首页 > 最新文献

Suranaree Journal of Social Science最新文献

英文 中文
Analysis and Classification of Abnormal Vertebral Column by Convolutional Neural Network Algorithm 基于卷积神经网络算法的脊柱异常分析与分类
Pub Date : 2022-01-25 DOI: 10.55766/eifn7177
Witchuda Thongking, P. Mitsomwang, B. Sindhupakorn, Jessada Tathanuch
       This research applied the convolutional neural network (CNN algorithm) to determine the misalignment of vertebral column from the processed image. The raw data was the 3D-computerized tomography (CT) provided by the Suranaree University of Technology Hospital, Nakhon Ratchasima, Thailand. There were 93 data sets that comprised 40 data of misalignment vertebral columns. These studies first extracted front, rear, left, and right images of the vertebral column from 3D CT images by RadiAnt Program (Version 2020.2). In the second step, the images were processed by the Ridge detection algorithm with various parameters. The combinations processed were of sigma 1, 4, 7, and 10 with the two low-high thresholds, 10-30 and 20-20. The last step was about the Python code development (with Tensorflow, Numpy, and Sklearn libraries) for creating the model to classify the normal and abnormal vertebral column image sets by the CNN algorithm. The best model could perform very well. The model with Ridge detection preprocessing of parameters sigma=7, low threshold=20, and high threshold=20 performed faultlessly. The performance was accuracy 100 percent, precision 100 percent, and recall 100 percent.
本研究采用卷积神经网络(CNN算法)从处理后的图像中确定脊柱的错位。原始数据是由泰国那空叻差玛Suranaree科技大学医院提供的3d计算机断层扫描(CT)。共有93个数据集,其中40个数据为脊柱错位。这些研究首先通过RadiAnt Program (Version 2020.2)从3D CT图像中提取脊柱的前、后、左、右图像。第二步,采用不同参数的Ridge检测算法对图像进行处理。处理的组合为sigma 1、4、7和10,具有10-30和20-20两个高低阈值。最后一步是Python代码开发(使用Tensorflow, Numpy和Sklearn库),用于创建模型,通过CNN算法对正常和异常脊柱图像集进行分类。最好的模型可以表现得很好。对参数sigma=7、低阈值=20、高阈值=20进行Ridge检测预处理的模型无故障。准确率100%,准确率100%,召回率100%。
{"title":"Analysis and Classification of Abnormal Vertebral Column by Convolutional Neural Network Algorithm","authors":"Witchuda Thongking, P. Mitsomwang, B. Sindhupakorn, Jessada Tathanuch","doi":"10.55766/eifn7177","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/eifn7177","url":null,"abstract":"       This research applied the convolutional neural network (CNN algorithm) to determine the misalignment of vertebral column from the processed image. The raw data was the 3D-computerized tomography (CT) provided by the Suranaree University of Technology Hospital, Nakhon Ratchasima, Thailand. There were 93 data sets that comprised 40 data of misalignment vertebral columns. These studies first extracted front, rear, left, and right images of the vertebral column from 3D CT images by RadiAnt Program (Version 2020.2). In the second step, the images were processed by the Ridge detection algorithm with various parameters. The combinations processed were of sigma 1, 4, 7, and 10 with the two low-high thresholds, 10-30 and 20-20. The last step was about the Python code development (with Tensorflow, Numpy, and Sklearn libraries) for creating the model to classify the normal and abnormal vertebral column image sets by the CNN algorithm. The best model could perform very well. The model with Ridge detection preprocessing of parameters sigma=7, low threshold=20, and high threshold=20 performed faultlessly. The performance was accuracy 100 percent, precision 100 percent, and recall 100 percent.","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"1 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2022-01-25","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"130092885","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 1
ความท้อแท้ในการปฏิบัติหน้าที่ของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาดีเด่น (ขนาดใหญ่) สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 优秀中学教师(大四学生)在基础教育委员会办公室的工作表现令人沮丧。
Pub Date : 2022-01-24 DOI: 10.55766/ienm1789
ประสิทธิ์ เผยกลิ่น
การศึกษาเชิงปริมาณครั้งนี้ (Quantitative Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความท้อแท้ และเพื่อเปรียบเทียบความท้อแท้ในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาดีเด่น (ขนาดใหญ่) โดยจำแนกตามปัจจัยย่อย ได้แก่เพศ สถานภาพ และประสบการณ์การสอน และสถานที่ตั้งของโรงเรียน  กลุ่มตัวอย่างได้แก่ครูโรงเรียนมัธยมศึกษาดีเด่น (ขนาดใหญ่) สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 400 คน โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) ผลการศึกษาพบว่า  1) ครูโรงเรียนมัธยมศึกษาดีเด่น (ขนาดใหญ่)โดยภาพรวม มีความท้อแท้ในการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับต่ำ  2) เมื่อเปรียบเทียบความท้อแท้ของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาดีเด่น (ขนาดใหญ่) โดยภาพรวม และปัจจัยย่อย ซึ่งจำแนกตามเพศ  สถานภาพ ประสบการณ์การสอน  และสถานที่ตั้ง พบว่า แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
本研究的目的是研究泄气程度,并将泄气程度与优秀中学教师的泄气程度进行比较,并根据其次要因素进行分类。样本包括学校的性别、教学经验和位置。研究结果表明:(1)优秀中学教师(大)整体工作满意度较低。在比较高中优秀教师的泄气程度时,总体和次要因素按性别分类,教学经验状况和位置差异无统计学意义(P > 0.05)。
{"title":"ความท้อแท้ในการปฏิบัติหน้าที่ของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาดีเด่น (ขนาดใหญ่) สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน","authors":"ประสิทธิ์ เผยกลิ่น","doi":"10.55766/ienm1789","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/ienm1789","url":null,"abstract":"การศึกษาเชิงปริมาณครั้งนี้ (Quantitative Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความท้อแท้ และเพื่อเปรียบเทียบความท้อแท้ในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาดีเด่น (ขนาดใหญ่) โดยจำแนกตามปัจจัยย่อย ได้แก่เพศ สถานภาพ และประสบการณ์การสอน และสถานที่ตั้งของโรงเรียน  กลุ่มตัวอย่างได้แก่ครูโรงเรียนมัธยมศึกษาดีเด่น (ขนาดใหญ่) สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 400 คน โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) ผลการศึกษาพบว่า  1) ครูโรงเรียนมัธยมศึกษาดีเด่น (ขนาดใหญ่)โดยภาพรวม มีความท้อแท้ในการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับต่ำ  2) เมื่อเปรียบเทียบความท้อแท้ของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาดีเด่น (ขนาดใหญ่) โดยภาพรวม และปัจจัยย่อย ซึ่งจำแนกตามเพศ  สถานภาพ ประสบการณ์การสอน  และสถานที่ตั้ง พบว่า แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"8 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2022-01-24","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"134184499","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การติดตามผลการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาครูสาขาชีววิทยา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ Nongkarin大学生物学系学生教师的教学实践
Pub Date : 2022-01-21 DOI: 10.55766/uyoc1932
ศุภกาญจน์ บัวทิพย์, ฮามีด๊ะ มูสอ, สมศักดิ์ บัวทิพย์
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการประเมินการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาครูสาขาชีววิทยา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ระหว่างปีการศึกษา 2559-2562 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาชีววิทยา คณะศึกษาศาสตร์ มหาสงขลานครินทร์ จํานวน 17 คน อาจารย์นิเทศก์จำนวน 3 คน และครูพี่เลี้ยงจำนวน 4 คน เครื่องมือในการวิจัย คือแบบประเมินการปฏิบัติการสอน 3 ด้าน คือ ด้านการเตรียมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน และด้านบุคลิกภาพความเป็นครู สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) สำหรับความคิดเห็นเพิ่มเติมจากอาจารย์นิเทศก์ และครูพี่เลี้ยงต่อการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาครูสาขาชีววิทยา ซึ่งเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัย พบว่า ระดับผลการประเมินในแต่ละข้อของแต่ละด้านอยู่ในระดับดีมาก และคะแนนเฉลี่ยสูงกว่า 3.50 ปัจจัยของสถานศึกษา จังหวัด และปีการศึกษา ไม่มีผลต่อความแตกต่างของการประเมินการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาครูระหว่างอาจารย์นิเทศก์และครูพี่เลี้ยง แต่พบว่าเฉพาะในด้านบุคลิกภาพความเป็นครูเท่านั้นที่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05จากการวิเคราะห์ความคิดเห็นของอาจารย์นิเทศก์และครูพี่เลี้ยง พบว่า นักศึกษาครูมีการพัฒนาความสามารถในการฝึกประสบการณ์ในทิศทางที่ดีอย่างต่อเนื่อง มีการปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาตัวเองตามข้อเสนอแนะ โดยได้รับคำแนะนำในการพัฒนาเพิ่มเติม ได้แก่ การออกแบบกิจกรรมให้น่าสนใจ การสอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน การส่งเสริมทักษะการคิดและการควบคุมชั้นเรียน
本研究的对象是17名生物专业学生、3名导游和4名导师。数据分析中使用的统计数据为平均值、标准差和t检验。研究发现,各方面的评估水平都很好,各方面的评估成绩都在3.50分以上,这并不影响学生在教学实践评估上的差异,但仅在教师个性方面,差异有0.05的统计学意义。学生教师在实践经验方面的能力不断提高。在建议的基础上进行改进、修改和改进,包括设计有趣的活动、组织课堂活动、促进思维能力和控制课程之间的道德和道德渗透。
{"title":"การติดตามผลการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาครูสาขาชีววิทยา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์","authors":"ศุภกาญจน์ บัวทิพย์, ฮามีด๊ะ มูสอ, สมศักดิ์ บัวทิพย์","doi":"10.55766/uyoc1932","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/uyoc1932","url":null,"abstract":"การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการประเมินการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาครูสาขาชีววิทยา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ระหว่างปีการศึกษา 2559-2562 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาชีววิทยา คณะศึกษาศาสตร์ มหาสงขลานครินทร์ จํานวน 17 คน อาจารย์นิเทศก์จำนวน 3 คน และครูพี่เลี้ยงจำนวน 4 คน เครื่องมือในการวิจัย คือแบบประเมินการปฏิบัติการสอน 3 ด้าน คือ ด้านการเตรียมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน และด้านบุคลิกภาพความเป็นครู สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) สำหรับความคิดเห็นเพิ่มเติมจากอาจารย์นิเทศก์ และครูพี่เลี้ยงต่อการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาครูสาขาชีววิทยา ซึ่งเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา\u0000ผลการวิจัย พบว่า ระดับผลการประเมินในแต่ละข้อของแต่ละด้านอยู่ในระดับดีมาก และคะแนนเฉลี่ยสูงกว่า 3.50 ปัจจัยของสถานศึกษา จังหวัด และปีการศึกษา ไม่มีผลต่อความแตกต่างของการประเมินการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาครูระหว่างอาจารย์นิเทศก์และครูพี่เลี้ยง แต่พบว่าเฉพาะในด้านบุคลิกภาพความเป็นครูเท่านั้นที่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05\u0000จากการวิเคราะห์ความคิดเห็นของอาจารย์นิเทศก์และครูพี่เลี้ยง พบว่า นักศึกษาครูมีการพัฒนาความสามารถในการฝึกประสบการณ์ในทิศทางที่ดีอย่างต่อเนื่อง มีการปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาตัวเองตามข้อเสนอแนะ โดยได้รับคำแนะนำในการพัฒนาเพิ่มเติม ได้แก่ การออกแบบกิจกรรมให้น่าสนใจ การสอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน การส่งเสริมทักษะการคิดและการควบคุมชั้นเรียน","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"12 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2022-01-21","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"128686015","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
“ความแตกต่างระหว่างเพศ” แนวคิดข้ามพ้นการแบ่งแยกเพศสรีระ/เพศสถานะ “性别差异”这个概念跨越了性别、生理/性别、地位的界限。
Pub Date : 2022-01-21 DOI: 10.55766/qlpm3225
ธนัย เจริญกุล
รายงานฉบับนี้มุ่งสำรวจและทบทวนแนวคิดเรื่องเพศ ที่มักแยกเป็นสองส่วนตามแนวคิดวิชาการของโลกตะวันตก นั่นคือ “เพศสรีระ” (sex) กับ “เพศสถานะ” (gender) ซึ่งมักปรากฎอยู่คู่กัน แต่เมื่อแนวคิดดังกล่าวแพร่กระจายไปในสังคมไทย กลับถูกเน้นย้ำไปที่แนวคิดว่าด้วยเพศสถานะจนอาจมองข้ามความสำคัญของเพศสรีระ พร้อมกับพยายามเสนอแนวคิดที่ข้ามพ้นการแบ่งแยกดังกล่าว นั่นคือ แนวคิด “ความแตกต่างระหว่างเพศ” (sexual difference) ของลูซย์ อิริกาเรย์ (Luce Irigaray) ซึ่งวงวิชาการบ้านเราอาจไม่คุ้นชินนัก รวมทั้งแนวคิด “ร่างกายที่มีเพศ” พอสังเขป แล้วในตอนท้ายจะยกกรณีตัวอย่างเพื่อชี้ให้เห็นความคิดเกี่ยวกับความหลากหลายทางเพศในสังคมไทยว่ากำลังไปในทิศทางเช่นใด
这篇论文主要探讨和回顾了“性”(性)和“地位”(“地位”)在西方学术界普遍存在的概念,即“性”(性)和“地位”(“地位”),并强调了性别的重要性,并试图超越性别的概念。最后给出了一个例子,说明泰国社会的性别多样性是如何发展的。
{"title":"“ความแตกต่างระหว่างเพศ” แนวคิดข้ามพ้นการแบ่งแยกเพศสรีระ/เพศสถานะ","authors":"ธนัย เจริญกุล","doi":"10.55766/qlpm3225","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/qlpm3225","url":null,"abstract":"รายงานฉบับนี้มุ่งสำรวจและทบทวนแนวคิดเรื่องเพศ ที่มักแยกเป็นสองส่วนตามแนวคิดวิชาการของโลกตะวันตก นั่นคือ “เพศสรีระ” (sex) กับ “เพศสถานะ” (gender) ซึ่งมักปรากฎอยู่คู่กัน แต่เมื่อแนวคิดดังกล่าวแพร่กระจายไปในสังคมไทย กลับถูกเน้นย้ำไปที่แนวคิดว่าด้วยเพศสถานะจนอาจมองข้ามความสำคัญของเพศสรีระ พร้อมกับพยายามเสนอแนวคิดที่ข้ามพ้นการแบ่งแยกดังกล่าว นั่นคือ แนวคิด “ความแตกต่างระหว่างเพศ” (sexual difference) ของลูซย์ อิริกาเรย์ (Luce Irigaray) ซึ่งวงวิชาการบ้านเราอาจไม่คุ้นชินนัก รวมทั้งแนวคิด “ร่างกายที่มีเพศ” พอสังเขป แล้วในตอนท้ายจะยกกรณีตัวอย่างเพื่อชี้ให้เห็นความคิดเกี่ยวกับความหลากหลายทางเพศในสังคมไทยว่ากำลังไปในทิศทางเช่นใด","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"64 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2022-01-21","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"123472832","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ผลกระทบของการบัญชีดิจิทัลที่มีต่อคุณภาพของรายงานการเงิน 数字会计对财务报告质量的影响
Pub Date : 2021-12-28 DOI: 10.55766/lmmc9398
พิมพาภรณ์ พึ่งบุญพานิชย์, นภา นาคแย้ม
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาคุณลักษณะเชิงคุณภาพของรายงานการเงิน (2) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการบัญชีดิจิทัลกับคุณภาพของรายงานการเงิน และ (3) วิเคราะห์ผลกระทบของการบัญชีดิจิทัลที่มีต่อคุณภาพของรายงานการเงิน  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต จำนวน 275 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม (Questionnaire)  และใช้สถิติการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation Analysis) และสถิติการวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย (Simple Regression Analysis) ในการทดสอบสมมติฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) คุณภาพของรายงานการเงิน โดยมีลักษณะเชิงคุณภาพพื้นฐาน และลักษณะเชิงคุณภาพเสริมโดยรวม อยู่ในระดับมาก (2) การบัญชีดิจิทัลมีความสัมพันธ์กับคุณภาพของรายงานการเงิน โดยมีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 และ (3) การบัญชีดิจิทัลส่งผลกระทบต่อคุณภาพของรายงานการเงินอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 ทั้งนี้ สังคมจะได้ประโยชน์จากมุมมองของการบัญชีดิจิทัลว่าควรมีลักษณะศักยภาพอย่างไร เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการควบคุมการดำเนินงานของธุรกิจให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตลอดจนได้กรอบแนวคิดทฤษฎีใหม่ (Basic Research) ในด้านการบัญชี
本研究的目的是(1)研究数字会计与财务报告质量之间的关系,(2)分析数字会计对财务报告质量的影响。在假设检验中使用简单的回归统计和回归统计。它有基本的质量特征和整体的附加质量特征。(2)数字会计与财务报告的质量关系在0.01水平和(3)水平上,数字会计显著影响财务报告的质量。为了有效地控制企业的绩效,在会计领域提出了一个新的理论框架。
{"title":"ผลกระทบของการบัญชีดิจิทัลที่มีต่อคุณภาพของรายงานการเงิน","authors":"พิมพาภรณ์ พึ่งบุญพานิชย์, นภา นาคแย้ม","doi":"10.55766/lmmc9398","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/lmmc9398","url":null,"abstract":"การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาคุณลักษณะเชิงคุณภาพของรายงานการเงิน (2) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการบัญชีดิจิทัลกับคุณภาพของรายงานการเงิน และ (3) วิเคราะห์ผลกระทบของการบัญชีดิจิทัลที่มีต่อคุณภาพของรายงานการเงิน  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต จำนวน 275 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม (Questionnaire)  และใช้สถิติการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation Analysis) และสถิติการวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย (Simple Regression Analysis) ในการทดสอบสมมติฐาน \u0000ผลการวิจัยพบว่า (1) คุณภาพของรายงานการเงิน โดยมีลักษณะเชิงคุณภาพพื้นฐาน และลักษณะเชิงคุณภาพเสริมโดยรวม อยู่ในระดับมาก (2) การบัญชีดิจิทัลมีความสัมพันธ์กับคุณภาพของรายงานการเงิน โดยมีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 และ (3) การบัญชีดิจิทัลส่งผลกระทบต่อคุณภาพของรายงานการเงินอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 \u0000ทั้งนี้ สังคมจะได้ประโยชน์จากมุมมองของการบัญชีดิจิทัลว่าควรมีลักษณะศักยภาพอย่างไร เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการควบคุมการดำเนินงานของธุรกิจให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตลอดจนได้กรอบแนวคิดทฤษฎีใหม่ (Basic Research) ในด้านการบัญชี","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"234 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2021-12-28","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"122353183","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
Reasons First By Mark Schroeder 首先是马克·施罗德的原因
Pub Date : 2021-12-20 DOI: 10.55766/nedc3427
Theptawee Chokvasin
-
-
{"title":"Reasons First By Mark Schroeder","authors":"Theptawee Chokvasin","doi":"10.55766/nedc3427","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/nedc3427","url":null,"abstract":"<jats:p>-</jats:p>","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"138 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2021-12-20","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"124493279","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ขนมจีน: ภาพสะท้อนพฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้าของชาวป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง 中国小吃:帕特帕特省野生动物早餐行为的反映
Pub Date : 2021-12-07 DOI: 10.55766/ytnq8707
ปุรวิชญ์ พิทยาภินันท์
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพทางเศรษฐสังคมประชากรและพฤติกรรมการรับประทานขนมจีนของผู้บริโภค รวมทั้งศึกษาความคิดเห็นของผู้บริโภคที่มีต่อส่วนประสมทางการตลาดบริการร้านขนมจีน ตลอดจนวิเคราะห์ปัจจัยกำหนดค่าใช้จ่ายในการรับประทานขนมจีนของผู้บริโภคในอำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง การรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามเชิงโครงสร้างกับกลุ่มตัวอย่างผู้บริโภคจำนวน 400 ราย ซึ่งรับประทานขนมจีนที่ร้านขนมจีนอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์ โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์การถดถอยพหุเชิงชั้น ผลการวิจัยพบว่า ผู้บริโภคมากกว่าครึ่งเป็นสตรี มีอายุเฉลี่ย 37.66 ปี มีรายได้เฉลี่ย 13,949.13 บาทต่อเดือน และมีค่าใช้จ่ายในการรับประทานขนมจีนเฉลี่ย 33.58 บาทต่อครั้ง ส่วนประสมทางการตลาดบริการร้านขนมจีนด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการจัดจำหน่าย ด้านบุคคล ด้านลักษณะทางกายภาพ และด้านกระบวนการมีความสำคัญในระดับมาก ขณะที่ส่วนประสมทางการตลาดบริการร้านขนมจีนด้านการส่งเสริมการตลาดมีความสำคัญในระดับปานกลาง ปัจจัยกำหนดค่าใช้จ่ายในการรับประทานขนมจีนเชิงลบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ เพศ ในทางตรงกันข้ามปัจจัยกำหนดค่าใช้จ่ายในการรับประทานขนมจีนเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ระดับการศึกษา รายได้ ความถี่ในการรับประทานขนมจีน และปริมาณการรับประทานขนมจีน จากผลการวิจัยที่ได้ เสนอแนะให้ผู้ประกอบการร้านขนมจีนใช้กลยุทธ์ “ทีคอพ” เพื่อสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้บริโภค
该研究旨在研究中国的社会经济状况、人口和消费者吃零食的行为,并分析影响中国糖果服务市场份额的消费者意见,并对泰国普吉岛地区的消费者吃零食的成本因素进行分析。他们每周至少在一家中国糖果店吃一次中国零食,使用随机抽样。研究结果显示,超过一半的消费者是女性,平均年龄为37.66岁,平均每月收入为13949.13泰铢,平均消费为33.58泰铢。虽然中国糖果店的营销模式在推广方面具有中度的重要性,但在统计上显著的负面影响是性别。与此相反,积极的零食成本决定因素包括教育水平、收入、食用频率和零食数量。
{"title":"ขนมจีน: ภาพสะท้อนพฤติกรรมการรับประทานอาหารเช้าของชาวป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง","authors":"ปุรวิชญ์ พิทยาภินันท์","doi":"10.55766/ytnq8707","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/ytnq8707","url":null,"abstract":"การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพทางเศรษฐสังคมประชากรและพฤติกรรมการรับประทานขนมจีนของผู้บริโภค รวมทั้งศึกษาความคิดเห็นของผู้บริโภคที่มีต่อส่วนประสมทางการตลาดบริการร้านขนมจีน ตลอดจนวิเคราะห์ปัจจัยกำหนดค่าใช้จ่ายในการรับประทานขนมจีนของผู้บริโภคในอำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง การรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามเชิงโครงสร้างกับกลุ่มตัวอย่างผู้บริโภคจำนวน 400 ราย ซึ่งรับประทานขนมจีนที่ร้านขนมจีนอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์ โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์การถดถอยพหุเชิงชั้น ผลการวิจัยพบว่า ผู้บริโภคมากกว่าครึ่งเป็นสตรี มีอายุเฉลี่ย 37.66 ปี มีรายได้เฉลี่ย 13,949.13 บาทต่อเดือน และมีค่าใช้จ่ายในการรับประทานขนมจีนเฉลี่ย 33.58 บาทต่อครั้ง ส่วนประสมทางการตลาดบริการร้านขนมจีนด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการจัดจำหน่าย ด้านบุคคล ด้านลักษณะทางกายภาพ และด้านกระบวนการมีความสำคัญในระดับมาก ขณะที่ส่วนประสมทางการตลาดบริการร้านขนมจีนด้านการส่งเสริมการตลาดมีความสำคัญในระดับปานกลาง ปัจจัยกำหนดค่าใช้จ่ายในการรับประทานขนมจีนเชิงลบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ เพศ ในทางตรงกันข้ามปัจจัยกำหนดค่าใช้จ่ายในการรับประทานขนมจีนเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ระดับการศึกษา รายได้ ความถี่ในการรับประทานขนมจีน และปริมาณการรับประทานขนมจีน จากผลการวิจัยที่ได้ เสนอแนะให้ผู้ประกอบการร้านขนมจีนใช้กลยุทธ์ “ทีคอพ” เพื่อสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้บริโภค","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"18 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2021-12-07","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"121110750","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
Principals’ Technology Leadership Behavior and Teachers’ Use of Information and Communication Technology (ICT) in Bhutan 不丹校长技术领导行为与教师信息通信技术使用
Pub Date : 2021-12-02 DOI: 10.55766/wirg3818
Lotey Gyeltshen
      The classroom teaching and learning in the 21st century stress creativity and innovation. So, the use of information and communication technology (ICT) is seen as an important means to foster innovation. However, without genuine interest from teachers, it is difficult to integrate ICT in classroom instruction. Teachers are the engines that enhance the digitization of school teaching and learning process. However, the determination to implement ICT in the school curriculum and instructions lies in the hands of school leaders as rigorous use of ICT in teaching and learning could be effective if school principals provide required support. Therefore, this study examined the relationship between principals’ technology leadership behavior and teachers’ use of ICT in classroom teaching and learning in Bhutan. Data was gathered from 329 middle secondary school teachers through survey questionnaires. The study found that principals’ technology leadership behavior in Bhutan was at moderate levels with a positive relationship to teachers’ use of ICT. Likewise, statistical analysis revealed that two predictors of the principal’s technology leadership dimensions: support, management and operation; and productivity and professional practices were the best predictors of teachers’ use of ICT in the classroom.
21世纪的课堂教学强调创造和创新。因此,信息通信技术(ICT)的使用被视为促进创新的重要手段。然而,没有教师真正的兴趣,很难将信息通信技术融入课堂教学。教师是促进学校教学过程数字化的引擎。然而,在学校课程和教学中实施ICT的决心取决于学校领导,因为如果学校校长提供所需的支持,在教学和学习中严格使用ICT可能会有效。因此,本研究考察了不丹校长的技术领导行为与教师在课堂教学中使用ICT的关系。通过问卷调查对329名中学教师进行数据收集。研究发现,不丹校长的技术领导行为处于中等水平,与教师使用ICT呈正相关。同样,通过统计分析发现,技术领导维度的两个预测因子:支持、管理和运营;生产力和专业实践是教师在课堂上使用信息通信技术的最佳预测指标。
{"title":"Principals’ Technology Leadership Behavior and Teachers’ Use of Information and Communication Technology (ICT) in Bhutan","authors":"Lotey Gyeltshen","doi":"10.55766/wirg3818","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/wirg3818","url":null,"abstract":"      The classroom teaching and learning in the 21st century stress creativity and innovation. So, the use of information and communication technology (ICT) is seen as an important means to foster innovation. However, without genuine interest from teachers, it is difficult to integrate ICT in classroom instruction. Teachers are the engines that enhance the digitization of school teaching and learning process. However, the determination to implement ICT in the school curriculum and instructions lies in the hands of school leaders as rigorous use of ICT in teaching and learning could be effective if school principals provide required support. Therefore, this study examined the relationship between principals’ technology leadership behavior and teachers’ use of ICT in classroom teaching and learning in Bhutan. Data was gathered from 329 middle secondary school teachers through survey questionnaires. The study found that principals’ technology leadership behavior in Bhutan was at moderate levels with a positive relationship to teachers’ use of ICT. Likewise, statistical analysis revealed that two predictors of the principal’s technology leadership dimensions: support, management and operation; and productivity and professional practices were the best predictors of teachers’ use of ICT in the classroom.","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"1 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2021-12-02","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"129869971","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
Factors Contributing to Students Engagement: A Case Study at the Institute of Medicine at SUT 促进学生参与的因素:新加坡科技大学医学研究所的案例研究
Pub Date : 2021-10-25 DOI: 10.55766/avfz5974
Areerat Siripongpan, Theeranit Namkunee, Paramate Horkaew
       In higher education, much attention has been focused on the enhancement of the educational experience, allowing students to successfully develop and thus make the most of not only their potential, but also the numerous other benefits education has to offer. Being engaged both institutionally and academically plays a vital part in developing their potential and performance. Therefore, this paper studied the engagement level towards the academics at the Institute of medicine. Factors contributing to institutional engagement were also analyzed. The participants include 229 medical students. Each participant was asked to answer a general demographic questionnaire, the Institute engagement questionnaire, the Utrecht Work Engagement Scale–Student version (UWES-S) questionnaire, and a questionnaire of all relevant factors. Student engagement was assessed through statistical analysis. These included percentage, mean, standard deviation, and stepwise multiple regression of the constituent factors. The Institute engagement level was 3.73. Factors that significantly pertained to the engagement level were teachers (p = 0.01*), staff (p = 0.01*), friends (p = 0.02*), and seniors peers (p = 0.03*), respectively. Academic engagement was found to vary by the level of study. Medical students in their 1st, 2nd, and 3rd years exhibited engagement levels of 4.94, 4.87, and 4.55, respectively. Given the group, students’ engagement toward the university was of a high level. The most important contributing factors were their relationship with teachers, staff, friends, and senior peers. However, the academic engagement level tended to decrease as study progressed. It was conjectured that this notable decrease resulted from increasing complexity in the program as specified by the curriculum. Positively engaged students better adapt to the academic context of higher education. Hence, they are much likely to succeed.
在高等教育中,很多注意力都集中在提高教育体验上,使学生能够成功地发展,从而不仅充分发挥他们的潜力,而且充分发挥教育所能提供的许多其他好处。在制度上和学术上的参与对发展他们的潜力和表现起着至关重要的作用。因此,本文对医学研究所的学术投入程度进行了研究。对影响机构参与的因素也进行了分析。参与者包括229名医学生。每位参与者被要求回答一份一般人口调查问卷、研究所敬业度问卷、乌得勒支工作敬业度量表-学生版(UWES-S)问卷,以及一份所有相关因素的问卷。通过统计分析评估学生的参与度。这些包括组成因素的百分比、平均值、标准差和逐步多元回归。研究所的参与水平为3.73。教师(p = 0.01*)、教职工(p = 0.01*)、朋友(p = 0.02*)、学长同伴(p = 0.03*)分别对敬业度水平有显著影响。研究发现,学习投入因学习水平而异。医学生一年级、二年级和三年级的敬业度分别为4.94、4.87和4.55。考虑到这个群体,学生们对大学的投入程度很高。最重要的影响因素是他们与老师、员工、朋友和高年级同学的关系。然而,随着学习的进展,学业投入水平有下降的趋势。据推测,这种显著的下降是由于课程规定的程序越来越复杂。积极参与的学生更能适应高等教育的学术环境。因此,他们很有可能成功。
{"title":"Factors Contributing to Students Engagement: A Case Study at the Institute of Medicine at SUT","authors":"Areerat Siripongpan, Theeranit Namkunee, Paramate Horkaew","doi":"10.55766/avfz5974","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/avfz5974","url":null,"abstract":"       In higher education, much attention has been focused on the enhancement of the educational experience, allowing students to successfully develop and thus make the most of not only their potential, but also the numerous other benefits education has to offer. Being engaged both institutionally and academically plays a vital part in developing their potential and performance. Therefore, this paper studied the engagement level towards the academics at the Institute of medicine. Factors contributing to institutional engagement were also analyzed. The participants include 229 medical students. Each participant was asked to answer a general demographic questionnaire, the Institute engagement questionnaire, the Utrecht Work Engagement Scale–Student version (UWES-S) questionnaire, and a questionnaire of all relevant factors. Student engagement was assessed through statistical analysis. These included percentage, mean, standard deviation, and stepwise multiple regression of the constituent factors. The Institute engagement level was 3.73. Factors that significantly pertained to the engagement level were teachers (p = 0.01*), staff (p = 0.01*), friends (p = 0.02*), and seniors peers (p = 0.03*), respectively. Academic engagement was found to vary by the level of study. Medical students in their 1st, 2nd, and 3rd years exhibited engagement levels of 4.94, 4.87, and 4.55, respectively. Given the group, students’ engagement toward the university was of a high level. The most important contributing factors were their relationship with teachers, staff, friends, and senior peers. However, the academic engagement level tended to decrease as study progressed. It was conjectured that this notable decrease resulted from increasing complexity in the program as specified by the curriculum. Positively engaged students better adapt to the academic context of higher education. Hence, they are much likely to succeed.","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"24 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2021-10-25","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"128493878","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
The Influences of Loaded Words in Tragic News Headlines on Readers’ Emotions 悲剧新闻标题中负载词对读者情绪的影响
Pub Date : 2021-10-24 DOI: 10.55766/npab2212
Chonnipa Nimtupariya, Pataraporn Tapinta
In tragic news, the use of loaded words is one prominent device in constructing effective news headlines to draw interests and provoke readers’ emotions (Clark, 2007). Nevertheless, with a dearth of research studies in this phenomenon, the aims of this qualitative study are to investigate 1) what word classes of loaded words are found in tragic news headlines, and 2) how these loaded words provoke emotions and reactions in news readers. First, 180 tragic news headlines were purposively selected from all news headlines on nine websites between July to October 2019 and analyzed. The findings revealed that nouns and verbs were the two most prominent word classes used as loaded words (48.18% and 33.64%, respectively). Moreover, these loaded words were found at both word and phrase levels. Second, to explore news readers’ emotions, the two main instruments were used: 1) online questionnaire with 20 news headlines were uploaded, finally, 52 male and female respondents from 22 countries participated and 2) semi-structured interview with 4 (7.69%) interviewees was conducted with another 20 news headlines to explore more in-depth responses. Their overall reflections revealed that, with the impacts of loaded expressions, four related main factors helped provoke their emotions: 1) strong emotive meanings of loaded words, 2) textual context of a news headline, 3) news readers’ experiences, and 4) news readers’ cultural and social backgrounds. Overall, this seems to suggest that not the use of loaded words alone is a prominent language device in creating enough impacts in writing news headlines, but textual and socio-cultural contexts also play essential roles in provoking their emotions and influencing further reactions. That is, news writers should be aware that integrating these strategies together is very important in writing news headlines.
在悲剧新闻中,负载词的使用是构建有效新闻标题的一个重要手段,可以吸引读者的兴趣,激发读者的情感(Clark, 2007)。然而,由于缺乏对这一现象的研究,本定性研究的目的是调查1)悲剧新闻标题中有哪些词类的负载词,以及这些负载词如何引起新闻读者的情绪和反应。首先,从2019年7月至10月9个网站的所有新闻标题中有目的地选取180条悲情新闻标题进行分析。结果表明,名词和动词是作为加载词使用最多的两个词类(分别占48.18%和33.64%)。此外,在单词和短语水平上都发现了这些加载词。其次,为了探索新闻读者的情绪,我们主要使用了两种工具:1)上传20个新闻标题的在线问卷,最终有来自22个国家的52名男性和女性受访者参与;2)对另外20个新闻标题进行了4名(7.69%)受访者的半结构化访谈,以探索更深入的回应。他们的整体反思表明,在加载词的影响下,四个相关的主要因素有助于激发他们的情绪:1)加载词的强烈情感意义,2)新闻标题的文本语境,3)新闻读者的经历,4)新闻读者的文化和社会背景。总的来说,这似乎表明,在撰写新闻标题时,不仅使用负载词是一种突出的语言手段,而且文本和社会文化背景在激发他们的情绪和影响进一步的反应方面也起着至关重要的作用。也就是说,新闻作者应该意识到,在撰写新闻标题时,将这些策略整合在一起是非常重要的。
{"title":"The Influences of Loaded Words in Tragic News Headlines on Readers’ Emotions","authors":"Chonnipa Nimtupariya, Pataraporn Tapinta","doi":"10.55766/npab2212","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/npab2212","url":null,"abstract":"In tragic news, the use of loaded words is one prominent device in constructing effective news headlines to draw interests and provoke readers’ emotions (Clark, 2007). Nevertheless, with a dearth of research studies in this phenomenon, the aims of this qualitative study are to investigate 1) what word classes of loaded words are found in tragic news headlines, and 2) how these loaded words provoke emotions and reactions in news readers. First, 180 tragic news headlines were purposively selected from all news headlines on nine websites between July to October 2019 and analyzed. The findings revealed that nouns and verbs were the two most prominent word classes used as loaded words (48.18% and 33.64%, respectively). Moreover, these loaded words were found at both word and phrase levels. Second, to explore news readers’ emotions, the two main instruments were used: 1) online questionnaire with 20 news headlines were uploaded, finally, 52 male and female respondents from 22 countries participated and 2) semi-structured interview with 4 (7.69%) interviewees was conducted with another 20 news headlines to explore more in-depth responses. Their overall reflections revealed that, with the impacts of loaded expressions, four related main factors helped provoke their emotions: 1) strong emotive meanings of loaded words, 2) textual context of a news headline, 3) news readers’ experiences, and 4) news readers’ cultural and social backgrounds. Overall, this seems to suggest that not the use of loaded words alone is a prominent language device in creating enough impacts in writing news headlines, but textual and socio-cultural contexts also play essential roles in provoking their emotions and influencing further reactions. That is, news writers should be aware that integrating these strategies together is very important in writing news headlines.","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"64 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2021-10-24","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"121588299","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
期刊
Suranaree Journal of Social Science
全部 Acc. Chem. Res. ACS Applied Bio Materials ACS Appl. Electron. Mater. ACS Appl. Energy Mater. ACS Appl. Mater. Interfaces ACS Appl. Nano Mater. ACS Appl. Polym. Mater. ACS BIOMATER-SCI ENG ACS Catal. ACS Cent. Sci. ACS Chem. Biol. ACS Chemical Health & Safety ACS Chem. Neurosci. ACS Comb. Sci. ACS Earth Space Chem. ACS Energy Lett. ACS Infect. Dis. ACS Macro Lett. ACS Mater. Lett. ACS Med. Chem. Lett. ACS Nano ACS Omega ACS Photonics ACS Sens. ACS Sustainable Chem. Eng. ACS Synth. Biol. Anal. Chem. BIOCHEMISTRY-US Bioconjugate Chem. BIOMACROMOLECULES Chem. Res. Toxicol. Chem. Rev. Chem. Mater. CRYST GROWTH DES ENERG FUEL Environ. Sci. Technol. Environ. Sci. Technol. Lett. Eur. J. Inorg. Chem. IND ENG CHEM RES Inorg. Chem. J. Agric. Food. Chem. J. Chem. Eng. Data J. Chem. Educ. J. Chem. Inf. Model. J. Chem. Theory Comput. J. Med. Chem. J. Nat. Prod. J PROTEOME RES J. Am. Chem. Soc. LANGMUIR MACROMOLECULES Mol. Pharmaceutics Nano Lett. Org. Lett. ORG PROCESS RES DEV ORGANOMETALLICS J. Org. Chem. J. Phys. Chem. J. Phys. Chem. A J. Phys. Chem. B J. Phys. Chem. C J. Phys. Chem. Lett. Analyst Anal. Methods Biomater. Sci. Catal. Sci. Technol. Chem. Commun. Chem. Soc. Rev. CHEM EDUC RES PRACT CRYSTENGCOMM Dalton Trans. Energy Environ. Sci. ENVIRON SCI-NANO ENVIRON SCI-PROC IMP ENVIRON SCI-WAT RES Faraday Discuss. Food Funct. Green Chem. Inorg. Chem. Front. Integr. Biol. J. Anal. At. Spectrom. J. Mater. Chem. A J. Mater. Chem. B J. Mater. Chem. C Lab Chip Mater. Chem. Front. Mater. Horiz. MEDCHEMCOMM Metallomics Mol. Biosyst. Mol. Syst. Des. Eng. Nanoscale Nanoscale Horiz. Nat. Prod. Rep. New J. Chem. Org. Biomol. Chem. Org. Chem. Front. PHOTOCH PHOTOBIO SCI PCCP Polym. Chem.
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
0
微信
客服QQ
Book学术公众号 扫码关注我们
反馈
×
意见反馈
请填写您的意见或建议
请填写您的手机或邮箱
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
现在去查看 取消
×
提示
确定
Book学术官方微信
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术
文献互助 智能选刊 最新文献 互助须知 联系我们:info@booksci.cn
Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。
Copyright © 2023 Book学术 All rights reserved.
ghs 京公网安备 11010802042870号 京ICP备2023020795号-1