首页 > 最新文献

Suranaree Journal of Social Science最新文献

英文 中文
ตัวแบบสมการโครงสร้าง และการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของความภักดีต่อแหล่งท่องเที่ยว ระหว่างนักท่องเที่ยวชาวไทย และชาวต่างชาติ ต่ออุทยานประวัติศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 结构方程模型,以及泰国和外国游客对东北历史公园的忠诚度的不方差测试。
Pub Date : 2021-03-18 DOI: 10.55766/owqj4689
พงษ์นรินทร์ ปิดจัตุรัส, ณพรรณ สินธุศิริ, ปิยมาภรณ์ เทียมจิตร, คมกริช วงศ์แข
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของตัวแบบสมการโครงสร้างกับข้อมูลเชิงประจักษ์ รวมถึงปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีผลต่อความภักดีต่อแหล่งท่องเที่ยว และการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของแบบจำลองระหว่างนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติต่ออุทยานประวัติศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยกลุ่มตัวอย่าง คือ นักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติที่เดินทางมาท่องเที่ยวภายในอุทยานประวัติศาสตร์พิมาย อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง และอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท จำนวน 390 คน วิธีการสุ่มตัวอย่างใช้เทคนิคการสุ่มแบบเจาะจง และการสุ่มแบบโควตา โดยกำหนดกลุ่มตัวอย่างในสถานที่แต่ละแห่งเท่า ๆ กัน  กรอบแนวคิดได้ถูกกำหนดขึ้นตามแนวทางทฤษฎีขั้นบันไดแห่งการเดินทาง ประกอบด้วยตัวแปรหลัก 4 ตัวแปร ได้แก่ การจัดการแหล่งท่องเที่ยว แรงจูงใจในการท่องเที่ยว คุณค่าที่ได้รับจากการท่องเที่ยว และความภักดีต่อแหล่งท่องเที่ยว โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมลิสเรล 8.72 ในการทดสอบสมมติฐาน ผลการวิจัยพบว่า ตัวแบบสมการโครงสร้างมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ในระดับดี ในขณะที่ความภักดีต่อแหล่งท่องเที่ยวได้รับอิทธิพลทางอ้อมจากการจัดการแหล่งท่องเที่ยว และแรงจูงใจในการท่องเที่ยวโดยผ่านคุณค่าที่ได้รับจากการท่องเที่ยว นอกจากนี้ ตัวแบบสมการโครงสร้างมีความแปรเปลี่ยนของโมเดลความภักดีต่อแหล่งท่องเที่ยวระหว่างนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติต่ออุทยานประวัติศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
该研究旨在验证结构方程模型与经验数据的一致性,以及影响泰国和外国游客对东北历史公园忠诚度的原因,以及模型的不一致性。这些样本是泰国游客和外国游客在Pymai历史公园、Phanom Phong Phil历史公园、Phanpong Phoong历史公园和Phra历史公园内的390名游客。概念框架由四个主要变量组成:旅游资源管理、旅游动机、旅游价值和旅游忠诚度。使用问卷作为研究和数据分析工具,使用Lisrel 8.72程序进行假设检验,研究结果表明结构方程模型与经验数据具有良好的一致性。此外,结构方程本身也改变了泰国游客和外国游客对东北历史公园的忠诚度模式。
{"title":"ตัวแบบสมการโครงสร้าง และการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของความภักดีต่อแหล่งท่องเที่ยว ระหว่างนักท่องเที่ยวชาวไทย และชาวต่างชาติ ต่ออุทยานประวัติศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ","authors":"พงษ์นรินทร์ ปิดจัตุรัส, ณพรรณ สินธุศิริ, ปิยมาภรณ์ เทียมจิตร, คมกริช วงศ์แข","doi":"10.55766/owqj4689","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/owqj4689","url":null,"abstract":"การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของตัวแบบสมการโครงสร้างกับข้อมูลเชิงประจักษ์ รวมถึงปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีผลต่อความภักดีต่อแหล่งท่องเที่ยว และการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของแบบจำลองระหว่างนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติต่ออุทยานประวัติศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยกลุ่มตัวอย่าง คือ นักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติที่เดินทางมาท่องเที่ยวภายในอุทยานประวัติศาสตร์พิมาย อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง และอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท จำนวน 390 คน วิธีการสุ่มตัวอย่างใช้เทคนิคการสุ่มแบบเจาะจง และการสุ่มแบบโควตา โดยกำหนดกลุ่มตัวอย่างในสถานที่แต่ละแห่งเท่า ๆ กัน  กรอบแนวคิดได้ถูกกำหนดขึ้นตามแนวทางทฤษฎีขั้นบันไดแห่งการเดินทาง ประกอบด้วยตัวแปรหลัก 4 ตัวแปร ได้แก่ การจัดการแหล่งท่องเที่ยว แรงจูงใจในการท่องเที่ยว คุณค่าที่ได้รับจากการท่องเที่ยว และความภักดีต่อแหล่งท่องเที่ยว โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมลิสเรล 8.72 ในการทดสอบสมมติฐาน ผลการวิจัยพบว่า ตัวแบบสมการโครงสร้างมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ในระดับดี ในขณะที่ความภักดีต่อแหล่งท่องเที่ยวได้รับอิทธิพลทางอ้อมจากการจัดการแหล่งท่องเที่ยว และแรงจูงใจในการท่องเที่ยวโดยผ่านคุณค่าที่ได้รับจากการท่องเที่ยว นอกจากนี้ ตัวแบบสมการโครงสร้างมีความแปรเปลี่ยนของโมเดลความภักดีต่อแหล่งท่องเที่ยวระหว่างนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติต่ออุทยานประวัติศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"2 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2021-03-18","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"125836017","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การศึกษาคุณลักษณะความสามารถในการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็กปฐมวัย 幼儿行政思维能力特征研究
Pub Date : 2021-02-09 DOI: 10.55766/gkut2994
วรรธนา นันตาเขียน, กิตติชัย สุธาสิโนบล, รุ่งทิวา แย้มรุ่ง, วิไลลักษณ์ ลังกา
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณลักษณะความสามารถในการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็กปฐมวัย กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษาปฐมวัย ผู้บริหาร ครูผู้สอนในโรงเรียน ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 8 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือข้อคำถามในการสนทนากลุ่มเกี่ยวกับคุณลักษณะความสามารถในการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็กปฐมวัย จำนวน 15 ข้อ โดยคัดเลือกจากผลการตรวจสอบค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ของคำถามเกี่ยวกับคุณลักษณะความสามารถในการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็กปฐมวัย ที่มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.5 ขึ้นไป ผู้วิจัยใช้วิธีการบันทึกการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) และนำเสนอด้วยข้อความเชิงบรรยายที่ประกอบด้วยคุณลักษณะความสามารถในการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็กปฐมวัย ผลการวิจัยพบว่า ผลการสนทนากลุ่มกับผู้เชี่ยวชาญและผู้ปฏิบัติ โดยมีความคิดเห็นตรงกันว่าคุณลักษณะของความสามารถในการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็กปฐมวัยควรมี 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการยับยั้งชั่งใจ ด้านการเปลี่ยนความคิดและด้านการควบคุมอารมณ์
本研究的目标是研究幼儿的行政思维能力,样本包括初级教育资格证书、行政领导、学校教师、家长和学生。研究人员使用分组对话记录的方法,并使用包含管理思维能力特征的描述性文本。研究结果显示,与专家和实践者进行分组对话的结果是相同的。有一种观点认为,学龄前儿童的管理思维能力应该包括三个方面:抑制、转变和情绪控制。
{"title":"การศึกษาคุณลักษณะความสามารถในการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็กปฐมวัย","authors":"วรรธนา นันตาเขียน, กิตติชัย สุธาสิโนบล, รุ่งทิวา แย้มรุ่ง, วิไลลักษณ์ ลังกา","doi":"10.55766/gkut2994","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/gkut2994","url":null,"abstract":"การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณลักษณะความสามารถในการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็กปฐมวัย กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษาปฐมวัย ผู้บริหาร ครูผู้สอนในโรงเรียน ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 8 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือข้อคำถามในการสนทนากลุ่มเกี่ยวกับคุณลักษณะความสามารถในการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็กปฐมวัย จำนวน 15 ข้อ โดยคัดเลือกจากผลการตรวจสอบค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ของคำถามเกี่ยวกับคุณลักษณะความสามารถในการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็กปฐมวัย ที่มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.5 ขึ้นไป ผู้วิจัยใช้วิธีการบันทึกการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) และนำเสนอด้วยข้อความเชิงบรรยายที่ประกอบด้วยคุณลักษณะความสามารถในการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็กปฐมวัย \u0000ผลการวิจัยพบว่า ผลการสนทนากลุ่มกับผู้เชี่ยวชาญและผู้ปฏิบัติ โดยมีความคิดเห็นตรงกันว่าคุณลักษณะของความสามารถในการคิดเชิงบริหารสำหรับเด็กปฐมวัยควรมี 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการยับยั้งชั่งใจ ด้านการเปลี่ยนความคิดและด้านการควบคุมอารมณ์","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"11 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2021-02-09","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"128973817","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
Wisdom: A Humanistic Conception By John Kekes 智慧:约翰·凯克斯的人文概念
Pub Date : 2020-12-24 DOI: 10.55766/mblp6716
Theptawee Chockvasin
-
-
{"title":"Wisdom: A Humanistic Conception By John Kekes","authors":"Theptawee Chockvasin","doi":"10.55766/mblp6716","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/mblp6716","url":null,"abstract":"<jats:p>-</jats:p>","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"113 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2020-12-24","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"115645342","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
Addressing the Whole Student: Benefits of Developing the Counseling Center in Thai Higher Education 面向全体学生:在泰国高等教育中发展咨询中心的好处
Pub Date : 2020-12-23 DOI: 10.55766/xfei5677
Jesse T Sessoms
The counseling center in Thai higher education is a little discussed topic and a paucity of research exists in this area. Research in America and England has given attention to the increased demand for the counseling center and the consequent need to enhance and develop the counseling center to meet its current challenges. In Thai higher education the counseling center is nascent. The first purpose of the present paper is to delineate the benefits of the counseling center to Thai higher education institutes. Topics covered include holistic education, noncognitive factors in student success, and retention. Secondly, practical implications of developing the university counseling center are explored, in terms of gaps in the research and directions in future research. This paper is the first on its subject in English, hence it may stimulate a needed conversation as well as help to advance the knowledge base.
泰国高等教育的心理咨询中心是一个很少被讨论的话题,在这方面的研究也很缺乏。美国和英国的研究已经关注到对咨询中心需求的增加,以及因此需要加强和发展咨询中心以应对当前的挑战。在泰国高等教育中,咨询中心刚刚起步。本文的第一个目的是描述咨询中心对泰国高等教育机构的好处。所涵盖的主题包括全人教育,学生成功的非认知因素,和保留。其次,探讨了发展高校心理咨询中心的现实意义,指出了研究的不足和未来的研究方向。这篇论文是关于这个主题的第一篇英文论文,因此它可以激发一个必要的对话,并有助于扩大知识基础。
{"title":"Addressing the Whole Student: Benefits of Developing the Counseling Center in Thai Higher Education","authors":"Jesse T Sessoms","doi":"10.55766/xfei5677","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/xfei5677","url":null,"abstract":"The counseling center in Thai higher education is a little discussed topic and a paucity of research exists in this area. Research in America and England has given attention to the increased demand for the counseling center and the consequent need to enhance and develop the counseling center to meet its current challenges. In Thai higher education the counseling center is nascent. The first purpose of the present paper is to delineate the benefits of the counseling center to Thai higher education institutes. Topics covered include holistic education, noncognitive factors in student success, and retention. Secondly, practical implications of developing the university counseling center are explored, in terms of gaps in the research and directions in future research. This paper is the first on its subject in English, hence it may stimulate a needed conversation as well as help to advance the knowledge base.","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"15 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2020-12-23","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"126032153","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การพัฒนาตัวชี้วัดประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์สำหรับผู้ประกอบการขนส่ง 航运经营者的物流效率指标的发展
Pub Date : 2020-12-23 DOI: 10.55766/lvjq4727
โรจนี หอมชาลี, มะนิกา ละมณี, ศิรภัสสร แก่นสิงห์
ประเทศไทยมีการขนส่งทางบกเป็นสัดส่วนสูงสุดเมื่อเทียบกับโหมดการขนส่งอื่น งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตัวชี้วัดประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์สำหรับผู้ประกอบการขนส่ง โดยเป็นการขนส่งภายในประเทศด้วยรถบรรทุก จากการทบทวนวรรณกรรมทางวิชาการด้านโลจิสติกส์และการขนส่ง รวมทั้งการศึกษาข้อกำหนดและกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก ผู้วิจัยจึงออกแบบและพัฒนาตัวชี้วัดทั้งหมด 23 ตัวชี้วัด แบ่งเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านปัจจัยนำเข้า 6 ตัวชี้วัด ด้านกระบวนการ 9 ตัวชี้วัด และด้านผลลัพธ์ 8 ตัวชี้วัด โดยมีทั้งตัวชี้วัดเชิงปริมาณซึ่งมีเกณฑ์การวัดค่าเป็นร้อยละ และตัวชี้วัดเชิงคุณภาพซึ่งมีเกณฑ์วัดค่าเป็นคะแนนแบบรูบริค ทั้งนี้แต่ละตัวชี้วัดถูกแบ่งการประเมินค่าออกเป็น 5 ระดับ และได้รับการตรวจสอบความเหมาะสมโดยผู้เชี่ยวชาญด้านโลจิสติกส์และการขนส่ง นอกจากนี้ยังถูกนำไปประยุกต์ใช้กับบริษัทผู้ให้บริการขนส่งด้วยรถบรรทุกซึ่งเป็นสมาชิกของสมาคมการค้าโลจิสติกส์ไทยแห่งอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง พบว่า บริษัทผู้ให้บริการขนส่งของสมาคมการค้าโลจิสติกส์ไทยแห่งอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง มีประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์โดยรวมอยู่ในระดับสูงมาก ด้วยคะแนนเฉลี่ย 4.88 แต่ยังมีบางตัวชี้วัดที่ผู้ให้บริการควรปรับปรุงการดำเนินงาน ได้แก่ การตรวจสารเสพติดในพนักงานขับรถ การเสียค่าปรับจากการเดินรถผิดกฎจราจร และอัตราสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงในการเดินรถ เป็นต้น ตัวชี้วัดที่พัฒนาขึ้นจากการวิจัยครั้งนี้ บริษัทต่าง ๆ ที่เป็นผู้ให้บริการขนส่งด้วยรถบรรทุกสามารถนำไปใช้ในการประเมินตนเองเพื่อให้ทราบถึงระดับประสิทธิภาพในการให้บริการ อีกทั้งยังเป็นการเตรียมความพร้อมในการขอรับรองมาตรฐานคุณภาพบริการขนส่งด้วยรถบรรทุก เช่น มาตรฐาน Q-Mark หรือมาตรฐานอื่น ๆ ได้
与其他交通方式相比,泰国的陆上交通占比最大,因此,这项研究旨在开发交通运营商的物流效率指标。根据对物流和交通学术文献的回顾,研究了陆地运输的策略和法律,研究了23个指标,分为3个指标:6个进口指标,9个过程指标,8个结果指标。该指标包括以百分比为基础的量化指标和以RUBIC为基准的质量指标,每一个指标都被划分为5个级别,并由湄公河次区域的泰国物流和运输专家进行优化评估。整体物流效率非常高。在此基础上提出了一些改进的指标,包括司机的药物检测、交通违禁品罚款和交通违禁品费率等。根据这项研究,改进的指标可以用来评估车辆提供服务的效率水平,并准备通过标准,如Q-Mark标准或其他标准。
{"title":"การพัฒนาตัวชี้วัดประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์สำหรับผู้ประกอบการขนส่ง","authors":"โรจนี หอมชาลี, มะนิกา ละมณี, ศิรภัสสร แก่นสิงห์","doi":"10.55766/lvjq4727","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/lvjq4727","url":null,"abstract":"ประเทศไทยมีการขนส่งทางบกเป็นสัดส่วนสูงสุดเมื่อเทียบกับโหมดการขนส่งอื่น งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตัวชี้วัดประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์สำหรับผู้ประกอบการขนส่ง โดยเป็นการขนส่งภายในประเทศด้วยรถบรรทุก จากการทบทวนวรรณกรรมทางวิชาการด้านโลจิสติกส์และการขนส่ง รวมทั้งการศึกษาข้อกำหนดและกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก ผู้วิจัยจึงออกแบบและพัฒนาตัวชี้วัดทั้งหมด 23 ตัวชี้วัด แบ่งเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านปัจจัยนำเข้า 6 ตัวชี้วัด ด้านกระบวนการ 9 ตัวชี้วัด และด้านผลลัพธ์ 8 ตัวชี้วัด โดยมีทั้งตัวชี้วัดเชิงปริมาณซึ่งมีเกณฑ์การวัดค่าเป็นร้อยละ และตัวชี้วัดเชิงคุณภาพซึ่งมีเกณฑ์วัดค่าเป็นคะแนนแบบรูบริค ทั้งนี้แต่ละตัวชี้วัดถูกแบ่งการประเมินค่าออกเป็น 5 ระดับ และได้รับการตรวจสอบความเหมาะสมโดยผู้เชี่ยวชาญด้านโลจิสติกส์และการขนส่ง นอกจากนี้ยังถูกนำไปประยุกต์ใช้กับบริษัทผู้ให้บริการขนส่งด้วยรถบรรทุกซึ่งเป็นสมาชิกของสมาคมการค้าโลจิสติกส์ไทยแห่งอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง พบว่า บริษัทผู้ให้บริการขนส่งของสมาคมการค้าโลจิสติกส์ไทยแห่งอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง มีประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์โดยรวมอยู่ในระดับสูงมาก ด้วยคะแนนเฉลี่ย 4.88 แต่ยังมีบางตัวชี้วัดที่ผู้ให้บริการควรปรับปรุงการดำเนินงาน ได้แก่ การตรวจสารเสพติดในพนักงานขับรถ การเสียค่าปรับจากการเดินรถผิดกฎจราจร และอัตราสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงในการเดินรถ เป็นต้น ตัวชี้วัดที่พัฒนาขึ้นจากการวิจัยครั้งนี้ บริษัทต่าง ๆ ที่เป็นผู้ให้บริการขนส่งด้วยรถบรรทุกสามารถนำไปใช้ในการประเมินตนเองเพื่อให้ทราบถึงระดับประสิทธิภาพในการให้บริการ อีกทั้งยังเป็นการเตรียมความพร้อมในการขอรับรองมาตรฐานคุณภาพบริการขนส่งด้วยรถบรรทุก เช่น มาตรฐาน Q-Mark หรือมาตรฐานอื่น ๆ ได้","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"14 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2020-12-23","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"116300246","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
โปรดใช้ความระมัดระวังขณะสอนวิทยาศาสตร์โดยการออกแบบ 在教授科学与设计时要小心。
Pub Date : 2020-12-23 DOI: 10.55766/hlci2091
ลฎาภา ลดาชาติ, ลือชา ลดาชาติ
ด้วยนโยบายสะเต็มศึกษาในประเทศไทย ครูวิทยาศาสตร์ได้รับการส่งเสริมให้ใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเพื่อจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ร่วมกับวิชาอื่น ๆ อย่างไรก็ตาม การเรียนรู้โดยการออกแบบเชิงวิศวกรรมอาจไม่ก่อให้เกิดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เสมอไป ทั้งนี้เพราะเป้าหมายและธรรมชาติที่แตกต่างกันระหว่างวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ แต่กระนั้นก็ตาม ครูและนักการศึกษาบางคนอาจมองข้ามความแตกต่างเหล่านี้โดยการทึกทักเอาว่าการเรียนรู้วิทยาศาสตร์จะเกิดขึ้นเองจากกิจกรรมการออกแบบ ทั้ง ๆ ที่นักเรียนต้องการความช่วยเหลืออย่างจริงจัง ในกิจกรรมการเรียนรู้ที่อิงการออกแบบ บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความตระหนักเกี่ยวกับสิ่งที่ Vattam and Kolodner (2008) เรียกว่า “ช่องว่างระหว่างการออกแบบและวิทยาศาสตร์” ซึ่งเกิดขึ้นอยู่บ่อยครั้งในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยการออกแบบ บทความนี้ยังอภิปรายแนวทางที่เป็นไปได้ในการลดช่องว่างนี้ให้แคบลง อันจะส่งผลให้การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยการออกแบบมีประสิทธิภาพมากขึ้น
在泰国的全面教育政策下,科学老师被鼓励使用工程设计过程来组织科学教学和其他学科。然而,由于科学和工程的目标和性质不同,教师和教育者可能会忽略这些差异,他们认为学习科学是在设计活动中自发进行的,即使学生真的需要帮助。在基于设计的学习活动中,这篇文章旨在提高人们对Vattam和Kolodner(2008)所说的“设计和科学之间的差距”的认识。这在设计科学教学中经常发生,这篇文章还讨论了可能的方法来缩小差距,从而更有效地学习设计科学。
{"title":"โปรดใช้ความระมัดระวังขณะสอนวิทยาศาสตร์โดยการออกแบบ","authors":"ลฎาภา ลดาชาติ, ลือชา ลดาชาติ","doi":"10.55766/hlci2091","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/hlci2091","url":null,"abstract":"ด้วยนโยบายสะเต็มศึกษาในประเทศไทย ครูวิทยาศาสตร์ได้รับการส่งเสริมให้ใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเพื่อจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ร่วมกับวิชาอื่น ๆ อย่างไรก็ตาม การเรียนรู้โดยการออกแบบเชิงวิศวกรรมอาจไม่ก่อให้เกิดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เสมอไป ทั้งนี้เพราะเป้าหมายและธรรมชาติที่แตกต่างกันระหว่างวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ แต่กระนั้นก็ตาม ครูและนักการศึกษาบางคนอาจมองข้ามความแตกต่างเหล่านี้โดยการทึกทักเอาว่าการเรียนรู้วิทยาศาสตร์จะเกิดขึ้นเองจากกิจกรรมการออกแบบ ทั้ง ๆ ที่นักเรียนต้องการความช่วยเหลืออย่างจริงจัง ในกิจกรรมการเรียนรู้ที่อิงการออกแบบ บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความตระหนักเกี่ยวกับสิ่งที่ Vattam and Kolodner (2008) เรียกว่า “ช่องว่างระหว่างการออกแบบและวิทยาศาสตร์” ซึ่งเกิดขึ้นอยู่บ่อยครั้งในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยการออกแบบ บทความนี้ยังอภิปรายแนวทางที่เป็นไปได้ในการลดช่องว่างนี้ให้แคบลง อันจะส่งผลให้การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยการออกแบบมีประสิทธิภาพมากขึ้น","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"36 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2020-12-23","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"125891915","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
An Early Response To COVID-19: The Case of Phuket Tourism Business 早期应对COVID-19:以普吉岛旅游业为例
Pub Date : 2020-12-23 DOI: 10.55766/fcnp3218
Chidchanok Anantamongkolkul
This paper discusses the effects of the COVID-19 pandemic situation on the tourism industry, especially on the tourism business in Phuket. This preliminary study explores immediate responses that occurred during the first stage of the outbreak. The concept of customer relationship management (CRM) is applied in this study. It was found that, despite the challenging time, the tourism business, especially hotels, performed some CRM activities allowing them to continue to build and maintain relationships with their customers. The concepts of extension, retention, and socially responsible action are suggested. It is recommended that travel organizations practice CRM, especially during this crisis.
本文讨论了新冠疫情对旅游业的影响,特别是对普吉岛旅游业务的影响。这项初步研究探讨了在疫情第一阶段发生的即时反应。本研究运用客户关系管理(CRM)的概念。调查发现,尽管面临挑战,旅游业,尤其是酒店,仍开展了一些CRM活动,使他们能够继续建立和维护与客户的关系。提出了扩展、保留和社会责任行动的概念。建议旅游组织实行客户关系管理,特别是在这次危机期间。
{"title":"An Early Response To COVID-19: The Case of Phuket Tourism Business","authors":"Chidchanok Anantamongkolkul","doi":"10.55766/fcnp3218","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/fcnp3218","url":null,"abstract":"This paper discusses the effects of the COVID-19 pandemic situation on the tourism industry, especially on the tourism business in Phuket. This preliminary study explores immediate responses that occurred during the first stage of the outbreak. The concept of customer relationship management (CRM) is applied in this study. It was found that, despite the challenging time, the tourism business, especially hotels, performed some CRM activities allowing them to continue to build and maintain relationships with their customers. The concepts of extension, retention, and socially responsible action are suggested. It is recommended that travel organizations practice CRM, especially during this crisis.","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"37 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2020-12-23","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"122302764","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ความสามารถในการทำกำไรของเกษตรกรตามรูปแบบโซ่คุณค่าไหมไทย เพื่อพัฒนาวิสาหกิจชุมชนหม่อนไหมในจังหวัดนครราชสีมา 基于泰国丝绸之路价值模式的农民盈利能力,开发了Nakhon Ratchasima社区企业。
Pub Date : 2020-12-23 DOI: 10.55766/xtom7324
อภิชญา ลีลาวณิชกุล, กรทิพย์ วัชรปัญญาวงศ์ เตชะเมธีกุล, ณุกานดา เชิดชูธีรกุล
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบโซ่คุณค่าหม่อนไหมและปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถในการทำกำไรของเกษตรกรผู้ปลูกหม่อนเลี้ยงไหม โดยเลือกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดนครราชสีมา 3 กลุ่มเป็นกรณีศึกษา โดยเก็บข้อมูลกลุ่มละ 50 ตัวอย่าง ผลการวิจัย พบว่า ผลการวิเคราะห์ต้นทุนฐานกิจกรรมของการผลิตผลิตภัณฑ์ไหมของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน พบว่าต้นทุนด้านบุคคลมีสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 80 ต้นทุนทั้งหมด โดยต้นทุนรวมเฉลี่ยของผ้าไหมเท่ากับ 767.8 บาทต่อเมตรและ มีกำไรเฉลี่ย 398.8 บาทต่อเมตร และผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถในการทำกำไรของเกษตรกรด้วยแบบจำลองการถดถอยพหุด้วยวิธีย้อนกลับ พบว่า  แต่ละกลุ่มมีปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถในการทำกำไรมีความแตกต่างกัน โดยปัจจัยทางประชากรศาสตร์และวิธีการที่กลุ่มใช้พัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยการย้อมสีธรรมชาติส่งผลเชิงบวกต่อความสามารถในการทำกำไรของเกษตรกร ทางด้านปัจจัยการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ไหมที่พึงประสงค์ของเกษตรกร พบว่า ปัจจัยด้านเอกลักษณ์ ปัจจัยด้านคุณภาพและ ปัจจัยด้านการรวมกลุ่ม ส่งผลต่อความสามารถในการทำกำไรของเกษตรกร ดังนั้นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนควรมีการปรังปรุงการผลิตตามต้นทุนกิจกรรม สร้างอัตลักษณ์ให้แก่กลุ่ม เลือกผลิตภัณฑ์ไหมที่สามารถเพิ่มมูลค่าได้สูงและมีความเหมาะสมกับสมาชิกของกลุ่ม ในส่วนของภาครัฐควรส่งเสริมการลงทุนให้เกิดธุรกิจหม่อนไหมรูปแบบใหม่และสร้างแรงจูงใจกับคนรุ่นใหม่ในการใช้ผลิตภัณฑ์ไหม รวมถึงส่งเสริมให้กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีเครือข่ายที่เข้มแข็งและสามารถพัฒนาศักยภาพในการแข่งขันได้
本研究的目的是研究桑蚕价值链条的形成及其对桑蚕农民盈利能力的影响。通过收集50个样本,对社区企业生产丝绸产品的基础成本进行分析,发现人力成本占总成本的80%。丝绸的平均总成本为767.8泰铢/米,平均利润为398.8泰铢/米,通过逆向多元回归模型分析影响农民盈利能力的因素,发现不同群体对盈利能力的影响不同。通过自然染料开发产品的人口因素和方法,对农民的盈利能力产生积极的影响。因此,社区企业应该根据成本进行生产评估,以提高产品的价值,并与公共部门的成员保持一致。
{"title":"ความสามารถในการทำกำไรของเกษตรกรตามรูปแบบโซ่คุณค่าไหมไทย เพื่อพัฒนาวิสาหกิจชุมชนหม่อนไหมในจังหวัดนครราชสีมา","authors":"อภิชญา ลีลาวณิชกุล, กรทิพย์ วัชรปัญญาวงศ์ เตชะเมธีกุล, ณุกานดา เชิดชูธีรกุล","doi":"10.55766/xtom7324","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/xtom7324","url":null,"abstract":"งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบโซ่คุณค่าหม่อนไหมและปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถในการทำกำไรของเกษตรกรผู้ปลูกหม่อนเลี้ยงไหม โดยเลือกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดนครราชสีมา 3 กลุ่มเป็นกรณีศึกษา โดยเก็บข้อมูลกลุ่มละ 50 ตัวอย่าง ผลการวิจัย พบว่า ผลการวิเคราะห์ต้นทุนฐานกิจกรรมของการผลิตผลิตภัณฑ์ไหมของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน พบว่าต้นทุนด้านบุคคลมีสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 80 ต้นทุนทั้งหมด โดยต้นทุนรวมเฉลี่ยของผ้าไหมเท่ากับ 767.8 บาทต่อเมตรและ มีกำไรเฉลี่ย 398.8 บาทต่อเมตร และผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถในการทำกำไรของเกษตรกรด้วยแบบจำลองการถดถอยพหุด้วยวิธีย้อนกลับ พบว่า  แต่ละกลุ่มมีปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถในการทำกำไรมีความแตกต่างกัน โดยปัจจัยทางประชากรศาสตร์และวิธีการที่กลุ่มใช้พัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยการย้อมสีธรรมชาติส่งผลเชิงบวกต่อความสามารถในการทำกำไรของเกษตรกร ทางด้านปัจจัยการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ไหมที่พึงประสงค์ของเกษตรกร พบว่า ปัจจัยด้านเอกลักษณ์ ปัจจัยด้านคุณภาพและ ปัจจัยด้านการรวมกลุ่ม ส่งผลต่อความสามารถในการทำกำไรของเกษตรกร ดังนั้นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนควรมีการปรังปรุงการผลิตตามต้นทุนกิจกรรม สร้างอัตลักษณ์ให้แก่กลุ่ม เลือกผลิตภัณฑ์ไหมที่สามารถเพิ่มมูลค่าได้สูงและมีความเหมาะสมกับสมาชิกของกลุ่ม ในส่วนของภาครัฐควรส่งเสริมการลงทุนให้เกิดธุรกิจหม่อนไหมรูปแบบใหม่และสร้างแรงจูงใจกับคนรุ่นใหม่ในการใช้ผลิตภัณฑ์ไหม รวมถึงส่งเสริมให้กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีเครือข่ายที่เข้มแข็งและสามารถพัฒนาศักยภาพในการแข่งขันได้","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"28 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2020-12-23","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"132442716","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ความสุขของผู้สูงอายุย้ายถิ่นเข้าสู่เขตเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น 快乐的老人迁移到孔敬省。
Pub Date : 2020-12-23 DOI: 10.55766/gkpy5674
อิทธิพงษ์ ทองศรีเกตุ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสุขและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสุขของผู้สูงอายุย้ายถิ่นเข้าสู่เขตเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยแบบผสมผสาน มีหน่วยวิเคราะห์ข้อมูลในระดับปัจเจก การวิจัยเชิงคุณภาพเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ระดับลึกกับผู้สูงอายุย้ายถิ่น จำนวน  16 คน การวิจัยเชิงปริมาณเก็บรวมรวมด้วยแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้างกับผู้สูงอายุย้ายถิ่น จำนวน 276 คนที่อยู่อาศัยในเขตเมืองขอนแก่น การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา สถิติพรรณนาและการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของไคว์สแควร์ ผลการศึกษาพบว่า  ความสุขของผู้สูงอายุย้ายถิ่นเข้าสู่เขตเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ประกอบด้วย  1) ครอบครัวอบอุ่น: ความสุขที่อยู่กับลูกหลาน 2) มั่นคงในการอยู่อาศัย: ความรู้สึกมั่นใจว่าไม่ได้ถูกทอดทิ้งในช่วงปั้นปลายของชีวิต และ 3) สุขภาพร่างกาย จิตใจแข็งแรงดี: จากเข้าถึงการบริการทางสุขภาพที่ดี ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสุขของผู้สูงอายุย้ายถิ่นเข้าสู่เขตเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ได้แก่ อายุ การศึกษา สถานภาพสมรส จำนวนรายได้ต่อเดือน เขตที่อยู่อาศัยก่อนการย้ายถิ่น ลักษณะการย้ายถิ่น การเตรียมตัวก่อนการย้ายถิ่น การทำกิจกรรมในชีวิตประจำวัน บทบาทในครัวเรือน และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ
本文采用综合研究方法,采用现有数据分析单元,对16名迁移老年人进行了深度访谈,对276名迁移老年人进行了定量研究。研究结果包括:1)温暖的家庭:与子女生活在一起的幸福;2)稳定的居住:在生命结束时没有被抛弃的感觉;3)健康的精神:从健康服务的角度来看,老年人迁移到孔敬县的幸福因素包括年龄、教育程度、婚姻状况、每月收入、迁移前的居住地、迁移前的准备、日常生活活动、家庭角色和保健行为。
{"title":"ความสุขของผู้สูงอายุย้ายถิ่นเข้าสู่เขตเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น","authors":"อิทธิพงษ์ ทองศรีเกตุ","doi":"10.55766/gkpy5674","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/gkpy5674","url":null,"abstract":"บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสุขและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสุขของผู้สูงอายุย้ายถิ่นเข้าสู่เขตเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยแบบผสมผสาน มีหน่วยวิเคราะห์ข้อมูลในระดับปัจเจก การวิจัยเชิงคุณภาพเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ระดับลึกกับผู้สูงอายุย้ายถิ่น จำนวน  16 คน การวิจัยเชิงปริมาณเก็บรวมรวมด้วยแบบสัมภาษณ์ที่มีโครงสร้างกับผู้สูงอายุย้ายถิ่น จำนวน 276 คนที่อยู่อาศัยในเขตเมืองขอนแก่น การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา สถิติพรรณนาและการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของไคว์สแควร์ ผลการศึกษาพบว่า  ความสุขของผู้สูงอายุย้ายถิ่นเข้าสู่เขตเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ประกอบด้วย  1) ครอบครัวอบอุ่น: ความสุขที่อยู่กับลูกหลาน 2) มั่นคงในการอยู่อาศัย: ความรู้สึกมั่นใจว่าไม่ได้ถูกทอดทิ้งในช่วงปั้นปลายของชีวิต และ 3) สุขภาพร่างกาย จิตใจแข็งแรงดี: จากเข้าถึงการบริการทางสุขภาพที่ดี ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสุขของผู้สูงอายุย้ายถิ่นเข้าสู่เขตเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ได้แก่ อายุ การศึกษา สถานภาพสมรส จำนวนรายได้ต่อเดือน เขตที่อยู่อาศัยก่อนการย้ายถิ่น ลักษณะการย้ายถิ่น การเตรียมตัวก่อนการย้ายถิ่น การทำกิจกรรมในชีวิตประจำวัน บทบาทในครัวเรือน และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"1 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2020-12-23","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"129849912","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
Pronunciation Learning Strategies Used among Thai EFL Tertiary Students with Different Self-Evaluated Pronunciation Abilities 不同语音自评能力的泰国大学生语音学习策略研究
Pub Date : 2020-12-23 DOI: 10.55766/hbqd9035
Unaree Taladngoen, Jidtranoot Pinsak, Saksit Chuenchomnakjad
       The current research aimed to 1) identify the pronunciation abilities of EFL tertiary students at Rajamangala University of Technology Lanna Phitsanulok (RMUTL PLC) according to their self-evaluation, 2) reveal the English pronunciation learning strategies employed among EFL tertiary students with different self-evaluated pronunciation abilities, and 3) investigate whether there is any different employment of the English pronunciation learning strategies among the EFL tertiary students with different English pronunciation abilities. The participants were 270 EFL students enrolling in the second semester of the Academic Year 2019. Of the 270 participants, 40 participants anonymously and voluntarily took part in the semi-structured interviews. The data for analyses were obtained through the questionnaire and the semi-structured interviews. The quantitative data were statistically analyzed, and the qualitative data were scrutinized using the thematic analysis method. The results showed that, of the three pronunciation ability groups, namely good (GG), moderate (MG), and low (LG) groups, most of the EFL tertiary students at RMUTL PLC evaluated themselves as having a moderate English pronunciation ability. The GG participants employed the cognitive pronunciation learning strategy most often, while the MG and LG used the affective and social pronunciation learning strategies most often. Accordingly, the divergent employment of pronunciation learning strategies exists among these EFL tertiary students with diverse pronunciation abilities. They relied on online applications, such as Google Translate, for pronunciation demonstration because of its convenience and ease to access. When the participants did not use an online application, they sought help from their classmates rather than asking the teachers owing to their proximity and intimacy.
本研究的目的是:1)根据学生的自我评价来识别兰娜菲士努洛拉贾曼加拉理工大学(RMUTL PLC)的英语大专学生的发音能力;2)揭示具有不同语音自我评价能力的英语大专学生所采用的英语发音学习策略。3)调查不同英语发音能力的大学生在使用英语发音学习策略方面是否存在差异。参与者是2019学年第二学期入学的270名英语学生。在270名参与者中,有40名参与者匿名自愿参加了半结构化的访谈。分析数据通过问卷调查和半结构化访谈获得。定量数据采用统计分析方法,定性数据采用专题分析方法进行检验。结果显示,在三个发音能力组,即良好(GG),中等(MG)和低(LG)组中,大多数RMUTL PLC的英语大专学生认为自己具有中等的英语发音能力。GG组最常使用认知语音学习策略,MG组和LG组最常使用情感和社交语音学习策略。因此,具有不同发音能力的大学生在使用语音学习策略上存在差异。他们依靠在线应用程序,如谷歌翻译,来进行发音演示,因为它方便易用。当参与者没有使用在线申请时,他们会向同学寻求帮助,而不是向老师求助,因为他们离得近,关系亲密。
{"title":"Pronunciation Learning Strategies Used among Thai EFL Tertiary Students with Different Self-Evaluated Pronunciation Abilities","authors":"Unaree Taladngoen, Jidtranoot Pinsak, Saksit Chuenchomnakjad","doi":"10.55766/hbqd9035","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/hbqd9035","url":null,"abstract":"       The current research aimed to 1) identify the pronunciation abilities of EFL tertiary students at Rajamangala University of Technology Lanna Phitsanulok (RMUTL PLC) according to their self-evaluation, 2) reveal the English pronunciation learning strategies employed among EFL tertiary students with different self-evaluated pronunciation abilities, and 3) investigate whether there is any different employment of the English pronunciation learning strategies among the EFL tertiary students with different English pronunciation abilities. The participants were 270 EFL students enrolling in the second semester of the Academic Year 2019. Of the 270 participants, 40 participants anonymously and voluntarily took part in the semi-structured interviews. The data for analyses were obtained through the questionnaire and the semi-structured interviews. The quantitative data were statistically analyzed, and the qualitative data were scrutinized using the thematic analysis method. The results showed that, of the three pronunciation ability groups, namely good (GG), moderate (MG), and low (LG) groups, most of the EFL tertiary students at RMUTL PLC evaluated themselves as having a moderate English pronunciation ability. The GG participants employed the cognitive pronunciation learning strategy most often, while the MG and LG used the affective and social pronunciation learning strategies most often. Accordingly, the divergent employment of pronunciation learning strategies exists among these EFL tertiary students with diverse pronunciation abilities. They relied on online applications, such as Google Translate, for pronunciation demonstration because of its convenience and ease to access. When the participants did not use an online application, they sought help from their classmates rather than asking the teachers owing to their proximity and intimacy.","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"21 1 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2020-12-23","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"131084283","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
期刊
Suranaree Journal of Social Science
全部 Acc. Chem. Res. ACS Applied Bio Materials ACS Appl. Electron. Mater. ACS Appl. Energy Mater. ACS Appl. Mater. Interfaces ACS Appl. Nano Mater. ACS Appl. Polym. Mater. ACS BIOMATER-SCI ENG ACS Catal. ACS Cent. Sci. ACS Chem. Biol. ACS Chemical Health & Safety ACS Chem. Neurosci. ACS Comb. Sci. ACS Earth Space Chem. ACS Energy Lett. ACS Infect. Dis. ACS Macro Lett. ACS Mater. Lett. ACS Med. Chem. Lett. ACS Nano ACS Omega ACS Photonics ACS Sens. ACS Sustainable Chem. Eng. ACS Synth. Biol. Anal. Chem. BIOCHEMISTRY-US Bioconjugate Chem. BIOMACROMOLECULES Chem. Res. Toxicol. Chem. Rev. Chem. Mater. CRYST GROWTH DES ENERG FUEL Environ. Sci. Technol. Environ. Sci. Technol. Lett. Eur. J. Inorg. Chem. IND ENG CHEM RES Inorg. Chem. J. Agric. Food. Chem. J. Chem. Eng. Data J. Chem. Educ. J. Chem. Inf. Model. J. Chem. Theory Comput. J. Med. Chem. J. Nat. Prod. J PROTEOME RES J. Am. Chem. Soc. LANGMUIR MACROMOLECULES Mol. Pharmaceutics Nano Lett. Org. Lett. ORG PROCESS RES DEV ORGANOMETALLICS J. Org. Chem. J. Phys. Chem. J. Phys. Chem. A J. Phys. Chem. B J. Phys. Chem. C J. Phys. Chem. Lett. Analyst Anal. Methods Biomater. Sci. Catal. Sci. Technol. Chem. Commun. Chem. Soc. Rev. CHEM EDUC RES PRACT CRYSTENGCOMM Dalton Trans. Energy Environ. Sci. ENVIRON SCI-NANO ENVIRON SCI-PROC IMP ENVIRON SCI-WAT RES Faraday Discuss. Food Funct. Green Chem. Inorg. Chem. Front. Integr. Biol. J. Anal. At. Spectrom. J. Mater. Chem. A J. Mater. Chem. B J. Mater. Chem. C Lab Chip Mater. Chem. Front. Mater. Horiz. MEDCHEMCOMM Metallomics Mol. Biosyst. Mol. Syst. Des. Eng. Nanoscale Nanoscale Horiz. Nat. Prod. Rep. New J. Chem. Org. Biomol. Chem. Org. Chem. Front. PHOTOCH PHOTOBIO SCI PCCP Polym. Chem.
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
0
微信
客服QQ
Book学术公众号 扫码关注我们
反馈
×
意见反馈
请填写您的意见或建议
请填写您的手机或邮箱
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
现在去查看 取消
×
提示
确定
Book学术官方微信
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术
文献互助 智能选刊 最新文献 互助须知 联系我们:info@booksci.cn
Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。
Copyright © 2023 Book学术 All rights reserved.
ghs 京公网安备 11010802042870号 京ICP备2023020795号-1