng. ACS Synth. Biol. Anal. Chem. BIOCHEMISTRY-US Bioconjugate Chem. BIOMACROMOLECULES Chem. Res. Toxicol. Chem. Rev. Chem. Mater. CRYST GROWTH DES ENERG FUEL Environ. Sci. Technol. Environ. Sci. Technol. Lett. Eur. J. Inorg. Chem. IND ENG CHEM RES Inorg. Chem. J. Agric. Food. Chem. J. Chem. Eng. Data J. Chem. Educ. J. Chem. Inf. Model. J. Chem. Theory Comput. J. Med. Chem. J. Nat. Prod. J PROTEOME RES J. Am. Chem. Soc. LANGMUIR MACROMOLECULES Mol. Pharmaceutics Nano Lett. Org. Lett. ORG PROCESS RES DEV ORGANOMETALLICS J. Org. Chem. J. Phys. Chem. J. Phys. Chem. A J. Phys. Chem. B J. Phys. Chem. C J. Phys. Chem. Lett. Analyst Anal. Methods Biomater. Sci. Catal. Sci. Technol. Chem. Commun. Chem. Soc. Rev. CHEM EDUC RES PRACT CRYSTENGCOMM Dalton Trans. Energy Environ. Sci. ENVIRON SCI-NANO ENVIRON SCI-PROC IMP ENVIRON SCI-WAT RES Faraday Discuss. Food Funct. Green Chem. Inorg. Chem. Front. Integr. Biol. J. Anal. At. Spectrom. J. Mater. Chem. A J. Mater. Chem. B J. Mater. Chem. C Lab Chip Mater. Chem. Front. Mater. Horiz. MEDCHEMCOMM Metallomics Mol. Biosyst. Mol. Syst. Des. Eng. Nanoscale Nanoscale Horiz. Nat. Prod. Rep. New J. Chem. Org. Biomol. Chem. Org. Chem. Front. PHOTOCH PHOTOBIO SCI PCCP Polym. Chem.
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
0
微信
客服QQ
Book学术公众号 扫码关注我们
反馈
×
意见反馈
请填写您的意见或建议
请填写您的手机或邮箱
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
现在去查看 取消
×
提示
确定
Book学术官方微信
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术
文献互助 智能选刊 最新文献 互助须知 联系我们:info@booksci.cn
Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。
Copyright © 2023 Book学术 All rights reserved.
ghs 京公网安备 11010802042870号 京ICP备2023020795号-1