首页 > 最新文献

Suranaree Journal of Social Science最新文献

英文 中文
ผลกระทบของกลยุทธ์การสื่อสารทางการตลาดที่มีผลต่อการจัดจำหน่ายผ่านระบบออนไลน์ ของผลิตภัณฑ์ OTOP จังหวัดนครปฐม 营销沟通策略对Phoenop产品在线分销的影响
Pub Date : 2021-10-20 DOI: 10.55766/xaqy7462
อิสรี ไพเราะ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์  1)  เพื่อศึกษากลยุทธ์การสื่อสารทางการตลาดของผลิตภัณฑ์ OTOP จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อศึกษาการจัดจำหน่ายผ่านระบบออนไลน์ของผลิตภัณฑ์ OTOP จังหวัดนครปฐม 3) เพื่อศึกษากลยุทธ์การสื่อสารทางการตลาดผลิตภัณฑ์ OTOP จังหวัดนครปฐมที่มีผลต่อการจัดจำหน่ายผ่านระบบออนไลน์ ผู้วิจัยศึกษาจากกลุ่มผู้ผลิต OTOP จังหวัดนครปฐม 633 ราย คำนวณด้วยโปรแกรม  G*Power กำหนดค่าแบบสอบถาม 180 ราย และแบบสัมภาษณ์ 18 ราย ผลการวิจัยพบว่า กลยุทธ์การสื่อสารทางการตลาดของผลิตภัณฑ์ OTOP จังหวัดนครปฐม โฆษณาต้องมีเนื้อหาสินค้าชัดเจนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.59440 การศึกษาเชิงคุณภาพพบว่า  การสื่อสารการตลาดเน้นโฆษณาผ่านแผ่นพับแผ่นป้ายในท้องถิ่น เพราะเห็นผลชัดเจน การประชาสัมพันธ์ส่วนมากเป็นกลุ่มผู้ผลิตอาหารจึงมีการให้ความรู้เรื่องสุขภาพ และคุณประโยชน์ของอาหาร การส่งเสริมการขายเน้นการลดราคา แถมเมื่อซื้อมากกว่า 1 ชิ้น ด้านการจัดจำหน่ายผ่านระบบออนไลน์ของผลิตภัณฑ์ OTOP จังหวัดนครปฐม ผู้ประกอบการให้ความสำคัญกับช่องทางการจัดจำหน่ายผ่านหน้าร้านมากที่สุดมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.62000 การศึกษาเชิงคุณภาพ พบว่า ส่วนใหญ่เป็นการจำหน่ายผ่านตัวแทนจำหน่ายเป็นหลัก เน้นฝากกับคนรู้จักหรือใช้การติดต่อผ่านโซเชียลมีเดีย ซึ่งการสื่อสารการตลาดต้องพิจารณาช่องทางให้สอดคล้องเน้นการสนับสนุนทางออนไลน์ต่อการจัดจำหน่ายผ่านหน้าร้าน  ด้านกลยุทธ์การสื่อสารทางการตลาดผลิตภัณฑ์ OTOP นครปฐมที่มีผลต่อการจัดจำหน่ายผ่านระบบออนไลน์ การสื่อสารการตลาด ต้องใช้ช่องทางที่สอดคล้องด้วยการโฆษณา หรือสื่อออนไลน์ที่เกี่ยวข้อง เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย และสม่ำเสมอ  เน้นการสนับสนุนทางออนไลน์ที่ส่งผลต่อช่องทางการจัดจำหน่ายผ่านหน้าร้าน มีการส่งเสริมการขายผ่านหน้าร้านที่เหมาะสมกับสถานการณ์ เพิ่มการจัดกิจกรรม
{"title":"ผลกระทบของกลยุทธ์การสื่อสารทางการตลาดที่มีผลต่อการจัดจำหน่ายผ่านระบบออนไลน์ ของผลิตภัณฑ์ OTOP จังหวัดนครปฐม","authors":"อิสรี ไพเราะ","doi":"10.55766/xaqy7462","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/xaqy7462","url":null,"abstract":"งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์  1)  เพื่อศึกษากลยุทธ์การสื่อสารทางการตลาดของผลิตภัณฑ์ OTOP จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อศึกษาการจัดจำหน่ายผ่านระบบออนไลน์ของผลิตภัณฑ์ OTOP จังหวัดนครปฐม 3) เพื่อศึกษากลยุทธ์การสื่อสารทางการตลาดผลิตภัณฑ์ OTOP จังหวัดนครปฐมที่มีผลต่อการจัดจำหน่ายผ่านระบบออนไลน์ ผู้วิจัยศึกษาจากกลุ่มผู้ผลิต OTOP จังหวัดนครปฐม 633 ราย คำนวณด้วยโปรแกรม  G*Power กำหนดค่าแบบสอบถาม 180 ราย และแบบสัมภาษณ์ 18 ราย \u0000ผลการวิจัยพบว่า กลยุทธ์การสื่อสารทางการตลาดของผลิตภัณฑ์ OTOP จังหวัดนครปฐม โฆษณาต้องมีเนื้อหาสินค้าชัดเจนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.59440 การศึกษาเชิงคุณภาพพบว่า  การสื่อสารการตลาดเน้นโฆษณาผ่านแผ่นพับแผ่นป้ายในท้องถิ่น เพราะเห็นผลชัดเจน การประชาสัมพันธ์ส่วนมากเป็นกลุ่มผู้ผลิตอาหารจึงมีการให้ความรู้เรื่องสุขภาพ และคุณประโยชน์ของอาหาร การส่งเสริมการขายเน้นการลดราคา แถมเมื่อซื้อมากกว่า 1 ชิ้น ด้านการจัดจำหน่ายผ่านระบบออนไลน์ของผลิตภัณฑ์ OTOP จังหวัดนครปฐม ผู้ประกอบการให้ความสำคัญกับช่องทางการจัดจำหน่ายผ่านหน้าร้านมากที่สุดมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.62000 การศึกษาเชิงคุณภาพ พบว่า ส่วนใหญ่เป็นการจำหน่ายผ่านตัวแทนจำหน่ายเป็นหลัก เน้นฝากกับคนรู้จักหรือใช้การติดต่อผ่านโซเชียลมีเดีย ซึ่งการสื่อสารการตลาดต้องพิจารณาช่องทางให้สอดคล้องเน้นการสนับสนุนทางออนไลน์ต่อการจัดจำหน่ายผ่านหน้าร้าน  ด้านกลยุทธ์การสื่อสารทางการตลาดผลิตภัณฑ์ OTOP นครปฐมที่มีผลต่อการจัดจำหน่ายผ่านระบบออนไลน์ การสื่อสารการตลาด ต้องใช้ช่องทางที่สอดคล้องด้วยการโฆษณา หรือสื่อออนไลน์ที่เกี่ยวข้อง เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย และสม่ำเสมอ  เน้นการสนับสนุนทางออนไลน์ที่ส่งผลต่อช่องทางการจัดจำหน่ายผ่านหน้าร้าน มีการส่งเสริมการขายผ่านหน้าร้านที่เหมาะสมกับสถานการณ์ เพิ่มการจัดกิจกรรม","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"39 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2021-10-20","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"124362121","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การสำรวจแปลงปลูกป่าชาวบ้านในพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหมอกจ๋าม ด้วยเครื่องกำหนดพิกัดบนพื้นโลกด้วยดาวเทียมแบบมือถือ 在大雾开发中心地区,用移动卫星定位器对当地居民进行了野外探索。
Pub Date : 2021-09-21 DOI: 10.55766/midf3554
สืบพงษ์ พงษ์สวัสดิ์, ธีรวิชญ์ วงษา
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สำรวจแนวเขตแปลงปลูกป่าชาวบ้านด้วยเครื่องกำหนดพิกัดบนพื้นโลกด้วยดาวเทียมแบบมือถือ 2) จัดทำฐานข้อมูลแนวเขตแปลงปลูกป่าชาวบ้านด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และ 3) วิเคราะห์อัตราการรอดตายของต้นพันธุ์ และความสัมพันธ์กับระยะห่างจากบ้านของเกษตรกร ความสูง และความลาดชัน ประชากรในการศึกษาครั้งนี้คือ เกษตรกรที่เป็นสมาชิกโครงการปลูกป่าชาวบ้านของศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหมอกจ๋าม อำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 52 ราย ผลการวิจัยพบว่า การใช้เครื่องกำหนดพิกัดบนพื้นโลกด้วยดาวเทียมแบบมือถือเข้าไปสำรวจแนวเขตแปลงปลูกป่าของเกษตรกรทั้ง 52 ราย นำต้นพันธุ์ไปปลูกในที่ดินของตนเองจำนวน 61 แปลง รวมจำนวนต้นพันธุ์ 39,948 ต้น การปลูกแบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ การปลูกแบบแนวรั้ว คิดเป็นร้อยละ 43 และการปลูกแบบแปลง คิดเป็นร้อยละ 57 โดยค่าพิกัดที่ได้จากเครื่องกำหนดพิกัดบนพื้นโลกด้วยดาวเทียมแบบมือถือมีความคลาดเคลื่อนเฉลี่ย 7.36 เมตร จากการวิเคราะห์ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์พบว่าทำเลที่ตั้งของแปลงปลูกป่าชาวบ้านมีการกระจุกตัวอยู่ใกล้กับชุมชน ที่มีระดับความสูงระหว่าง 401-500 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง และมีร้อยละความลาดชันระหว่าง 35-50 ต้นจันทร์ทองเทศมีอัตราการรอดตายสูงที่สุด คือร้อยละ 77.59 อัตราการรอดตายมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกับระยะห่างจากบ้านของเกษตรกร ความสูง และความลาดชัน โดยมีค่าสหสัมพันธ์ (r) เท่ากับ 0.27 0.17 และ 0.26 ตามลำดับ แต่ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ (r2) เท่ากับ 0.07 0.03 และ 0.07 จึงสรุปได้ว่าอัตราการรอดตายของต้นพันธุ์อาจไม่มีระดับความสัมพันธ์มากกับระยะห่างจากบ้านของเกษตกร ความสูง และความลาดชัน
这项研究的目的是:1)用移动卫星定位本地种植的土地,2)用地理信息系统建立一个本地种植的土地数据库,3)分析植物存活率和与农民家庭距离、高度和坡度的关系。使用移动卫星定位器,对52名农民的森林进行分区调查,其中61名农民在自己的土地上种植,39,948名农民种植,2种种植,篱笆种植占43%,3种种植占57%。通过地理信息系统分析,当地森林植被的位置分布在海拔401-500米的社区附近,坡度在35-50岁之间,金边的存活率最高。平均存活率为77.59%,与农舍的距离、高度和坡度呈负相关(r)分别为0.27、0.17和0.26,但决策系数(r2)分别为0.07、0.03和0.07,因此结论植株的存活率可能与农舍的距离、高度和坡度没有太大关系。
{"title":"การสำรวจแปลงปลูกป่าชาวบ้านในพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหมอกจ๋าม ด้วยเครื่องกำหนดพิกัดบนพื้นโลกด้วยดาวเทียมแบบมือถือ","authors":"สืบพงษ์ พงษ์สวัสดิ์, ธีรวิชญ์ วงษา","doi":"10.55766/midf3554","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/midf3554","url":null,"abstract":"การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สำรวจแนวเขตแปลงปลูกป่าชาวบ้านด้วยเครื่องกำหนดพิกัดบนพื้นโลกด้วยดาวเทียมแบบมือถือ 2) จัดทำฐานข้อมูลแนวเขตแปลงปลูกป่าชาวบ้านด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และ 3) วิเคราะห์อัตราการรอดตายของต้นพันธุ์ และความสัมพันธ์กับระยะห่างจากบ้านของเกษตรกร ความสูง และความลาดชัน ประชากรในการศึกษาครั้งนี้คือ เกษตรกรที่เป็นสมาชิกโครงการปลูกป่าชาวบ้านของศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหมอกจ๋าม อำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 52 ราย ผลการวิจัยพบว่า การใช้เครื่องกำหนดพิกัดบนพื้นโลกด้วยดาวเทียมแบบมือถือเข้าไปสำรวจแนวเขตแปลงปลูกป่าของเกษตรกรทั้ง 52 ราย นำต้นพันธุ์ไปปลูกในที่ดินของตนเองจำนวน 61 แปลง รวมจำนวนต้นพันธุ์ 39,948 ต้น การปลูกแบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ การปลูกแบบแนวรั้ว คิดเป็นร้อยละ 43 และการปลูกแบบแปลง คิดเป็นร้อยละ 57 โดยค่าพิกัดที่ได้จากเครื่องกำหนดพิกัดบนพื้นโลกด้วยดาวเทียมแบบมือถือมีความคลาดเคลื่อนเฉลี่ย 7.36 เมตร จากการวิเคราะห์ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์พบว่าทำเลที่ตั้งของแปลงปลูกป่าชาวบ้านมีการกระจุกตัวอยู่ใกล้กับชุมชน ที่มีระดับความสูงระหว่าง 401-500 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง และมีร้อยละความลาดชันระหว่าง 35-50 ต้นจันทร์ทองเทศมีอัตราการรอดตายสูงที่สุด คือร้อยละ 77.59 อัตราการรอดตายมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกับระยะห่างจากบ้านของเกษตรกร ความสูง และความลาดชัน โดยมีค่าสหสัมพันธ์ (r) เท่ากับ 0.27 0.17 และ 0.26 ตามลำดับ แต่ค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ (r2) เท่ากับ 0.07 0.03 และ 0.07 จึงสรุปได้ว่าอัตราการรอดตายของต้นพันธุ์อาจไม่มีระดับความสัมพันธ์มากกับระยะห่างจากบ้านของเกษตกร ความสูง และความลาดชัน","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"21 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2021-09-21","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"114756378","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ประสิทธิผลของโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำที่เป็นเลิศของผู้จัดการโครงการก่อสร้าง ในธุรกิจที่ปรึกษาด้านวิศวกรรมในกรุงเทพมหานคร 在曼谷的工程顾问业务中,建设经理的卓越领导能力增强计划的效果。
Pub Date : 2021-09-21 DOI: 10.55766/faqg2178
กังวาน พงศาสนองกุล, ศรัณย์ พิมพ์ทอง
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำที่เป็นเลิศของผู้จัดการโครงการก่อสร้างในธุรกิจที่ปรึกษาด้านวิศวกรรมในกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างคือผู้จัดการโครงการก่อสร้าง จำนวน 50 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 25 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบวัดภาวะผู้นำที่เป็นเลิศ ในระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผล 1 เดือน ผลการศึกษา พบว่า ในระยะหลังการทดลองผู้จัดการโครงการก่อสร้างที่ได้รับโปรแกรมฯ มีภาวะผู้นำที่เป็นเลิศสูงกว่าระยะก่อนการทดลองและสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในระยะติดตามผล 1 เดือน ผู้จัดการโครงการก่อสร้างที่ได้รับโปรแกรมฯ มีภาวะผู้นำที่เป็นเลิศลดลงจากระยะหลังการทดลองโดยยังคงสูงกว่าระยะก่อนการทดลอง และไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับกลุ่มควบคุม ผู้วิจัยเสนอแนะวิธีการในการเสริมสร้างและพัฒนาภาวะผู้นำที่เป็นเลิศในระยะยาว เพื่อรักษาภาวะผู้นำที่เป็นเลิศให้คงอยู่อย่างถาวร
该研究是一项半实验研究,目的是研究建筑经理在曼谷的工程顾问业务中的表现。实验对象是50名建筑经理,分成实验组和控制组,每组25人,使用试验前、试验后和后续1个月的测量结果收集数据。在1个月的跟踪期内,项目建设经理的领导能力较前一阶段有所下降,但在统计学上仍高于前一阶段,研究人员建议加强和发展长期的领导能力,以保持长期的领导能力。
{"title":"ประสิทธิผลของโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำที่เป็นเลิศของผู้จัดการโครงการก่อสร้าง ในธุรกิจที่ปรึกษาด้านวิศวกรรมในกรุงเทพมหานคร","authors":"กังวาน พงศาสนองกุล, ศรัณย์ พิมพ์ทอง","doi":"10.55766/faqg2178","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/faqg2178","url":null,"abstract":"การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำที่เป็นเลิศของผู้จัดการโครงการก่อสร้างในธุรกิจที่ปรึกษาด้านวิศวกรรมในกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างคือผู้จัดการโครงการก่อสร้าง จำนวน 50 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 25 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบวัดภาวะผู้นำที่เป็นเลิศ ในระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผล 1 เดือน ผลการศึกษา พบว่า ในระยะหลังการทดลองผู้จัดการโครงการก่อสร้างที่ได้รับโปรแกรมฯ มีภาวะผู้นำที่เป็นเลิศสูงกว่าระยะก่อนการทดลองและสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในระยะติดตามผล 1 เดือน ผู้จัดการโครงการก่อสร้างที่ได้รับโปรแกรมฯ มีภาวะผู้นำที่เป็นเลิศลดลงจากระยะหลังการทดลองโดยยังคงสูงกว่าระยะก่อนการทดลอง และไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับกลุ่มควบคุม ผู้วิจัยเสนอแนะวิธีการในการเสริมสร้างและพัฒนาภาวะผู้นำที่เป็นเลิศในระยะยาว เพื่อรักษาภาวะผู้นำที่เป็นเลิศให้คงอยู่อย่างถาวร","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"2130 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2021-09-21","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"129974488","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การรับรู้ของนักศึกษาต่อนโยบายและโครงการการพัฒนาผู้เรียนภาษาอังกฤษตามกรอบอ้างอิง CEFR ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช 学生对政策和项目的认知是基于Rajapaksa Nakhon Sri Ra的参考框架。
Pub Date : 2021-08-26 DOI: 10.55766/kczm2662
เบญจมิน บุญจริง, ปรมัษฐ์ ไกรทอง, ผานิต สิงหสุวรรณ, ชไมพร พุทธรัตน์
กระทรวงศึกษาธิการกำหนดนโยบายยกระดับและพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของไทยให้สอดคล้องกับทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยใช้กรอบอ้างอิง CEFR กับนักศึกษาระดับปริญญาตรี รหัสปี 2559 เป็นครั้งแรก การวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้และความคิดเห็นของนักศึกษาต่อความสำคัญและการเข้าถึงนโยบายและแนวปฏิบัติในการยกระดับมาตรฐานภาษาอังกฤษตามกรอบอ้างอิง CEFR ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ถึงชั้นปีที่ 3 จำนวน 225 คน จากทั้ง 5 คณะ ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยโปรแกรมไมโครซอฟท์เอ็กซ์เซล และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษามีความเข้าใจต่อนโยบายด้านภาษาอังกฤษของมหาวิทยาลัยและต่อกรอบอ้างอิง CEFR ในด้านความหมาย ความสามารถทางภาษาที่แตกต่างกันในแต่ละระดับ นักศึกษาเห็นประโยชน์ในการเข้าร่วมโครงการพัฒนาภาษาอังกฤษและการนำมาประยุกต์ใช้ในระดับมาก นอกจากนี้ยังพบว่าการนำนโยบายด้านพัฒนาภาษาอังกฤษมาประยุกต์ใช้ตรงต่อความคาดหวังและความต้องการของนักศึกษา อีกทั้งนักศึกษายังรับรู้ว่ากรอบอ้างอิง CEFR เป็นเครื่องมือใช้วัดระดับความสามารถด้านภาษาอังกฤษ และมีผลวิจัยบ่งชี้ว่าคณะ สาขาวิชา และอาจารย์ที่ปรึกษาให้ความร่วมมือกับศูนย์ภาษาเป็นสื่อกลางในการประชาสัมพันธ์โครงการให้แก่นักศึกษา ผลการวิจัยยังสะท้อนว่านักศึกษาเริ่มให้ความสำคัญต่อนโยบายและโครงการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกรอบอ้างอิง CEFR มากขึ้น นักศึกษามีการปรับเปลี่ยนทัศนคติต่อนโยบายการพัฒนาภาษาอังกฤษไปในทางที่ดี ผลการวิจัยนี้สามารถนำมาเป็นฐานข้อมูลประกอบการออกแบบโครงการพัฒนาภาษาอังกฤษตามกรอบอ้างอิง CEFR ให้แก่นักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏและมหาวิทยาลัยอื่น ๆ  ทั่วประเทศ
教育部长制定了政策,提高和提高泰国的英语技能,以符合21世纪的技能。研究对象包括5个小组的225名大一至三年级学生,他们通过问卷和访谈收集数据。然后用微软Excel软件进行定量分析,并对其内容进行定性分析。在不同层次的语言能力的意义上,学生在参加英语发展和应用项目时看到了巨大的好处。此外,研究表明,Cefr参考框架是衡量英语能力水平的工具,学术和咨询教授与语言中心合作,为学生宣传项目,研究结果表明,学生越来越重视与Cefr框架相关的政策和项目。研究结果可以为泰国曼谷大学和其他泰国大学的学生提供一个基于CEFR参考框架的英语发展项目的数据库。
{"title":"การรับรู้ของนักศึกษาต่อนโยบายและโครงการการพัฒนาผู้เรียนภาษาอังกฤษตามกรอบอ้างอิง CEFR ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช","authors":"เบญจมิน บุญจริง, ปรมัษฐ์ ไกรทอง, ผานิต สิงหสุวรรณ, ชไมพร พุทธรัตน์","doi":"10.55766/kczm2662","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/kczm2662","url":null,"abstract":"กระทรวงศึกษาธิการกำหนดนโยบายยกระดับและพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของไทยให้สอดคล้องกับทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยใช้กรอบอ้างอิง CEFR กับนักศึกษาระดับปริญญาตรี รหัสปี 2559 เป็นครั้งแรก การวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้และความคิดเห็นของนักศึกษาต่อความสำคัญและการเข้าถึงนโยบายและแนวปฏิบัติในการยกระดับมาตรฐานภาษาอังกฤษตามกรอบอ้างอิง CEFR ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ถึงชั้นปีที่ 3 จำนวน 225 คน จากทั้ง 5 คณะ ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยโปรแกรมไมโครซอฟท์เอ็กซ์เซล และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษามีความเข้าใจต่อนโยบายด้านภาษาอังกฤษของมหาวิทยาลัยและต่อกรอบอ้างอิง CEFR ในด้านความหมาย ความสามารถทางภาษาที่แตกต่างกันในแต่ละระดับ นักศึกษาเห็นประโยชน์ในการเข้าร่วมโครงการพัฒนาภาษาอังกฤษและการนำมาประยุกต์ใช้ในระดับมาก นอกจากนี้ยังพบว่าการนำนโยบายด้านพัฒนาภาษาอังกฤษมาประยุกต์ใช้ตรงต่อความคาดหวังและความต้องการของนักศึกษา อีกทั้งนักศึกษายังรับรู้ว่ากรอบอ้างอิง CEFR เป็นเครื่องมือใช้วัดระดับความสามารถด้านภาษาอังกฤษ และมีผลวิจัยบ่งชี้ว่าคณะ สาขาวิชา และอาจารย์ที่ปรึกษาให้ความร่วมมือกับศูนย์ภาษาเป็นสื่อกลางในการประชาสัมพันธ์โครงการให้แก่นักศึกษา ผลการวิจัยยังสะท้อนว่านักศึกษาเริ่มให้ความสำคัญต่อนโยบายและโครงการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกรอบอ้างอิง CEFR มากขึ้น นักศึกษามีการปรับเปลี่ยนทัศนคติต่อนโยบายการพัฒนาภาษาอังกฤษไปในทางที่ดี ผลการวิจัยนี้สามารถนำมาเป็นฐานข้อมูลประกอบการออกแบบโครงการพัฒนาภาษาอังกฤษตามกรอบอ้างอิง CEFR ให้แก่นักศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏและมหาวิทยาลัยอื่น ๆ  ทั่วประเทศ","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"8 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2021-08-26","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"121403082","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
สถานการณ์ภาวะซึมเศร้าของนักศึกษามหาวิทยาลัยไทย 泰国大学学生的抑郁状况
Pub Date : 2021-06-21 DOI: 10.55766/cwus3563
จันทิมา อังคพณิชกิจ, อธิชาติ โรจนะหัสดิน
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเชิงสำรวจสถานการณ์ภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยไทย วัตถุประสงค์ของการวิจัยมี 2 ประการ ได้แก่ 1) เพื่อสำรวจอุบัติการณ์โรคซึมเศร้าในนักศึกษามหาวิทยาลัยไทย ในกรณีนี้คือ มหาวิทยาลัยของรัฐในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลแห่งหนึ่ง  และ 2) เพื่อศึกษาภาวะซึมเศร้าในนักศึกษาระดับปริญญาตรี ของมหาวิทยาลัยดังกล่าว จำแนกตามตัวแปร เช่น เพศ ชั้นปี  วิธีวิจัยดำเนินตามแนวทางการพิจารณาของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคนของมหาวิทยาลัยเป้าหมาย ข้อมูลที่ใช้วิเคราะห์ เป็นแบบสอบถาม 3 แบบ ได้แก่ 1) CES-D ฉบับภาษาไทย 2) แบบคัดกรองโรคซึมเศร้า 2Q และ 3) แบบประเมินโรคซึมเศร้า 9Q โดยสอบถามนักศึกษาระดับปริญญาตรีดังกล่าว จำนวน 700 คน ด้วยวิธีการสุ่มแบบมีระบบ (systematic sampling)  ผลของการศึกษาด้านผลการสำรวจจากแบบ     คัดกรองโรคซึมเศร้าทั้งสามแบบ พบว่านักศึกษามหาวิทยาลัยเป้าหมายมีความคิดและอารมณ์ความรู้สึกเบื่อ กดดัน และเหงาที่บ่งชี้อาการของภาวะซึมเศร้ามากที่สุด ส่วนอุบัติการณ์ภาวะซึมเศร้าของนักศึกษามหาวิทยาลัยดังกล่าว พบว่ามีอัตรา ร้อยละ 23.3 ซึ่งสูงกว่าอัตราร้อยละ 4 ของประชากรไทยที่เข้าข่ายภาวะซึมเศร้าตามข้อมูลขององค์การอนามัยโลก (World Health Organization, 2017) อย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติที่ 0.01 และพบว่านักศึกษาเพศชายมีอัตราเข้าข่ายภาวะซึมเศร้ามากกว่าเพศหญิงซึ่งเป็นอุบัติการณ์ที่ต่างจากการศึกษาก่อนหน้านี้  
本研究的目的是对泰国大学学生的抑郁情况进行调查。在这种情况下,泰国大学的学生出现了抑郁症。研究对象为3个调查问卷,1)cs -D泰国版,2)筛查2Q, 3)抑郁评估9Q。根据一项对700名大学生进行系统抽样调查的结果,对这三种类型的抑郁进行了筛选,发现目标大学生的思维和情绪低落、压力大、孤独是最常见的抑郁症状。2017年)统计显著性(P < 0.01),发现男性学生比女性更容易患抑郁症,这是一项与之前的研究不同的情况。
{"title":"สถานการณ์ภาวะซึมเศร้าของนักศึกษามหาวิทยาลัยไทย","authors":"จันทิมา อังคพณิชกิจ, อธิชาติ โรจนะหัสดิน","doi":"10.55766/cwus3563","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/cwus3563","url":null,"abstract":"บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเชิงสำรวจสถานการณ์ภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยไทย วัตถุประสงค์ของการวิจัยมี 2 ประการ ได้แก่ 1) เพื่อสำรวจอุบัติการณ์โรคซึมเศร้าในนักศึกษามหาวิทยาลัยไทย ในกรณีนี้คือ มหาวิทยาลัยของรัฐในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลแห่งหนึ่ง  และ 2) เพื่อศึกษาภาวะซึมเศร้าในนักศึกษาระดับปริญญาตรี ของมหาวิทยาลัยดังกล่าว จำแนกตามตัวแปร เช่น เพศ ชั้นปี  วิธีวิจัยดำเนินตามแนวทางการพิจารณาของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคนของมหาวิทยาลัยเป้าหมาย ข้อมูลที่ใช้วิเคราะห์ เป็นแบบสอบถาม 3 แบบ ได้แก่ 1) CES-D ฉบับภาษาไทย 2) แบบคัดกรองโรคซึมเศร้า 2Q และ 3) แบบประเมินโรคซึมเศร้า 9Q โดยสอบถามนักศึกษาระดับปริญญาตรีดังกล่าว จำนวน 700 คน ด้วยวิธีการสุ่มแบบมีระบบ (systematic sampling)  ผลของการศึกษาด้านผลการสำรวจจากแบบ     คัดกรองโรคซึมเศร้าทั้งสามแบบ พบว่านักศึกษามหาวิทยาลัยเป้าหมายมีความคิดและอารมณ์ความรู้สึกเบื่อ กดดัน และเหงาที่บ่งชี้อาการของภาวะซึมเศร้ามากที่สุด ส่วนอุบัติการณ์ภาวะซึมเศร้าของนักศึกษามหาวิทยาลัยดังกล่าว พบว่ามีอัตรา ร้อยละ 23.3 ซึ่งสูงกว่าอัตราร้อยละ 4 ของประชากรไทยที่เข้าข่ายภาวะซึมเศร้าตามข้อมูลขององค์การอนามัยโลก (World Health Organization, 2017) อย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติที่ 0.01 และพบว่านักศึกษาเพศชายมีอัตราเข้าข่ายภาวะซึมเศร้ามากกว่าเพศหญิงซึ่งเป็นอุบัติการณ์ที่ต่างจากการศึกษาก่อนหน้านี้  ","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"121 5 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2021-06-21","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"129431169","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การศึกษาแนวทางการใช้งานและเผยแพร่การสร้างแบบจำลองข้อมูลอาคาร สำหรับงานออกแบบตกแต่งภายใน 研究室内设计的建筑数据模型的使用和传播指南。
Pub Date : 2021-06-21 DOI: 10.55766/goei8861
กชพร วงษาเนาว์
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการใช้งานการสร้างแบบจำลองข้อมูลอาคาร หรือ BIM ด้านงานออกแบบตกแต่งภายในและเพื่อศึกษาแนวทางการเผยแพร่การสร้างแบบจำลองข้อมูลอาคาร หรือ BIM ด้านงานออกแบบตกแต่งภายใน  ผลการศึกษา พบว่า ความเข้าใจและรับรู้ของกลุ่มตัวอย่างต่อข้อมูลแนวทางการใช้งานการสร้างแบบจำลองข้อมูลอาคารสำหรับงานออกแบบตกแต่งภายในอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนการเผยแพร่การสร้างแบบจำลองข้อมูลอาคารสำหรับงานออกแบบตกแต่งภายในก็อยู่ในระดับปานกลางเช่นกัน ซึ่งผู้วิจัยใช้การถ่ายทอดแบบผสมและการถ่ายทอดโดยใช้ความศรัทธา ลักษณะที่ 2 ศรัทธาในผลของนวัตกรรมแต่ยังคงไม่เพียงพอ ควรใช้การถ่ายทอดแบบอื่น ๆ ร่วมด้วย นอกจากนี้กลุ่มตัวอย่างมีความเข้าใจในการเรียนรู้ ด้านพุทธิพิสัยซึ่งนำไปสู่การเผยแพร่ที่ประสบความสำเร็จถึงขั้นการยืนยัน ซึ่งมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างด้านพุทธิพิสัยและขั้นการยืนยันในระดับปานกลาง ในทางบวก ( r = .360**) ผู้วิจัยจะต้องปรับปรุงสิ่งที่นำไปเผยแพร่ต่อกลุ่มตัวอย่างให้มีความน่าสนใจเพิ่มมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะทำให้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์มีค่า   ในระดับสูง ทั้งนี้และทั้งนั้นอาจจะด้วยเหตุผลหรือปัจจัยด้านอื่น ๆ ด้วย ข้อเสนอแนะในการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับเรื่องหรือหัวข้อที่มีลักษณะหรือคล้ายกับประเด็นการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยเสนอแนะให้มีการศึกษาวิจัยในเชิงลึกมากกว่าการศึกษาวิจัยครั้งนี้โดยเพิ่มจำนวนกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา ทำการศึกษาข้อมูลที่มากกว่านี้ และทำการศึกษากรณีศึกษาที่ใกล้เคียง เพื่อให้การศึกษาวิจัยมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น และมีความน่าเชื่อถือเพิ่มมากขึ้นด้วย
本研究的目的是研究室内设计数据模型的使用方法,并探讨室内设计数据模型的发布方法,例如,室内设计数据模型的使用方法和数据模型的使用方法。研究人员使用混合模式和混合模式,使用第二种信仰,对创新的结果有信心,但对其他形式的影响还不够。此外,样本对输入有一定的了解,这导致了成功的发布到确认阶段。有一个正态分布的正态分布系数(r =。360*),研究人员需要改进对样本的贡献,使其更具吸引力。研究对象的数量增加,研究对象的数量增加,研究对象的数量增加,研究对象的数量增加,研究对象的数量增加。
{"title":"การศึกษาแนวทางการใช้งานและเผยแพร่การสร้างแบบจำลองข้อมูลอาคาร สำหรับงานออกแบบตกแต่งภายใน","authors":"กชพร วงษาเนาว์","doi":"10.55766/goei8861","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/goei8861","url":null,"abstract":"การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการใช้งานการสร้างแบบจำลองข้อมูลอาคาร หรือ BIM ด้านงานออกแบบตกแต่งภายในและเพื่อศึกษาแนวทางการเผยแพร่การสร้างแบบจำลองข้อมูลอาคาร หรือ BIM ด้านงานออกแบบตกแต่งภายใน  ผลการศึกษา พบว่า ความเข้าใจและรับรู้ของกลุ่มตัวอย่างต่อข้อมูลแนวทางการใช้งานการสร้างแบบจำลองข้อมูลอาคารสำหรับงานออกแบบตกแต่งภายในอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนการเผยแพร่การสร้างแบบจำลองข้อมูลอาคารสำหรับงานออกแบบตกแต่งภายในก็อยู่ในระดับปานกลางเช่นกัน ซึ่งผู้วิจัยใช้การถ่ายทอดแบบผสมและการถ่ายทอดโดยใช้ความศรัทธา ลักษณะที่ 2 ศรัทธาในผลของนวัตกรรมแต่ยังคงไม่เพียงพอ ควรใช้การถ่ายทอดแบบอื่น ๆ ร่วมด้วย นอกจากนี้กลุ่มตัวอย่างมีความเข้าใจในการเรียนรู้ ด้านพุทธิพิสัยซึ่งนำไปสู่การเผยแพร่ที่ประสบความสำเร็จถึงขั้นการยืนยัน ซึ่งมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างด้านพุทธิพิสัยและขั้นการยืนยันในระดับปานกลาง ในทางบวก ( r = .360**) ผู้วิจัยจะต้องปรับปรุงสิ่งที่นำไปเผยแพร่ต่อกลุ่มตัวอย่างให้มีความน่าสนใจเพิ่มมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะทำให้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์มีค่า   ในระดับสูง ทั้งนี้และทั้งนั้นอาจจะด้วยเหตุผลหรือปัจจัยด้านอื่น ๆ ด้วย ข้อเสนอแนะในการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับเรื่องหรือหัวข้อที่มีลักษณะหรือคล้ายกับประเด็นการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยเสนอแนะให้มีการศึกษาวิจัยในเชิงลึกมากกว่าการศึกษาวิจัยครั้งนี้โดยเพิ่มจำนวนกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา ทำการศึกษาข้อมูลที่มากกว่านี้ และทำการศึกษากรณีศึกษาที่ใกล้เคียง เพื่อให้การศึกษาวิจัยมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น และมีความน่าเชื่อถือเพิ่มมากขึ้นด้วย","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"236 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2021-06-21","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"115585906","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
Silence in an EFL Classroom: The Interplay of Schwab’s Four Commonplaces 英语课堂中的沉默:施瓦布四种常用语的相互作用
Pub Date : 2021-06-21 DOI: 10.55766/bhcd3404
Chantarath Hongboontri, Ittiphat Wittaya, Kornsiri Boonyaprakob
       This qualitative research aims to seek causes for silence in an English as a foreign language (EFL) classroom.  To do so, the researchers went to one university in Thailand, and then interviewed and observed 10 students who enrolled in the Fundamental University English I course and consented to participate in the study.  An analysis of the transcribed data helped the researchers identify four possible causes for silence in this particular EFL classroom.  They were: (1) the EFL teacher, (2) the students themselves and their classmates, (3) the teaching material and its content, and (4) the classroom environment.  More importantly, these four commonplaces appeared to be entwined.   That is, the less friendly the student participants felt their teacher and their classmates were, the less the students enjoyed their English class; the more pressured the classroom environment was; the more the students would be silent, and vice versa. 
本定性研究旨在探讨英语作为外语课堂中沉默的成因。为此,研究人员去了泰国的一所大学,然后采访和观察了10名参加大学基础英语I课程并同意参与研究的学生。对转录数据的分析帮助研究人员确定了在这个特殊的英语课堂上沉默的四种可能原因。他们是:(1)英语教师;(2)学生自己和他们的同学;(3)教材及其内容;(4)课堂环境。更重要的是,这四个常用语似乎是交织在一起的。也就是说,学生越觉得他们的老师和同学不友好,他们就越不喜欢他们的英语课;课堂环境压力越大;学生越沉默,反之亦然。
{"title":"Silence in an EFL Classroom: The Interplay of Schwab’s Four Commonplaces","authors":"Chantarath Hongboontri, Ittiphat Wittaya, Kornsiri Boonyaprakob","doi":"10.55766/bhcd3404","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/bhcd3404","url":null,"abstract":"       This qualitative research aims to seek causes for silence in an English as a foreign language (EFL) classroom.  To do so, the researchers went to one university in Thailand, and then interviewed and observed 10 students who enrolled in the Fundamental University English I course and consented to participate in the study.  An analysis of the transcribed data helped the researchers identify four possible causes for silence in this particular EFL classroom.  They were: (1) the EFL teacher, (2) the students themselves and their classmates, (3) the teaching material and its content, and (4) the classroom environment.  More importantly, these four commonplaces appeared to be entwined.   That is, the less friendly the student participants felt their teacher and their classmates were, the less the students enjoyed their English class; the more pressured the classroom environment was; the more the students would be silent, and vice versa. ","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"27 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2021-06-21","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"124124718","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 2
The Impact of Private Entrepreneur’s Religious Beliefs and Political Identity on the Corporate Philanthropy Donations 私人企业家的宗教信仰和政治认同对企业慈善捐赠的影响
Pub Date : 2021-06-21 DOI: 10.55766/gtyq5931
Leilei Zhang
Corporate philanthropy donations act as one of the important ways for enterprises to fulfill their social responsibilities. There are many factors that influence corporate charitable donations, and one of which is the entrepreneur's personal characteristics. This study discusses the influence of private entrepreneurs’ religious beliefs on corporate philanthropy, and further analyzes the regulating effect of entrepreneurs’ political identity on religious beliefs and corporate philanthropy. Through face-to-face in-depth interviews with 11 charitable entrepreneurs in 11 cities of 10 provinces in China, applying continuous analytic induction, combined with NVIVO software for three-level coding, it can be concluded that the religious beliefs of private entrepreneurs have no absolute effect on corporate philanthropy, but entrepreneurs with religious beliefs are all keen on philanthropy; and their political identities of having a positive impact on corporate philanthropy. For entrepreneurs without political identities, their religious beliefs have a positive impact on corporate philanthropy, while for entrepreneurs with political identities, there is a stronger positive correlation between their religious beliefs and corporate philanthropy. The research results help to further understand the motivation for charitable donations of private enterprises, and play a practical guiding role in promoting the development of private corporate philanthropy.
企业慈善捐赠是企业履行社会责任的重要方式之一。影响企业慈善捐赠的因素有很多,其中一个因素就是企业家的个人特征。本研究探讨了民营企业家的宗教信仰对企业慈善事业的影响,并进一步分析了企业家的政治认同对宗教信仰和企业慈善事业的调节作用。通过对中国10个省11个城市的11位慈善企业家进行面对面深度访谈,运用连续分析归纳法,结合NVIVO软件进行三级编码,得出民营企业家的宗教信仰对企业慈善没有绝对影响,但有宗教信仰的企业家都热衷于慈善;以及他们的政治身份对企业慈善事业的积极影响。对于不具有政治身份的企业家,其宗教信仰对企业慈善事业有正向影响,而对于具有政治身份的企业家,其宗教信仰与企业慈善事业的正相关更强。研究结果有助于进一步了解民营企业慈善捐赠的动机,对推动民营企业慈善事业的发展具有现实的指导作用。
{"title":"The Impact of Private Entrepreneur’s Religious Beliefs and Political Identity on the Corporate Philanthropy Donations","authors":"Leilei Zhang","doi":"10.55766/gtyq5931","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/gtyq5931","url":null,"abstract":"Corporate philanthropy donations act as one of the important ways for enterprises to fulfill their social responsibilities. There are many factors that influence corporate charitable donations, and one of which is the entrepreneur's personal characteristics. This study discusses the influence of private entrepreneurs’ religious beliefs on corporate philanthropy, and further analyzes the regulating effect of entrepreneurs’ political identity on religious beliefs and corporate philanthropy. Through face-to-face in-depth interviews with 11 charitable entrepreneurs in 11 cities of 10 provinces in China, applying continuous analytic induction, combined with NVIVO software for three-level coding, it can be concluded that the religious beliefs of private entrepreneurs have no absolute effect on corporate philanthropy, but entrepreneurs with religious beliefs are all keen on philanthropy; and their political identities of having a positive impact on corporate philanthropy. For entrepreneurs without political identities, their religious beliefs have a positive impact on corporate philanthropy, while for entrepreneurs with political identities, there is a stronger positive correlation between their religious beliefs and corporate philanthropy. The research results help to further understand the motivation for charitable donations of private enterprises, and play a practical guiding role in promoting the development of private corporate philanthropy.","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"75 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2021-06-21","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"130316556","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
Analysis of The Exchange Rate on The Thai Baht Against The Chinese Yuan Using A Support Vector Machine and Firefly Algorithm 基于支持向量机和萤火虫算法的泰铢兑人民币汇率分析
Pub Date : 2021-06-21 DOI: 10.55766/ndqn1606
Phakkhaphon Sawatkamon, Pannawit Kongmuangpak, J. Tanthanuch, Benjawan Rodjanadid
       This research constructed an optimal model to forecast the exchange rate of the Thai Baht against the Chinese Yuan by Support Vector Machine model and firefly algorithm. The software used for the construction was R program. The data used for modelling was secondary data collected from Bank of Thailand and the Ministry of Commerce, which consisted of the exchange rate of the Thai Baht against the Chinese Yuan, policy interest rate (per year), the Thai Baht index, import value, export value and international reserve fund. The collection of data was monthly records starting from January 2009 to June 2019, 126 data sets. The first 120 data sets were used for constructing the model and the last 6 data sets were used to verify the model. It was found that there were 3 factors which affected the exchange rate of the Thai baht against the Chinese yuan, with 5% statistical significance. The same direction factors were policy interest rate and import value and the opposite direction factor was international money fund. The optimal support vector machine model obtained was eps-regression type with radial basis function kernel, which had gamma parameter , epsilon parameter  and cost value parameter . The model verification showed that the obtained model provided the root mean square error 0.1518 only whereas the classical multiple linear regression model provided the root mean square error 0.2614.
本研究利用支持向量机模型和萤火虫算法构建了预测泰铢兑人民币汇率的最优模型。施工使用的软件为R程序。用于建模的数据是从泰国银行和商务部收集的二手数据,包括泰铢对人民币的汇率、政策利率(每年)、泰铢指数、进口值、出口值和国际储备基金。收集的数据为2009年1月至2019年6月的月度记录,126个数据集。前120个数据集用于构建模型,后6个数据集用于验证模型。结果发现,影响泰铢对人民币汇率的因素有3个,具有5%的统计学显著性。同方向因素是政策利率和进口价值,相反方向因素是国际货币基金。得到的最优支持向量机模型为具有径向基函数核的eps-回归模型,该模型具有gamma参数、epsilon参数和cost值参数。模型验证表明,所得模型的均方根误差仅为0.1518,而经典多元线性回归模型的均方根误差为0.2614。
{"title":"Analysis of The Exchange Rate on The Thai Baht Against The Chinese Yuan Using A Support Vector Machine and Firefly Algorithm","authors":"Phakkhaphon Sawatkamon, Pannawit Kongmuangpak, J. Tanthanuch, Benjawan Rodjanadid","doi":"10.55766/ndqn1606","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/ndqn1606","url":null,"abstract":"       This research constructed an optimal model to forecast the exchange rate of the Thai Baht against the Chinese Yuan by Support Vector Machine model and firefly algorithm. The software used for the construction was R program. The data used for modelling was secondary data collected from Bank of Thailand and the Ministry of Commerce, which consisted of the exchange rate of the Thai Baht against the Chinese Yuan, policy interest rate (per year), the Thai Baht index, import value, export value and international reserve fund. The collection of data was monthly records starting from January 2009 to June 2019, 126 data sets. The first 120 data sets were used for constructing the model and the last 6 data sets were used to verify the model. It was found that there were 3 factors which affected the exchange rate of the Thai baht against the Chinese yuan, with 5% statistical significance. The same direction factors were policy interest rate and import value and the opposite direction factor was international money fund. The optimal support vector machine model obtained was eps-regression type with radial basis function kernel, which had gamma parameter , epsilon parameter  and cost value parameter . The model verification showed that the obtained model provided the root mean square error 0.1518 only whereas the classical multiple linear regression model provided the root mean square error 0.2614.","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"44 1 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2021-06-21","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"132785305","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
The Shape of Agency: Control, Action, Skill, Knowledge 代理的形态:控制、行动、技能、知识
Pub Date : 2021-06-21 DOI: 10.55766/rvcq5211
Theptawee Chokvasin
-
-
{"title":"The Shape of Agency: Control, Action, Skill, Knowledge","authors":"Theptawee Chokvasin","doi":"10.55766/rvcq5211","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/rvcq5211","url":null,"abstract":"<jats:p>-</jats:p>","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"1 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2021-06-21","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"131272746","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
期刊
Suranaree Journal of Social Science
全部 Acc. Chem. Res. ACS Applied Bio Materials ACS Appl. Electron. Mater. ACS Appl. Energy Mater. ACS Appl. Mater. Interfaces ACS Appl. Nano Mater. ACS Appl. Polym. Mater. ACS BIOMATER-SCI ENG ACS Catal. ACS Cent. Sci. ACS Chem. Biol. ACS Chemical Health & Safety ACS Chem. Neurosci. ACS Comb. Sci. ACS Earth Space Chem. ACS Energy Lett. ACS Infect. Dis. ACS Macro Lett. ACS Mater. Lett. ACS Med. Chem. Lett. ACS Nano ACS Omega ACS Photonics ACS Sens. ACS Sustainable Chem. Eng. ACS Synth. Biol. Anal. Chem. BIOCHEMISTRY-US Bioconjugate Chem. BIOMACROMOLECULES Chem. Res. Toxicol. Chem. Rev. Chem. Mater. CRYST GROWTH DES ENERG FUEL Environ. Sci. Technol. Environ. Sci. Technol. Lett. Eur. J. Inorg. Chem. IND ENG CHEM RES Inorg. Chem. J. Agric. Food. Chem. J. Chem. Eng. Data J. Chem. Educ. J. Chem. Inf. Model. J. Chem. Theory Comput. J. Med. Chem. J. Nat. Prod. J PROTEOME RES J. Am. Chem. Soc. LANGMUIR MACROMOLECULES Mol. Pharmaceutics Nano Lett. Org. Lett. ORG PROCESS RES DEV ORGANOMETALLICS J. Org. Chem. J. Phys. Chem. J. Phys. Chem. A J. Phys. Chem. B J. Phys. Chem. C J. Phys. Chem. Lett. Analyst Anal. Methods Biomater. Sci. Catal. Sci. Technol. Chem. Commun. Chem. Soc. Rev. CHEM EDUC RES PRACT CRYSTENGCOMM Dalton Trans. Energy Environ. Sci. ENVIRON SCI-NANO ENVIRON SCI-PROC IMP ENVIRON SCI-WAT RES Faraday Discuss. Food Funct. Green Chem. Inorg. Chem. Front. Integr. Biol. J. Anal. At. Spectrom. J. Mater. Chem. A J. Mater. Chem. B J. Mater. Chem. C Lab Chip Mater. Chem. Front. Mater. Horiz. MEDCHEMCOMM Metallomics Mol. Biosyst. Mol. Syst. Des. Eng. Nanoscale Nanoscale Horiz. Nat. Prod. Rep. New J. Chem. Org. Biomol. Chem. Org. Chem. Front. PHOTOCH PHOTOBIO SCI PCCP Polym. Chem.
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
0
微信
客服QQ
Book学术公众号 扫码关注我们
反馈
×
意见反馈
请填写您的意见或建议
请填写您的手机或邮箱
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
现在去查看 取消
×
提示
确定
Book学术官方微信
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术
文献互助 智能选刊 最新文献 互助须知 联系我们:info@booksci.cn
Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。
Copyright © 2023 Book学术 All rights reserved.
ghs 京公网安备 11010802042870号 京ICP备2023020795号-1