首页 > 最新文献

Suranaree Journal of Social Science最新文献

英文 中文
การประเมินมูลค่าความเต็มใจที่จะยอมรับค่าชดเชยของชุมชนจากโรงไฟฟ้าพลังงานขยะ กรณีศึกษาตำบลดงแดง อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด 垃圾发电厂的社区赔偿评估
Pub Date : 2022-03-18 DOI: 10.55766/dmcl6269
จักรกฤช เจียวิริยบุญญา, ธารวิมล บรรจง, ปณิธิ มิ่งมงคลเมือง, นรชิต จิรสัทธรรม
วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อประเมินความเต็มใจที่จะยอมรับค่าชดเชยของชุมชนจากการก่อสร้างโรงงานไฟฟ้าพลังงานขยะ วิธีการศึกษาคือการสมมติเหตุการณ์ให้ประเมินค่าเพื่อทำการประเมินการยอมรับจากสถานการณ์ที่สมมติขึ้น ข้อมูลได้ถูกจัดเก็บจากกลุ่มตัวอย่างใน ตำบลดงแดง อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด ด้วยการสำรวจตัวเลือกสองชั้นที่มีคำถามปลายปิด ข้อมูลถูกประมาณค่าให้อยู่ในรูป Log-likelihood function เพื่อยืนยันผลทางสถิติระหว่างตัวแปรต่าง ๆ การประมาณการนำเสนอสองกรณีคือ กรณีของผู้ที่อาศัยในพื้นที่เกษตรกรรมที่ใกล้กับโรงไฟฟ้าและกรณีของผู้ที่อาศัยในพื้นที่ ๆรถบรรทุกขยะสัญจรประจำ ผลการศึกษาเผยว่าในกรณีของผู้ที่ใกล้โรงงานไฟฟ้านั้น อายุ ปีที่ได้รับการศึกษา การคาดการณ์ผลทระทบของโรงงานไฟฟ้า และความรู้เกี่ยวกับโรงงานไฟฟ้า กำหนดระดับของโอกาสการยอมรับโรงงานไฟฟ้าในทางสถิติ กลุ่มตัวอย่างเต็มใจที่จะยอมรับค่าชดเชยที่ 75,000 บาท/ครัวเรือน ในอีกทางหนึ่ง ตัวแปรกำหนดระดับของโอกาสยอมรับของผู้ที่อยู่ในพื้นที่สัญจรของรถบรรทุกคือ ทัศนคติทางบวกต่อโรงงานไฟฟ้าและความต้องการสาธารณูปโภคจำเป็น พวกเขาเต็มใจที่จะยอมรับค่าชดเชยที่ 14,250 บาท/ครัวเรือน การศึกษานี้เสนอให้ผู้ดำเนินนโยบายควรพิจารณาใช้การประเมินมูลค่าก่อนที่ทำการจัดสรรงบประมาณไปสู่พื้นที่ ๆ มีการก่อสร้างโรงงานไฟฟ้า
该研究的目的是评估建设垃圾发电站的社区赔偿意愿。该研究的目的是假设一个事件,以假设的情况进行评估。数据通过两层问卷调查收集,以loglikkelihood函数的形式给出。为了证实这些变量之间的统计结果,两种估计是:在农田附近的人,在垃圾车附近的人,在研究预测电厂的年份,以及对电厂的了解,样本愿意接受75000元/户的补偿。变量决定了人们在卡车轨道上的接受机会的程度,即他们对电厂的积极态度和公用事业的需求,他们愿意接受14,250克/户的赔偿。
{"title":"การประเมินมูลค่าความเต็มใจที่จะยอมรับค่าชดเชยของชุมชนจากโรงไฟฟ้าพลังงานขยะ กรณีศึกษาตำบลดงแดง อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด","authors":"จักรกฤช เจียวิริยบุญญา, ธารวิมล บรรจง, ปณิธิ มิ่งมงคลเมือง, นรชิต จิรสัทธรรม","doi":"10.55766/dmcl6269","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/dmcl6269","url":null,"abstract":"วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อประเมินความเต็มใจที่จะยอมรับค่าชดเชยของชุมชนจากการก่อสร้างโรงงานไฟฟ้าพลังงานขยะ วิธีการศึกษาคือการสมมติเหตุการณ์ให้ประเมินค่าเพื่อทำการประเมินการยอมรับจากสถานการณ์ที่สมมติขึ้น ข้อมูลได้ถูกจัดเก็บจากกลุ่มตัวอย่างใน ตำบลดงแดง อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด ด้วยการสำรวจตัวเลือกสองชั้นที่มีคำถามปลายปิด ข้อมูลถูกประมาณค่าให้อยู่ในรูป Log-likelihood function เพื่อยืนยันผลทางสถิติระหว่างตัวแปรต่าง ๆ การประมาณการนำเสนอสองกรณีคือ กรณีของผู้ที่อาศัยในพื้นที่เกษตรกรรมที่ใกล้กับโรงไฟฟ้าและกรณีของผู้ที่อาศัยในพื้นที่ ๆรถบรรทุกขยะสัญจรประจำ ผลการศึกษาเผยว่าในกรณีของผู้ที่ใกล้โรงงานไฟฟ้านั้น อายุ ปีที่ได้รับการศึกษา การคาดการณ์ผลทระทบของโรงงานไฟฟ้า และความรู้เกี่ยวกับโรงงานไฟฟ้า กำหนดระดับของโอกาสการยอมรับโรงงานไฟฟ้าในทางสถิติ กลุ่มตัวอย่างเต็มใจที่จะยอมรับค่าชดเชยที่ 75,000 บาท/ครัวเรือน ในอีกทางหนึ่ง ตัวแปรกำหนดระดับของโอกาสยอมรับของผู้ที่อยู่ในพื้นที่สัญจรของรถบรรทุกคือ ทัศนคติทางบวกต่อโรงงานไฟฟ้าและความต้องการสาธารณูปโภคจำเป็น พวกเขาเต็มใจที่จะยอมรับค่าชดเชยที่ 14,250 บาท/ครัวเรือน การศึกษานี้เสนอให้ผู้ดำเนินนโยบายควรพิจารณาใช้การประเมินมูลค่าก่อนที่ทำการจัดสรรงบประมาณไปสู่พื้นที่ ๆ มีการก่อสร้างโรงงานไฟฟ้า","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"16 2 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2022-03-18","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"116644245","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
The Moderating Role of Passion for Service in The Hospitality Industry: Burnout Model 服务热情在酒店业中的调节作用:倦怠模型
Pub Date : 2022-03-10 DOI: 10.55766/aasd6482
Chakrit Srisakun, Wanny Oentoro
The objective of this research was to study the moderating effect of passion for service toward the relationship between burnout and intention to leave among the frontline employees who work in a hotel chains in Bangkok, the targeted population includes 63 hotel-chains in Bangkok, and 554 frontline employees contained suitable data and the moderated multiple regression analysis. The result indicates that passion for service performed the role to reduce the impact of emotional exhaustion and depersonalization on the intention to leave significantly. Based on these finding, the suggestion can be made that the recruiting and retaining the passionate frontline employees who have a passion to work, especially passion to provide service to customers need to be considered as the important factor to reduce the intention to leave which can eventually lead to reduce turnover rate.
本研究的目的是研究服务热情对曼谷某连锁酒店一线员工倦怠与离职意向关系的调节作用,研究对象包括63家曼谷连锁酒店,554名一线员工包含合适的数据,并进行了有调节的多元回归分析。结果表明,服务热情显著降低了情绪耗竭和去人格化对离职意向的影响。基于这些发现,我们可以建议招聘和留住充满激情的一线员工,他们对工作充满激情,特别是对为客户提供服务充满激情,这是降低离职意愿的重要因素,最终可以降低离职率。
{"title":"The Moderating Role of Passion for Service in The Hospitality Industry: Burnout Model","authors":"Chakrit Srisakun, Wanny Oentoro","doi":"10.55766/aasd6482","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/aasd6482","url":null,"abstract":"The objective of this research was to study the moderating effect of passion for service toward the relationship between burnout and intention to leave among the frontline employees who work in a hotel chains in Bangkok, the targeted population includes 63 hotel-chains in Bangkok, and 554 frontline employees contained suitable data and the moderated multiple regression analysis. The result indicates that passion for service performed the role to reduce the impact of emotional exhaustion and depersonalization on the intention to leave significantly. Based on these finding, the suggestion can be made that the recruiting and retaining the passionate frontline employees who have a passion to work, especially passion to provide service to customers need to be considered as the important factor to reduce the intention to leave which can eventually lead to reduce turnover rate.","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"8 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2022-03-10","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"128489915","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงบูรณาการที่ส่งผลต่อโรงเรียนคุณภาพ 模型,结构方程,综合领导,影响学校质量。
Pub Date : 2022-03-10 DOI: 10.55766/lkgt5598
ศักดา พรมกุล, เสาวนี สิริสุขศิลป์
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับและอิทธิพลภาวะผู้นำเชิงบูรณาการและโรงเรียนคุณภาพ  2) ตรวจสอบความสอดคล้องความกลมกลืนของโมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงบูรณาการที่ส่งผลต่อโรงเรียนคุณภาพ ที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงบรรยาย (Descriptive  Research) กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่เป็นฟังก์ชันของจำนวนพารามิเตอร์ 15 หน่วย ต่อ 1 พารามิเตอร์  การวิจัยครั้งนี้มีจำนวน 10 พารามิเตอร์ ใช้กลุ่มประชากรจำนวน 150 หน่วย โดย 1 หน่วยจะสุ่มเก็บจากครูและผู้บริหารสถานศึกษา โดยใช้จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 300 คน วิธีการสุ่มหลายขั้นตอน (Multi-stage random sampling) ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย คือ ตัวแปรแฝง 2 ตัวแปร และตัวแปรแฝงภายใน ประกอบด้วยตัวแปรสังเกตได้ 5 ตัวแปร เครื่องมือในการวิจัย เป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) แบบสอบถามเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating scale)โดยแบบสอบถามทั้งฉบับมีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) เท่ากับ 0.943 ในการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ภาวะผู้นำเชิงบูรณาการ ส่งผลต่อโรงเรียนคุณภาพ ซึ่งสรุปผลการวิจัยได้ดังนี้ภาวะผู้นำเชิงบูรณาการของผู้บริหาร พบว่า โดยภาพรวมและรายด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือด้านมีวิสัยทัศน์เชิงบูรณาการ ส่วนด้านที่มีค่าต่ำที่สุด คือด้านทำงานเป็นทีมและด้านการมุ่งความสำเร็จระดับการเป็นโรงเรียนคุณภาพ พบว่า โดยภาพรวมและรายด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็น รายด้านพบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือด้านมีผู้บริหารมีภาวะผู้นำ ส่วนด้านที่มีค่าต่ำที่สุดคือด้านการมีส่วนร่วมของชุมชนอิทธิพลของภาวะผู้นำเชิงบูรณาการที่ส่งผลโรงเรียนคุณภาพ มีขนาดอิทธิพลรวมและอิทธิพลทางตรงเชิงบวกเท่ากับ 0.781 โดยตัวแปรภาวะผู้นำเชิงบูรณาการในโมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนของการเป็นโรงเรียนคุณภาพได้ร้อยละ 61.10 (R2=0.611)โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงบูรณาการที่ส่งผลต่อโรงเรียนคุณภาพ มีความสอดคล้องกลมกลืนกับ ข้อมูลเชิงประจักษ์ =31.525, df = 25, / df = 1.261, P-value = 0.1722, RMSEA = 0.029, SRMR = 0.025, CFI =0.997, TLI = 0.995
本研究的目的是:1)研究综合领导能力的水平和影响力,以及基于经验数据的综合领导能力。使用描述性研究方法(descriptiveResearchResearchers)确定样本的大小,即每个参数15个单位,其中10个参数为150个单位。其中一个单元是随机从教师和学校管理人员那里收集的。采用300人随机抽样的方法,研究变量为2个可观测变量,内部变量为5个可观测变量。综上所述,研究结果如下:高管的综合领导能力总体上和总体上是平均水平。考虑到边值,平均最高的边值是综合视野的边值,最小的边值是综合视野的边值。在团队合作和目标方面,高质量学校的整体水平和平均水平是非常高的。其中,平均水平最高的是行政领导能力,最低的是社区参与程度,综合领导能力对学校的影响,总影响和积极影响为0.781。综合领导变量可以描述影响综合领导能力的学校的方差。模型的综合领导能力方程是与经验数据一致的=31.525 df = 2551 P-值= 0.1722 RMSEA = 0.029, SRMR = 0.025, CFI = 0.997tli = 0.995。
{"title":"โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงบูรณาการที่ส่งผลต่อโรงเรียนคุณภาพ","authors":"ศักดา พรมกุล, เสาวนี สิริสุขศิลป์","doi":"10.55766/lkgt5598","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/lkgt5598","url":null,"abstract":"การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับและอิทธิพลภาวะผู้นำเชิงบูรณาการและโรงเรียนคุณภาพ  2) ตรวจสอบความสอดคล้องความกลมกลืนของโมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงบูรณาการที่ส่งผลต่อโรงเรียนคุณภาพ ที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงบรรยาย (Descriptive  Research) กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่เป็นฟังก์ชันของจำนวนพารามิเตอร์ 15 หน่วย ต่อ 1 พารามิเตอร์  การวิจัยครั้งนี้มีจำนวน 10 พารามิเตอร์ ใช้กลุ่มประชากรจำนวน 150 หน่วย โดย 1 หน่วยจะสุ่มเก็บจากครูและผู้บริหารสถานศึกษา โดยใช้จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 300 คน วิธีการสุ่มหลายขั้นตอน (Multi-stage random sampling) ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย คือ ตัวแปรแฝง 2 ตัวแปร และตัวแปรแฝงภายใน ประกอบด้วยตัวแปรสังเกตได้ 5 ตัวแปร เครื่องมือในการวิจัย เป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) แบบสอบถามเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating scale)โดยแบบสอบถามทั้งฉบับมีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) เท่ากับ 0.943 ในการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ภาวะผู้นำเชิงบูรณาการ ส่งผลต่อโรงเรียนคุณภาพ ซึ่งสรุปผลการวิจัยได้ดังนี้\u0000\u0000ภาวะผู้นำเชิงบูรณาการของผู้บริหาร พบว่า โดยภาพรวมและรายด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือด้านมีวิสัยทัศน์เชิงบูรณาการ ส่วนด้านที่มีค่าต่ำที่สุด คือด้านทำงานเป็นทีมและด้านการมุ่งความสำเร็จ\u0000ระดับการเป็นโรงเรียนคุณภาพ พบว่า โดยภาพรวมและรายด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็น รายด้านพบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือด้านมีผู้บริหารมีภาวะผู้นำ ส่วนด้านที่มีค่าต่ำที่สุดคือด้านการมีส่วนร่วมของชุมชน\u0000อิทธิพลของภาวะผู้นำเชิงบูรณาการที่ส่งผลโรงเรียนคุณภาพ มีขนาดอิทธิพลรวมและอิทธิพลทางตรงเชิงบวกเท่ากับ 0.781 โดยตัวแปรภาวะผู้นำเชิงบูรณาการในโมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนของการเป็นโรงเรียนคุณภาพได้ร้อยละ 61.10 (R2=0.611)\u0000โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงบูรณาการที่ส่งผลต่อโรงเรียนคุณภาพ มีความสอดคล้องกลมกลืนกับ ข้อมูลเชิงประจักษ์ =31.525, df = 25, / df = 1.261, P-value = 0.1722, RMSEA = 0.029, SRMR = 0.025, CFI =0.997, TLI = 0.995\u0000","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"104 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2022-03-10","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"121184600","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
Science Teachers’ Perceptions of Technological Pedagogical Content Knowledge (TPACK): A Case Study of Opportunity Expansion School in Chaiyaphum 科学教师对技术教学内容知识的认知——以Chaiyaphum机会拓展学校为例
Pub Date : 2022-03-09 DOI: 10.55766/msei3440
Chotikun Rinla, T. Bongkotphet, Wipharat Chuachuad Chaiyasith
       This qualitative research is a case study that examines the perceptions of Technological Pedagogical Content Knowledge (TPACK) of three lower secondary science teachers from Opportunity Expansion School in Chaiyaphum. Data was collected from teacher interviews, lesson plans, and classroom observations. Data was analyzed through content analysis and methodological triangulation was used to ensure the credibility of this research. The results reveal that most of the teachers perceived that their content knowledge was consistent with scientific concepts. However, they perceived that their technological pedagogical content knowledge was inconsistent with the TPACK framework. The teachers were more likely to use technology in their lectures which reflects that they could not use technology-specific content and pedagogy due to lacking knowledge how to integrate content, pedagogy, and technology. The findings from the present study could be used to design professional development programs to enhance technological pedagogical content knowledge for lower secondary science teachers in Opportunity Expansion Schools.
本定性研究是一个案例研究,探讨了来自Chaiyaphum的机会扩展学校的三名初中科学教师对技术教学内容知识(TPACK)的看法。数据收集自教师访谈、教案和课堂观察。数据分析通过内容分析和方法三角测量,以确保本研究的可信度。结果显示,大多数教师认为他们的内容知识与科学概念是一致的。然而,他们认为他们的技术教学内容知识与TPACK框架不一致。教师更倾向于在讲课中使用技术,这反映了他们缺乏如何整合内容、教学法和技术的知识,无法使用特定于技术的内容和教学法。本研究结果可用于设计专业发展计划,以提高机会拓展学校初中科学教师的技术教学内容知识。
{"title":"Science Teachers’ Perceptions of Technological Pedagogical Content Knowledge (TPACK): A Case Study of Opportunity Expansion School in Chaiyaphum","authors":"Chotikun Rinla, T. Bongkotphet, Wipharat Chuachuad Chaiyasith","doi":"10.55766/msei3440","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/msei3440","url":null,"abstract":"       This qualitative research is a case study that examines the perceptions of Technological Pedagogical Content Knowledge (TPACK) of three lower secondary science teachers from Opportunity Expansion School in Chaiyaphum. Data was collected from teacher interviews, lesson plans, and classroom observations. Data was analyzed through content analysis and methodological triangulation was used to ensure the credibility of this research. The results reveal that most of the teachers perceived that their content knowledge was consistent with scientific concepts. However, they perceived that their technological pedagogical content knowledge was inconsistent with the TPACK framework. The teachers were more likely to use technology in their lectures which reflects that they could not use technology-specific content and pedagogy due to lacking knowledge how to integrate content, pedagogy, and technology. The findings from the present study could be used to design professional development programs to enhance technological pedagogical content knowledge for lower secondary science teachers in Opportunity Expansion Schools.","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"552 ","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2022-03-09","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"120861987","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การวิเคราะห์เส้นทางของปัจจัยการบริหารจัดการภายในมหาวิทยาลัยที่ส่งผลต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวตามแนวคิดของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร ด้วยวิธีสมการโครงสร้างแบบกำลังสองน้อยที่สุดบางส่วน 基于最小平方结构方程的方法,分析了影响绿色大学录取的大学内部管理因素的路径。
Pub Date : 2022-03-08 DOI: 10.55766/cvjg9562
จักเรศ เมตตะธำรงค์, ปภาวิน พชรโชติสุธี, กมลทิพย์ นวมโคกสูง
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยของการบริหารจัดการภายในมหาวิทยาลัยที่ส่งผลต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว และ 2) วิเคราะห์อิทธิพลของการบริหารจัดการภายในมหาวิทยาลัยที่ส่งผลต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร จำนวน 450 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือแบบสอบถาม ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการ PLS-SEM เพื่อวัดความสัมพันธ์ระหว่างกันของตัวแปร ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ 1) ผลการศึกษาปัจจัยของการบริหารจัดการภายในมหาวิทยาลัยประกอบด้วย การบริหารงานของผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ โครงสร้างการทำงาน การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว กิจกรรมภายในมหาวิทยาลัย การสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อม แรงจูงใจในการรักษาสิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยี ซึ่งการที่นักศึกษามีแรงผลักดันที่จะรักษาสิ่งแวดล้อมมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือนักศึกษาต้องการร่วมรณรงค์ในทุกกิจกรรมและมหาวิทยาลัยมีบรรยากาศที่ดีต่อการเรียนรู้ และ 2) ผลการวิเคราะห์อิทธิพลของการบริหารจัดการภายในมหาวิทยาลัยที่ส่งผลต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว วิเคราะห์ด้วยแบบจำลอง Outer และ Inner ผลการวิเคราะห์มีความเที่ยงตรงและน่าเชื่อถือ ผลการวิเคราะห์มีดังนี้ การบริหารงานของผู้บริหารและเจ้าหน้าที่มีอิทธิพลทางตรงต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว โครงสร้างการทำงานมีอิทธิพลทางตรงต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว กิจกรรมภายในมหาวิทยาลัยมีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว และแรงจูงใจการรักษาสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลทางตรงต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว
本研究的目的是:1)研究绿色大学内部管理的影响因素,2)分析绿色大学内部管理的影响因素。为了测量变量之间的关系,研究总结如下:1)大学内部管理因素的研究结果包括管理人员和官员的管理,绿色大学的运作结构,环境和环境建设,环境保护的动机和技术。第二,学生想要参加所有活动,大学有一个良好的学习氛围,第二,对绿色大学的管理影响进行分析,结果是准确可靠的。行政管理和官员对绿色校园有直接的影响,工作结构对绿色校园有直接的影响,校园活动对绿色校园有直接和间接的影响,环境保护对绿色校园有直接和间接的影响。
{"title":"การวิเคราะห์เส้นทางของปัจจัยการบริหารจัดการภายในมหาวิทยาลัยที่ส่งผลต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวตามแนวคิดของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร ด้วยวิธีสมการโครงสร้างแบบกำลังสองน้อยที่สุดบางส่วน","authors":"จักเรศ เมตตะธำรงค์, ปภาวิน พชรโชติสุธี, กมลทิพย์ นวมโคกสูง","doi":"10.55766/cvjg9562","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/cvjg9562","url":null,"abstract":"การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยของการบริหารจัดการภายในมหาวิทยาลัยที่ส่งผลต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว และ 2) วิเคราะห์อิทธิพลของการบริหารจัดการภายในมหาวิทยาลัยที่ส่งผลต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร จำนวน 450 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือแบบสอบถาม ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการ PLS-SEM เพื่อวัดความสัมพันธ์ระหว่างกันของตัวแปร ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ 1) ผลการศึกษาปัจจัยของการบริหารจัดการภายในมหาวิทยาลัยประกอบด้วย การบริหารงานของผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ โครงสร้างการทำงาน การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว กิจกรรมภายในมหาวิทยาลัย การสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อม แรงจูงใจในการรักษาสิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยี ซึ่งการที่นักศึกษามีแรงผลักดันที่จะรักษาสิ่งแวดล้อมมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือนักศึกษาต้องการร่วมรณรงค์ในทุกกิจกรรมและมหาวิทยาลัยมีบรรยากาศที่ดีต่อการเรียนรู้ และ 2) ผลการวิเคราะห์อิทธิพลของการบริหารจัดการภายในมหาวิทยาลัยที่ส่งผลต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว วิเคราะห์ด้วยแบบจำลอง Outer และ Inner ผลการวิเคราะห์มีความเที่ยงตรงและน่าเชื่อถือ ผลการวิเคราะห์มีดังนี้ การบริหารงานของผู้บริหารและเจ้าหน้าที่มีอิทธิพลทางตรงต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว โครงสร้างการทำงานมีอิทธิพลทางตรงต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว กิจกรรมภายในมหาวิทยาลัยมีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว และแรงจูงใจการรักษาสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลทางตรงต่อการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"6 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2022-03-08","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"116827005","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
วัยรุ่นที่มีความหลากหลายทางเพศ: การดูแลช่วยเหลืออย่างเข้าใจ 青少年性取向:理解性关怀
Pub Date : 2022-03-07 DOI: 10.55766/hjjy8282
ปิยวรรณ วิเศษสุวรรณภูมิ, ชนัญชิดา ทุมมานนท์, ชุติมณฑน์ คล้ายแก้ว, กรผกา พัฒนกำพล
บทความนี้นำเสนอสถานการณ์ของวัยรุ่นที่มีความหลากหลายทางเพศในปัจจุบัน และความซับซ้อนของพัฒนาการวัยรุ่นที่มีความหลากหลายทางเพศ รวมถึงแนวทางสำหรับครอบครัวและโรงเรียนในการดูแลช่วยเหลือวัยรุ่นที่มีความหลากหลายทางเพศ  ผู้เขียนได้สังเคราะห์งานวิจัยไทยและต่างประเทศ ประกอบการอภิปรายแง่มุมของสถานการณ์ของวัยรุ่นที่มีความหลากหลายทางเพศในปัจจุบัน  แม้ว่าสังคมส่วนใหญ่จะให้การยอมรับกับความหลากหลายทางเพศ ประเทศต่าง ๆ ออกกฎหมายเพื่อปกป้องสิทธิของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศยังมีวัยรุ่นที่มีความหลากหลายทางเพศจำนวนมากถูกเลือกปฏิบัติ  และไม่ได้รับการยอมรับจากทั้งครอบครัวและบุคคลรอบข้าง วัยรุ่นที่มีความหลากหลายทางเพศจึงต้องเผชิญทั้งความท้าทายของพัฒนาการวัยรุ่นที่ต้องข้ามผ่าน และสถานการณ์ภายนอกที่มากระทบ ในขณะที่ยังมีบุคคลที่เกี่ยวข้องกับวัยรุ่นอีกจำนวนมาก เช่น คนในครอบครัวและโรงเรียนที่ยังไม่เข้าใจภาวะต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับพวกเขา ดังนั้น   คนในครอบครัวและโรงเรียนที่มีความเข้าใจกับสถานการณ์ที่วัยรุ่นที่มีความหลากหลายทางเพศจะช่วยให้วัยรุ่นสามารถปรับตัวและมีพัฒนาการที่เหมาะสมเมื่ออยู่ในช่วงวัยรุ่น และลดความเสี่ยงต่อปัญหาต่าง ๆ ที่ตามมาได้ ตอนท้ายของบทความได้นำเสนอแนวทางในการช่วยเหลือดูแลสำหรับครอบครัวและโรงเรียนเพื่อให้วัยรุ่นที่มีความหลากหลายทางเพศได้เติบโตเป็นเยาวชนที่มีคุณภาพ
本文介绍了当前青少年性别多样性的现状和青少年发展的复杂性,以及家庭和学校对青少年性别多样性的指导方针。尽管大多数社会都承认性别多样性,但国家通过法律来保护个人的权利,许多性别多样性的青少年也受到了家庭和周围人的歧视和不被接受,因此性别多样性的青少年面临着发展需要克服的挑战和外部环境的影响。与此同时,还有很多与青少年有关的人。例如,家庭和学校不了解他们的情况,家庭和学校也不了解青少年的情况,他们可以帮助青少年在青少年时期适应和发展适当的情况,并减少他们在家庭和学校面临的风险,以帮助青少年成为高质量的青少年。
{"title":"วัยรุ่นที่มีความหลากหลายทางเพศ: การดูแลช่วยเหลืออย่างเข้าใจ","authors":"ปิยวรรณ วิเศษสุวรรณภูมิ, ชนัญชิดา ทุมมานนท์, ชุติมณฑน์ คล้ายแก้ว, กรผกา พัฒนกำพล","doi":"10.55766/hjjy8282","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/hjjy8282","url":null,"abstract":"บทความนี้นำเสนอสถานการณ์ของวัยรุ่นที่มีความหลากหลายทางเพศในปัจจุบัน และความซับซ้อนของพัฒนาการวัยรุ่นที่มีความหลากหลายทางเพศ รวมถึงแนวทางสำหรับครอบครัวและโรงเรียนในการดูแลช่วยเหลือวัยรุ่นที่มีความหลากหลายทางเพศ  ผู้เขียนได้สังเคราะห์งานวิจัยไทยและต่างประเทศ ประกอบการอภิปรายแง่มุมของสถานการณ์ของวัยรุ่นที่มีความหลากหลายทางเพศในปัจจุบัน  แม้ว่าสังคมส่วนใหญ่จะให้การยอมรับกับความหลากหลายทางเพศ ประเทศต่าง ๆ ออกกฎหมายเพื่อปกป้องสิทธิของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศยังมีวัยรุ่นที่มีความหลากหลายทางเพศจำนวนมากถูกเลือกปฏิบัติ  และไม่ได้รับการยอมรับจากทั้งครอบครัวและบุคคลรอบข้าง วัยรุ่นที่มีความหลากหลายทางเพศจึงต้องเผชิญทั้งความท้าทายของพัฒนาการวัยรุ่นที่ต้องข้ามผ่าน และสถานการณ์ภายนอกที่มากระทบ ในขณะที่ยังมีบุคคลที่เกี่ยวข้องกับวัยรุ่นอีกจำนวนมาก เช่น คนในครอบครัวและโรงเรียนที่ยังไม่เข้าใจภาวะต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับพวกเขา ดังนั้น   คนในครอบครัวและโรงเรียนที่มีความเข้าใจกับสถานการณ์ที่วัยรุ่นที่มีความหลากหลายทางเพศจะช่วยให้วัยรุ่นสามารถปรับตัวและมีพัฒนาการที่เหมาะสมเมื่ออยู่ในช่วงวัยรุ่น และลดความเสี่ยงต่อปัญหาต่าง ๆ ที่ตามมาได้ ตอนท้ายของบทความได้นำเสนอแนวทางในการช่วยเหลือดูแลสำหรับครอบครัวและโรงเรียนเพื่อให้วัยรุ่นที่มีความหลากหลายทางเพศได้เติบโตเป็นเยาวชนที่มีคุณภาพ","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"107 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2022-03-07","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"123202641","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
Construction and Implications of Cannabis Discourse in Thailand’s Cannabis Legalization: A Comparative Study of English-language Traditional and New Media 泰国大麻合法化中大麻话语的建构与启示:英语传统媒体与新媒体的比较研究
Pub Date : 2022-02-28 DOI: 10.55766/aumo7803
Udomsak Sirita
Although news reports about cannabis legalization in Thailand were constructed on medical cannabis, several discourses were found in cannabis legalization in traditional and new media. Consequently, the purpose of this research is to examine how English-language texts were linguistically constructed to support or oppose Thailand’s cannabis legalization found in newspaper reports and posts on social media. This study is a qualitative research employing Critical Discourse Analysis (CDA) as the main theoretical framework in which texts were analyzed by using a linguistic analysis tool. The finding suggests that cannabis is constructed as an economic crop, a national property protected for only Thais, a patient benefit, traditional medicine, and a normal thing in pro-movement found in both Bangkok Post Newspaper and Highland Network Page which discourses are related to economic, social, cultural, political, and scientific dimensions. Furthermore, cannabis represented as traditional medicine is an outstanding discourse found in Thai context, which is rarely found in previous studies. However, Highland Network Page tends to provide the only positive side of cannabis and cannabis legalization. Although the negative implications of cannabis were mostly found in Bangkok Post, anti-movement contents were not explicitly reported. The construction of cannabis discourse also reveals the movement of social actors such as patients and activists campaigning against hegemony, farmers in the unfair economic system, healthcare system problems, and stigmatized cannabis users in Thailand.
虽然泰国大麻合法化的新闻报道以医用大麻为基础,但在传统媒体和新媒体中,大麻合法化也存在一些话语。因此,本研究的目的是研究在报纸报道和社交媒体上发现的英语文本是如何在语言上构建以支持或反对泰国大麻合法化的。本研究是以批评性话语分析为主要理论框架,运用语言分析工具对语篇进行分析的定性研究。研究结果显示,大麻被建构为一种经济作物,一种仅为泰国人所保护的国家财产,一种病患利益,一种传统药物,以及在曼谷邮报和Highland Network Page的支持运动中,一种与经济、社会、文化、政治和科学维度相关的正常事物。此外,大麻作为传统药物的代表是在泰国背景下发现的杰出话语,这在以前的研究中很少发现。然而,高地网络页面倾向于提供大麻和大麻合法化的唯一积极方面。虽然《曼谷邮报》主要报道大麻的负面影响,但没有明确报道反运动内容。大麻话语的建构也揭示了社会行动者的运动,如反对霸权的患者和活动家,不公平经济制度中的农民,医疗保健系统问题,以及泰国大麻使用者的耻辱。
{"title":"Construction and Implications of Cannabis Discourse in Thailand’s Cannabis Legalization: A Comparative Study of English-language Traditional and New Media","authors":"Udomsak Sirita","doi":"10.55766/aumo7803","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/aumo7803","url":null,"abstract":"Although news reports about cannabis legalization in Thailand were constructed on medical cannabis, several discourses were found in cannabis legalization in traditional and new media. Consequently, the purpose of this research is to examine how English-language texts were linguistically constructed to support or oppose Thailand’s cannabis legalization found in newspaper reports and posts on social media. This study is a qualitative research employing Critical Discourse Analysis (CDA) as the main theoretical framework in which texts were analyzed by using a linguistic analysis tool. The finding suggests that cannabis is constructed as an economic crop, a national property protected for only Thais, a patient benefit, traditional medicine, and a normal thing in pro-movement found in both Bangkok Post Newspaper and Highland Network Page which discourses are related to economic, social, cultural, political, and scientific dimensions. Furthermore, cannabis represented as traditional medicine is an outstanding discourse found in Thai context, which is rarely found in previous studies. However, Highland Network Page tends to provide the only positive side of cannabis and cannabis legalization. Although the negative implications of cannabis were mostly found in Bangkok Post, anti-movement contents were not explicitly reported. The construction of cannabis discourse also reveals the movement of social actors such as patients and activists campaigning against hegemony, farmers in the unfair economic system, healthcare system problems, and stigmatized cannabis users in Thailand.","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"50 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2022-02-28","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"134501925","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 1
การศึกษาระบบแถวคอยของสำนักงานทะเบียนท้องถิ่นเขตลาดกระบังด้วยแบบจำลองคอมพิวเตอร์ 土地注册处的排队系统研究与计算机模型
Pub Date : 2022-02-07 DOI: 10.55766/fneo4568
พรพิมล ชัยวุฒิศักดิ์
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบแถวคอยในสำนักงานทะเบียนท้องถิ่นเขตลาดกระบังและหาแนวทางการปรับปรุงระบบการให้บริการเพื่อลดระยะเวลารอคอยโดยเฉลี่ยของประชาชนที่มารับบริการ ซึ่งงานบริการสามารถแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มบริการคือ การทำบัตรประจำตัวประชาชาชน ทะเบียนราษฎร และทะเบียนทั่วไป โดยการสร้างแบบจำลองระบบแถวคอยจากข้อมูลที่เก็บรวบรวม ตั้งแต่วันที่ 16-28 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 ในช่วงเวลา 08.00-16.00 น. โดยใช้โปรแกรมอารีน่า ทั้งนี้ตัววัดประสิทธิภาพได้แก่ ระยะเวลารอคอยโดยเฉลี่ย ค่าอรรถประโยชน์เฉลี่ยของเจ้าหน้าที่ ผลการศึกษาพบว่า เวลารอคอยโดยเฉลี่ยเท่ากับ 50 นาทีต่อคน นอกจากนี้เวลารอคอยโดยเฉลี่ยของประชาชนที่มารอรับบริการงานทะเบียนราษฎรมากกว่างานบริการอื่น ๆ รวมทั้งค่าอรรถประโยชน์เฉลี่ยของเจ้าหน้าที่ทำงานในแต่ละจุดบริการไม่สมดุลกัน ผู้วิจัยจึงได้นำเสนอแนวทางการปรับปรุงระบบ 4 แนวทาง โดยทางเลือกที่ดีที่สุด คือ การปรับเปลี่ยนกระบวนการทำงาน โดยทำการรวมขั้นตอนการอนุมัติบัตรและขั้นตอนการส่งมอบบัตรของงานบริการทำบัตรประจำตัวประชาชนเป็นขั้นตอนเดียว พร้อมทั้งลดจำนวนเจ้าหน้าที่ให้บริการที่จุดบริการดังกล่าว 2 คนและลดจำนวนเจ้าหน้าที่ให้บริการทะเบียนทั่วไป 2 คน เพื่อเพิ่มจำนวนเจ้าหน้าที่ให้บริการทะเบียนราษฎรแทน ทำให้เวลารอคอยโดยเฉลี่ยลดลงร้อยละ 45.91 และค่าอรรถประโยชน์เฉลี่ยของเจ้าหน้าที่ทะเบียนราษฎรลดลงร้อยละ 13.63
本研究的目的是研究斜坡区当地登记处的排队等候系统,并找到改善服务系统的方法,以减少服务人员的平均等待时间。该服务可分为三组:身份证、居民身份证和普通身份证。通过对2019年12月16日至16日下午8点至16点期间收集的数据进行排队系统建模,研究发现,平均等待时间为每人50分钟。此外,登记服务的平均等待时间比其他服务的平均等待时间要长得多,此外,每个服务点工作人员的平均福利也不平衡。因此,研究人员提出了4种改进方法,其中最好的选择是调整工作流程。将身份验证程序和身份证交付程序结合起来,简化了两名注册服务人员和两名注册服务人员的工作。因此,登记官的平均等待时间下降了45.91个百分点,登记官的平均福利下降了13.63个百分点。
{"title":"การศึกษาระบบแถวคอยของสำนักงานทะเบียนท้องถิ่นเขตลาดกระบังด้วยแบบจำลองคอมพิวเตอร์","authors":"พรพิมล ชัยวุฒิศักดิ์","doi":"10.55766/fneo4568","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/fneo4568","url":null,"abstract":"งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบแถวคอยในสำนักงานทะเบียนท้องถิ่นเขตลาดกระบังและหาแนวทางการปรับปรุงระบบการให้บริการเพื่อลดระยะเวลารอคอยโดยเฉลี่ยของประชาชนที่มารับบริการ ซึ่งงานบริการสามารถแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มบริการคือ การทำบัตรประจำตัวประชาชาชน ทะเบียนราษฎร และทะเบียนทั่วไป โดยการสร้างแบบจำลองระบบแถวคอยจากข้อมูลที่เก็บรวบรวม ตั้งแต่วันที่ 16-28 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 ในช่วงเวลา 08.00-16.00 น. โดยใช้โปรแกรมอารีน่า ทั้งนี้ตัววัดประสิทธิภาพได้แก่ ระยะเวลารอคอยโดยเฉลี่ย ค่าอรรถประโยชน์เฉลี่ยของเจ้าหน้าที่ ผลการศึกษาพบว่า เวลารอคอยโดยเฉลี่ยเท่ากับ 50 นาทีต่อคน นอกจากนี้เวลารอคอยโดยเฉลี่ยของประชาชนที่มารอรับบริการงานทะเบียนราษฎรมากกว่างานบริการอื่น ๆ รวมทั้งค่าอรรถประโยชน์เฉลี่ยของเจ้าหน้าที่ทำงานในแต่ละจุดบริการไม่สมดุลกัน ผู้วิจัยจึงได้นำเสนอแนวทางการปรับปรุงระบบ 4 แนวทาง โดยทางเลือกที่ดีที่สุด คือ การปรับเปลี่ยนกระบวนการทำงาน โดยทำการรวมขั้นตอนการอนุมัติบัตรและขั้นตอนการส่งมอบบัตรของงานบริการทำบัตรประจำตัวประชาชนเป็นขั้นตอนเดียว พร้อมทั้งลดจำนวนเจ้าหน้าที่ให้บริการที่จุดบริการดังกล่าว 2 คนและลดจำนวนเจ้าหน้าที่ให้บริการทะเบียนทั่วไป 2 คน เพื่อเพิ่มจำนวนเจ้าหน้าที่ให้บริการทะเบียนราษฎรแทน ทำให้เวลารอคอยโดยเฉลี่ยลดลงร้อยละ 45.91 และค่าอรรถประโยชน์เฉลี่ยของเจ้าหน้าที่ทะเบียนราษฎรลดลงร้อยละ 13.63","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"22 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2022-02-07","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"121525770","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
The Effect of Math Ability and English Ability on Graduate Academic Performance Using Database of the International Private University 利用国际私立大学数据库研究数学能力和英语能力对研究生学业成绩的影响
Pub Date : 2022-02-03 DOI: 10.55766/jaae8962
Sumredj Aryupong, Pirat Amornsupasiri, Sittipon Sangsa-ard
       The purposes of this study are to examine the relationship between student demographics and Math ability and English ability; to examine the relationship between student academic background and Math ability and English ability; to examine the relationship between Math ability and English ability and graduate academic performance using database of the international private university. This study collected data of graduates from the database of the international private university to test hypotheses with three sets of data; the first set was combined from four graduate batches (batches 44-47), the second set was one latest batch (batch 47), and the third set was sample taking 10% from total four batches. Data were analyzed with multiple regression analysis, independent sample t-test, and one-way ANOVA. The results found that student demographics (gender, age, and nationality), and their academic background (types of school, math skills in high school, and majors) determined their Math ability and English ability, except types of high school on Math ability. In addition, both Math and English abilities also influenced graduate performance.
摘要本研究旨在探讨学生人口统计学与数学能力、英语能力的关系;考察学生学术背景与数学能力、英语能力的关系;利用国际私立大学数学能力、英语能力与研究生学业成绩之间的关系。本研究从国际私立大学的毕业生数据库中收集数据,用三组数据检验假设;第一组是由四个研究生批次(44-47批次)组合而成的,第二组是一个最新批次(47批次),第三组是从四个批次中抽取10%的样本。数据分析采用多元回归分析、独立样本t检验和单因素方差分析。结果显示,除高中类型影响数学能力外,性别、年龄、国籍等人口统计因素和学校类型、高中数学能力、专业等学历背景对数学能力和英语能力有影响。此外,数学和英语能力也会影响毕业生的表现。
{"title":"The Effect of Math Ability and English Ability on Graduate Academic Performance Using Database of the International Private University","authors":"Sumredj Aryupong, Pirat Amornsupasiri, Sittipon Sangsa-ard","doi":"10.55766/jaae8962","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/jaae8962","url":null,"abstract":"       The purposes of this study are to examine the relationship between student demographics and Math ability and English ability; to examine the relationship between student academic background and Math ability and English ability; to examine the relationship between Math ability and English ability and graduate academic performance using database of the international private university. This study collected data of graduates from the database of the international private university to test hypotheses with three sets of data; the first set was combined from four graduate batches (batches 44-47), the second set was one latest batch (batch 47), and the third set was sample taking 10% from total four batches. Data were analyzed with multiple regression analysis, independent sample t-test, and one-way ANOVA. The results found that student demographics (gender, age, and nationality), and their academic background (types of school, math skills in high school, and majors) determined their Math ability and English ability, except types of high school on Math ability. In addition, both Math and English abilities also influenced graduate performance.","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"6 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2022-02-03","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"130398424","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
Knowledge Management Capability and Innovativeness of Public Organizations: Examining the Moderating Roles of Social Capital and Creative Organizational Climate 公共组织知识管理能力与创新:社会资本和创新组织氛围的调节作用
Pub Date : 2022-01-27 DOI: 10.55766/dzxj8971
Panissara Naowakhoaksorn, P. Suwannarat, Karun Pratoom, Veeraya Pataraarechachai
       The main objective of this study is to examine the moderating role of social capital on the relationship between knowledge-oriented leadership and knowledge management capability (KMC). Also, to explore the moderating role of creative organizational climate on the relationship between KMC and public organizational innovativeness is aimed. Structural equation modeling (SEM) was applied to analyze the survey data from 784 tax administrative organizations in Thailand to test the proposed hypotheses. The results presented that knowledge-oriented leadership positively influences KMC. Meanwhile, KMC positively affects public organizational innovativeness. For the moderating effect, the findings indicated that social capital positively moderates the relationship between knowledge-oriented leadership and KMC. Additionally, creative organizational climate positively moderates the relationship between the accumulation of knowledge stocks and organizational innovativeness. Surprisingly, creative organizational climate negatively moderates the relationship between the regulation of knowledge flows and organizational innovativeness. These empirical results provide some recommendations for executives of public organizations in recognizing how to appropriately play a leadership role for effective knowledge management. Simultaneously, they could support important internal factors such as social capital and creative organizational climate to enhance their knowledge management capability and organizational innovativeness.
本研究的主要目的是探讨社会资本在知识型领导与知识管理能力关系中的调节作用。同时,探讨创造性组织氛围对知识管理与公共组织创新关系的调节作用。运用结构方程模型(SEM)对泰国784个税务行政机构的调查数据进行分析,以检验所提出的假设。结果显示,知识型领导正向影响企业知识管理能力。同时,知识管理正向影响公共组织创新。在调节效应方面,社会资本正向调节知识型领导与知识管理意识之间的关系。此外,创造性组织氛围正向调节知识储备积累与组织创新之间的关系。令人惊讶的是,创造性组织氛围负向调节知识流动调节与组织创新之间的关系。这些实证结果为公共组织管理者认识到如何恰当地发挥有效知识管理的领导作用提供了一些建议。同时,支持社会资本、创新组织氛围等重要内部因素,提升企业的知识管理能力和组织创新能力。
{"title":"Knowledge Management Capability and Innovativeness of Public Organizations: Examining the Moderating Roles of Social Capital and Creative Organizational Climate","authors":"Panissara Naowakhoaksorn, P. Suwannarat, Karun Pratoom, Veeraya Pataraarechachai","doi":"10.55766/dzxj8971","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/dzxj8971","url":null,"abstract":"       The main objective of this study is to examine the moderating role of social capital on the relationship between knowledge-oriented leadership and knowledge management capability (KMC). Also, to explore the moderating role of creative organizational climate on the relationship between KMC and public organizational innovativeness is aimed. Structural equation modeling (SEM) was applied to analyze the survey data from 784 tax administrative organizations in Thailand to test the proposed hypotheses. The results presented that knowledge-oriented leadership positively influences KMC. Meanwhile, KMC positively affects public organizational innovativeness. For the moderating effect, the findings indicated that social capital positively moderates the relationship between knowledge-oriented leadership and KMC. Additionally, creative organizational climate positively moderates the relationship between the accumulation of knowledge stocks and organizational innovativeness. Surprisingly, creative organizational climate negatively moderates the relationship between the regulation of knowledge flows and organizational innovativeness. These empirical results provide some recommendations for executives of public organizations in recognizing how to appropriately play a leadership role for effective knowledge management. Simultaneously, they could support important internal factors such as social capital and creative organizational climate to enhance their knowledge management capability and organizational innovativeness.","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"42 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2022-01-27","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"114207927","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 1
期刊
Suranaree Journal of Social Science
全部 Acc. Chem. Res. ACS Applied Bio Materials ACS Appl. Electron. Mater. ACS Appl. Energy Mater. ACS Appl. Mater. Interfaces ACS Appl. Nano Mater. ACS Appl. Polym. Mater. ACS BIOMATER-SCI ENG ACS Catal. ACS Cent. Sci. ACS Chem. Biol. ACS Chemical Health & Safety ACS Chem. Neurosci. ACS Comb. Sci. ACS Earth Space Chem. ACS Energy Lett. ACS Infect. Dis. ACS Macro Lett. ACS Mater. Lett. ACS Med. Chem. Lett. ACS Nano ACS Omega ACS Photonics ACS Sens. ACS Sustainable Chem. Eng. ACS Synth. Biol. Anal. Chem. BIOCHEMISTRY-US Bioconjugate Chem. BIOMACROMOLECULES Chem. Res. Toxicol. Chem. Rev. Chem. Mater. CRYST GROWTH DES ENERG FUEL Environ. Sci. Technol. Environ. Sci. Technol. Lett. Eur. J. Inorg. Chem. IND ENG CHEM RES Inorg. Chem. J. Agric. Food. Chem. J. Chem. Eng. Data J. Chem. Educ. J. Chem. Inf. Model. J. Chem. Theory Comput. J. Med. Chem. J. Nat. Prod. J PROTEOME RES J. Am. Chem. Soc. LANGMUIR MACROMOLECULES Mol. Pharmaceutics Nano Lett. Org. Lett. ORG PROCESS RES DEV ORGANOMETALLICS J. Org. Chem. J. Phys. Chem. J. Phys. Chem. A J. Phys. Chem. B J. Phys. Chem. C J. Phys. Chem. Lett. Analyst Anal. Methods Biomater. Sci. Catal. Sci. Technol. Chem. Commun. Chem. Soc. Rev. CHEM EDUC RES PRACT CRYSTENGCOMM Dalton Trans. Energy Environ. Sci. ENVIRON SCI-NANO ENVIRON SCI-PROC IMP ENVIRON SCI-WAT RES Faraday Discuss. Food Funct. Green Chem. Inorg. Chem. Front. Integr. Biol. J. Anal. At. Spectrom. J. Mater. Chem. A J. Mater. Chem. B J. Mater. Chem. C Lab Chip Mater. Chem. Front. Mater. Horiz. MEDCHEMCOMM Metallomics Mol. Biosyst. Mol. Syst. Des. Eng. Nanoscale Nanoscale Horiz. Nat. Prod. Rep. New J. Chem. Org. Biomol. Chem. Org. Chem. Front. PHOTOCH PHOTOBIO SCI PCCP Polym. Chem.
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
0
微信
客服QQ
Book学术公众号 扫码关注我们
反馈
×
意见反馈
请填写您的意见或建议
请填写您的手机或邮箱
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
现在去查看 取消
×
提示
确定
Book学术官方微信
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术
文献互助 智能选刊 最新文献 互助须知 联系我们:info@booksci.cn
Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。
Copyright © 2023 Book学术 All rights reserved.
ghs 京公网安备 11010802042870号 京ICP备2023020795号-1