首页 > 最新文献

Suranaree Journal of Social Science最新文献

英文 中文
ความต้องการความรู้ในการทำสวนปาล์มน้ำมันของเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันรายย่อย ในจังหวัดสตูล 图尔特省油棕榈种植者的农民对油棕榈种植者的知识需求
Pub Date : 2020-12-23 DOI: 10.55766/odwg5885
ปุรวิชญ์ พิทยาภินันท์, พลากร สัตย์ซื่อ
งานวิจัยเชิงสำรวจเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความรู้ในการทำสวนปาล์มน้ำมัน รวมทั้งศึกษาความต้องการความรู้ในการทำสวนปาล์มน้ำมัน และวิเคราะห์ปัจจัยกำหนดความต้องการความรู้ในการทำสวนปาล์มน้ำมันของเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันรายย่อย โดยเลือกจังหวัดสตูลเป็นพื้นที่วิจัย รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิด้วยแบบสัมภาษณ์เชิงโครงสร้าง        การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม การสนทนาตามธรรมชาติ และการสัมภาษณ์เชิงลึกกับเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันรายย่อยจำนวน 387 ราย ซึ่งใช้การสุ่มตัวอย่างแบบผสานวิธี การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา การถดถอยโลจิสติกเชิงลำดับ และการวิเคราะห์เนื้อหาที่ปรากฏ ผลการวิจัยพบว่า เกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันรายย่อยมีความรู้ในการทำสวนปาล์มน้ำมันโดยภาพรวมระดับปานกลาง เกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันรายย่อยต้องการความรู้ในเรื่องพันธุ์ปาล์มน้ำมันและการใส่ปุ๋ยระดับมาก ปัจจัยกำหนดความต้องการความรู้ในการทำสวนปาล์มน้ำมันของเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันรายย่อย ได้แก่ ความจำเป็นของการให้ความรู้ในการทำสวนปาล์มน้ำมัน การสืบทอดอาชีพการทำสวนปาล์มน้ำมันจากบรรพบุรุษ อาชีพเสริม หนี้สิน การเข้าร่วมกิจกรรมการให้ความรู้ในการทำสวนปาล์มน้ำมัน อายุ และจำนวนสมาชิกในครัวเรือน ผลการวิจัยที่ได้หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องสามารถนำไปใช้ในการกำหนดกลยุทธ์การส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมแก่เกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันรายย่อยต่อไป
这项调查研究旨在评估油棕榈种植园的知识,并研究油棕榈种植园的知识需求,并分析影响小型油棕榈种植者的油棕榈种植园知识需求的因素。选择Tadit省作为研究区域,用结构化访谈、散散步、非参与性观察等方法收集原始数据。与387名种植小油棕榈的农民进行了自然对话和深入采访。研究结果表明,中度油棕榈种植者对油棕榈种植者的种植者对油棕榈种植者的种植者对油棕榈种植者的种植者对油棕榈种植者的种植者对油棕榈种植者的种植者对油棕榈种植者的种植者对油棕榈种植者的种植者需要对油棕榈种植者的种植者的知识。影响小油棕榈种植者农民对油棕榈种植者知识需求的因素。了解油棕榈种植园的需要,继承传统的油棕榈种植园的需要,增加债务,参加油棕榈种植园的活动,年龄和家庭成员的数量。
{"title":"ความต้องการความรู้ในการทำสวนปาล์มน้ำมันของเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันรายย่อย ในจังหวัดสตูล","authors":"ปุรวิชญ์ พิทยาภินันท์, พลากร สัตย์ซื่อ","doi":"10.55766/odwg5885","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/odwg5885","url":null,"abstract":"งานวิจัยเชิงสำรวจเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความรู้ในการทำสวนปาล์มน้ำมัน รวมทั้งศึกษาความต้องการความรู้ในการทำสวนปาล์มน้ำมัน และวิเคราะห์ปัจจัยกำหนดความต้องการความรู้ในการทำสวนปาล์มน้ำมันของเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันรายย่อย โดยเลือกจังหวัดสตูลเป็นพื้นที่วิจัย รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิด้วยแบบสัมภาษณ์เชิงโครงสร้าง        การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม การสนทนาตามธรรมชาติ และการสัมภาษณ์เชิงลึกกับเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันรายย่อยจำนวน 387 ราย ซึ่งใช้การสุ่มตัวอย่างแบบผสานวิธี การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา การถดถอยโลจิสติกเชิงลำดับ และการวิเคราะห์เนื้อหาที่ปรากฏ ผลการวิจัยพบว่า เกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันรายย่อยมีความรู้ในการทำสวนปาล์มน้ำมันโดยภาพรวมระดับปานกลาง เกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันรายย่อยต้องการความรู้ในเรื่องพันธุ์ปาล์มน้ำมันและการใส่ปุ๋ยระดับมาก ปัจจัยกำหนดความต้องการความรู้ในการทำสวนปาล์มน้ำมันของเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันรายย่อย ได้แก่ ความจำเป็นของการให้ความรู้ในการทำสวนปาล์มน้ำมัน การสืบทอดอาชีพการทำสวนปาล์มน้ำมันจากบรรพบุรุษ อาชีพเสริม หนี้สิน การเข้าร่วมกิจกรรมการให้ความรู้ในการทำสวนปาล์มน้ำมัน อายุ และจำนวนสมาชิกในครัวเรือน ผลการวิจัยที่ได้หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องสามารถนำไปใช้ในการกำหนดกลยุทธ์การส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมแก่เกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันรายย่อยต่อไป","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"1 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2020-12-23","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"115520299","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
The Value of Humanity 人性的价值
Pub Date : 2020-06-26 DOI: 10.55766/zpzg2621
Theptawee Chokvasin
-
-
{"title":"The Value of Humanity","authors":"Theptawee Chokvasin","doi":"10.55766/zpzg2621","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/zpzg2621","url":null,"abstract":"<jats:p>-</jats:p>","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"39 2","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2020-06-26","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"114099624","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การพัฒนาตัวชี้วัดความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 4-6年级学生产品创意指标的开发
Pub Date : 2020-06-25 DOI: 10.55766/yqqa4264
Yanyong Na Bangchang, ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ, รุ่งทิวา แย้มรุ่ง
ในปัจจุบันนี้บุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ย่อมเป็นที่ต้องการของท้องตลาดแรงงาน ดังนั้น การศึกษาของไทยจึงจำเป็นต้องพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ให้เกิดขึ้นกับนักเรียน จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องพบว่า ยังไม่พบการศึกษาเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับตัวชี้วัด และอธิบายตัวชี้วัดความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ขึ้นมา ดังนั้น ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษางานวิจัยนี้ เพื่อพัฒนาตัวชี้วัด และอธิบายตัวชี้วัดความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โดยใช้เทคนิคเดลฟาย  ผลการวิจัยพบว่า ตัวชี้วัดความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์มีทั้งสิ้น 6 ตัวชี้วัด และคำอธิบายตัวชี้วัดมีทั้งสิ้น 18 ตัว โดยตัวชี้วัดความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการวิจัยเป็นตัวชี้วัดที่มุ่งเน้นให้นักเรียนสามารถผลิตผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นที่ต้องการของบุคคลทั่วไป  มีความรับผิดชอบต่อชุมชน และสิ่งแวดล้อม  ดังนั้น ผลการอภิปรายนี้จะเป็นแนวทางให้ครูผู้สอนนำตัวชี้วัดความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์  ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ ประเมินผลงาน และพัฒนานักเรียนให้มีความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์สูงขึ้น เพื่อให้นักเรียนสามารถนำไปประกอบอาชีพ และพัฒนาประเทศชาติให้มีความเจริญก้าวหน้าทันต่ออารยประเทศได้
现在,有创造力的人,产品,需要劳动力市场。因此,泰国的研究需要对学生进行产品创造力的研究,通过文献研究和相关研究发现,没有关于产品创造力的研究,也没有关于产品创造力的研究。制定并解释4-6年级学生产品创造力的指标。通过使用Dale Fifth技术,研究结果显示产品创造力的6个指标和18个指标的描述。通过衡量创造力的指标,研究产品是一项旨在提高学生生产力的指标。公众需要对社区和环境负责。因此,本讨论的结果将指导教师在组织、学习、评估和培养学生的产品创造力方面发挥更大的作用。这样学生就可以从事职业和发展他们的国家,使他们的国家现代化。
{"title":"การพัฒนาตัวชี้วัดความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6","authors":"Yanyong Na Bangchang, ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ, รุ่งทิวา แย้มรุ่ง","doi":"10.55766/yqqa4264","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/yqqa4264","url":null,"abstract":"ในปัจจุบันนี้บุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ย่อมเป็นที่ต้องการของท้องตลาดแรงงาน ดังนั้น การศึกษาของไทยจึงจำเป็นต้องพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ให้เกิดขึ้นกับนักเรียน จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องพบว่า ยังไม่พบการศึกษาเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับตัวชี้วัด และอธิบายตัวชี้วัดความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ขึ้นมา ดังนั้น ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษางานวิจัยนี้ เพื่อพัฒนาตัวชี้วัด และอธิบายตัวชี้วัดความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โดยใช้เทคนิคเดลฟาย  ผลการวิจัยพบว่า ตัวชี้วัดความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์มีทั้งสิ้น 6 ตัวชี้วัด และคำอธิบายตัวชี้วัดมีทั้งสิ้น 18 ตัว โดยตัวชี้วัดความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการวิจัยเป็นตัวชี้วัดที่มุ่งเน้นให้นักเรียนสามารถผลิตผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นที่ต้องการของบุคคลทั่วไป  มีความรับผิดชอบต่อชุมชน และสิ่งแวดล้อม  ดังนั้น ผลการอภิปรายนี้จะเป็นแนวทางให้ครูผู้สอนนำตัวชี้วัดความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์  ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ ประเมินผลงาน และพัฒนานักเรียนให้มีความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์สูงขึ้น เพื่อให้นักเรียนสามารถนำไปประกอบอาชีพ และพัฒนาประเทศชาติให้มีความเจริญก้าวหน้าทันต่ออารยประเทศได้","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"47 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2020-06-25","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"116855924","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การวิเคราะห์เส้นทางของปัจจัยในการจัดการเรียนการสอนรายวิชา ที่เกี่ยวกับกฎหมายคอมพิวเตอร์ของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาจังหวัดนครราชสีมา ด้วยวิธีสมการโครงสร้างแบบกำลังสองน้อยที่สุดบางส่วน 通过一些最小平方结构方程的方法,分析了学生计算机法课程管理的路径。
Pub Date : 2020-06-09 DOI: 10.55766/kjss9594
สมชาติ ดีอุดม, จักเรศ เมตตะธำรงค์
This research was aimed to 1) study the factors’ resource of learning management of computer law subject in the institutions of higher education in Nakhon Ratchasima province and 2) to analyze the learning impact factors in computer law subject which affected the learning outcomes. A group sampling was 400 students selected from the 4 institutions of higher education in Nakhon Ratchasima province. Research instruments included questionnaires analyzed by the PLS-SEM to measure the relationship among variables. The results of the research revealed that: 1) the learning factors in computer law subject were knowledge exchange, training techniques and method, education technologies, learning processes, individual learning, learning evaluation, and learning achievement. The main problems included practical knowledge of learners, instructional fairness to learners, opinion and intention of instructors should be focused on; and 2) the analysis of the learning impact factors using the Outer and Inner prototype showed the accurate and reliable results.        Regarding the learning impact factors, the results are as follows;        1) the knowledge exchange had an direct impact on the learning achievement and indirect one through the learning evaluation, 2) Training techniques and method could influence directly to the learning achievement and indirectly to the learning process; and 3) the adaptation of education technologies illustrated the direct impact on the learning achievement.  From these aspects, this study provides a better understanding on the improvement of training models and can be adjusted to the learning processes of computer law subject towards the current situation. This hopefully can be a guideline for other researchers.
本研究旨在研究呵叻府高等院校计算机法律学科学习管理的因素资源,分析影响学习效果的计算机法律学科学习影响因素。从那空叻差玛省的4所高等教育机构中抽取400名学生进行小组抽样。研究工具包括问卷调查,通过PLS-SEM分析变量之间的关系。研究结果表明:1)计算机法律学科的学习因素为知识交流、培训技术与方法、教育技术、学习过程、个人学习、学习评价和学习成果。主要问题包括学习者的实践知识、对学习者的教学公平、教师的意见和意图;(2)利用外部和内部原型对学习影响因素进行分析,结果准确可靠。对于学习影响因素,结果如下:1)知识交流对学习成果有直接影响,通过学习评价对学习成果有间接影响;2)培训技术和方法对学习成果有直接影响,对学习过程有间接影响;3)教育技术的适应性对学习成绩的直接影响。从这些方面来看,本研究可以更好地理解培训模式的改进,并且可以适应当前情况下计算机法律学科的学习过程。希望这能成为其他研究人员的指导。
{"title":"การวิเคราะห์เส้นทางของปัจจัยในการจัดการเรียนการสอนรายวิชา ที่เกี่ยวกับกฎหมายคอมพิวเตอร์ของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาจังหวัดนครราชสีมา ด้วยวิธีสมการโครงสร้างแบบกำลังสองน้อยที่สุดบางส่วน","authors":"สมชาติ ดีอุดม, จักเรศ เมตตะธำรงค์","doi":"10.55766/kjss9594","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/kjss9594","url":null,"abstract":"This research was aimed to 1) study the factors’ resource of learning management of computer law subject in the institutions of higher education in Nakhon Ratchasima province and 2) to analyze the learning impact factors in computer law subject which affected the learning outcomes. A group sampling was 400 students selected from the 4 institutions of higher education in Nakhon Ratchasima province. Research instruments included questionnaires analyzed by the PLS-SEM to measure the relationship among variables. The results of the research revealed that: 1) the learning factors in computer law subject were knowledge exchange, training techniques and method, education technologies, learning processes, individual learning, learning evaluation, and learning achievement. The main problems included practical knowledge of learners, instructional fairness to learners, opinion and intention of instructors should be focused on; and 2) the analysis of the learning impact factors using the Outer and Inner prototype showed the accurate and reliable results. \u0000       Regarding the learning impact factors, the results are as follows; \u0000       1) the knowledge exchange had an direct impact on the learning achievement and indirect one through the learning evaluation, 2) Training techniques and method could influence directly to the learning achievement and indirectly to the learning process; and 3) the adaptation of education technologies illustrated the direct impact on the learning achievement.  From these aspects, this study provides a better understanding on the improvement of training models and can be adjusted to the learning processes of computer law subject towards the current situation. This hopefully can be a guideline for other researchers.","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"44 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2020-06-09","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"131726078","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
A Case of the Validity Investigation of Concordance-based Cloze Testing: Construct Relevance Revisited 一个基于一致性的完形填空测试效度调查案例:构念关联再谈
Pub Date : 2020-06-08 DOI: 10.55766/vhpy3680
Kunlaphak Kongsuwannakul
Investigating construct validity is a process that is essential especially for devising a new item type. However, the distinction between construct-relevant and construct-irrelevant variances may not always be sufficient. In this article, the construct of the concordance-based cloze item type (henceforth ConCloze) will be defined through two research projects. The first one is the doctoral dissertation (Kongsuwannakul, 2017 Investigating the Construct Validity of a Concordance-based Cloze Test: A Mixed-methods Study), in which the construct validity of the item type is defined with an iterative research design. Item components and a variety of changes to them are used insofar as information about the language processes and domains is obtained out of the data. The other research project is a follow-up study (Kongsuwannakul, 2019 Suranaree University of Technology Students’ Language Domains in Engaging with a Concordance-based Cloze Test: A Contrastive Approach), in which a contrastive approach is used for identifying distinguishing language domains in ConCloze. It is found that language domains such as knowledge of lexical semantics are not sufficiently distinguishing the construct of the item type. As for theoretical implications, it will be argued that construct-relevant variance could be divided into construct variance and construct-peripheral variance.
构念效度的调查是一个重要的过程,尤其是在设计一个新的题型时。然而,结构相关和结构不相关差异之间的区别可能并不总是充分的。本文将通过两个研究项目来定义基于一致性的完形填空条目类型(以下简称ConCloze)的构建。第一个是博士论文(Kongsuwannakul, 2017),研究基于一致性的完形填空测试的构念效度:混合方法研究),其中项目类型的构念效度采用迭代研究设计来定义。只要从数据中获得有关语言过程和领域的信息,就会使用项组件和对它们的各种更改。另一个研究项目是一项后续研究(Kongsuwannakul, 2019 Suranaree Technology University of student’s Language Domains in Engaging with a concorence based Cloze Test: a contrast Approach),其中使用对比方法来识别结语中的不同语言领域。研究发现,词汇语义知识等语言领域对项目类型结构的区分不够充分。在理论意义上,本文认为建构相关方差可分为建构相关方差和建构外围方差。
{"title":"A Case of the Validity Investigation of Concordance-based Cloze Testing: Construct Relevance Revisited","authors":"Kunlaphak Kongsuwannakul","doi":"10.55766/vhpy3680","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/vhpy3680","url":null,"abstract":"Investigating construct validity is a process that is essential especially for devising a new item type. However, the distinction between construct-relevant and construct-irrelevant variances may not always be sufficient. In this article, the construct of the concordance-based cloze item type (henceforth ConCloze) will be defined through two research projects. The first one is the doctoral dissertation (Kongsuwannakul, 2017 Investigating the Construct Validity of a Concordance-based Cloze Test: A Mixed-methods Study), in which the construct validity of the item type is defined with an iterative research design. Item components and a variety of changes to them are used insofar as information about the language processes and domains is obtained out of the data. The other research project is a follow-up study (Kongsuwannakul, 2019 Suranaree University of Technology Students’ Language Domains in Engaging with a Concordance-based Cloze Test: A Contrastive Approach), in which a contrastive approach is used for identifying distinguishing language domains in ConCloze. It is found that language domains such as knowledge of lexical semantics are not sufficiently distinguishing the construct of the item type. As for theoretical implications, it will be argued that construct-relevant variance could be divided into construct variance and construct-peripheral variance.","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"81 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2020-06-08","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"127849141","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์กับประสิทธิภาพการทำงาน และความสำเร็จในการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีภาษีอากรในประเทศไทย 情绪智力与工作效率之间的关系,以及泰国税务审计员的工作成功率。
Pub Date : 2020-05-01 DOI: 10.55766/amfe9129
พิมพาภรณ์ พึ่งบุญพานิชย์
วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้เพื่อตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์กับประสิทธิภาพการทำงานและความสำเร็จในการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีภาษีอากรในประเทศไทย แบบสอบถามได้นำมาใช้เป็นเครื่องมือจำนวน 398 ชุด เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้สอบบัญชีภาษีอากรซึ่งถูกนำมาใช้เป็นกลุ่มตัวอย่าง การวิเคราะห์การถดถอย (OLS) เป็นวิธีที่นำมาใช้ในการทดสอบสมมติฐาน โดยมีความฉลาดทางอารมณ์เป็นตัวแปรอิสระที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานและความสำเร็จในการปฏิบัติงานเป็นตัวแปรตาม ผลลัพธ์แสดงให้เห็นว่าความฉลาดทางอารมณ์ซึ่งประกอบไปด้วยการตระหนักรู้อารมณ์ของตนเอง  การจัดการอารมณ์ของตนเอง  การจูงใจ  การเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น  และการมีทักษะทางสังคม ล้วนส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพการทำงานและความสำเร็จในการปฏิบัติงาน  นอกจากนี้งานวิจัยนี้สามารถนำมาใช้เป็นข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคในการบริหารจัดการอารมณ์ซึ่งส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงาน  ทั้งนี้ยังส่งเสริมให้ผู้สอบบัญชีภาษีอากรได้ตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารจัดการความฉลาดทางอารมณ์ซึ่งเป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับการปรับปรุงและพัฒนาการบริหารอารมณ์ของผู้สอบบัญชีภาษีอากร
本研究的目的是调查情绪智力与工作效率之间的关系,以及泰国税务审计员的工作成就。作为回归分析的样本,用于假设检验的方法。情绪智力是影响工作效率和行动成功的独立变量,结果表明,情绪智力是由自我意识、自我管理、激励、理解他人感受和社会技能组成的。此外,本研究可用于分析情绪管理中影响工作效率的问题和障碍。它还鼓励税务审计人员认识到情感智力管理的重要性,为改进和发展税务审计人员的情感管理提供了基本信息。
{"title":"ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์กับประสิทธิภาพการทำงาน และความสำเร็จในการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีภาษีอากรในประเทศไทย","authors":"พิมพาภรณ์ พึ่งบุญพานิชย์","doi":"10.55766/amfe9129","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/amfe9129","url":null,"abstract":"วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้เพื่อตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์กับประสิทธิภาพการทำงานและความสำเร็จในการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีภาษีอากรในประเทศไทย แบบสอบถามได้นำมาใช้เป็นเครื่องมือจำนวน 398 ชุด เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้สอบบัญชีภาษีอากรซึ่งถูกนำมาใช้เป็นกลุ่มตัวอย่าง การวิเคราะห์การถดถอย (OLS) เป็นวิธีที่นำมาใช้ในการทดสอบสมมติฐาน โดยมีความฉลาดทางอารมณ์เป็นตัวแปรอิสระที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานและความสำเร็จในการปฏิบัติงานเป็นตัวแปรตาม \u0000ผลลัพธ์แสดงให้เห็นว่าความฉลาดทางอารมณ์ซึ่งประกอบไปด้วยการตระหนักรู้อารมณ์ของตนเอง  การจัดการอารมณ์ของตนเอง  การจูงใจ  การเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่น  และการมีทักษะทางสังคม ล้วนส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพการทำงานและความสำเร็จในการปฏิบัติงาน  นอกจากนี้งานวิจัยนี้สามารถนำมาใช้เป็นข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคในการบริหารจัดการอารมณ์ซึ่งส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงาน  ทั้งนี้ยังส่งเสริมให้ผู้สอบบัญชีภาษีอากรได้ตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารจัดการความฉลาดทางอารมณ์ซึ่งเป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับการปรับปรุงและพัฒนาการบริหารอารมณ์ของผู้สอบบัญชีภาษีอากร","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"250 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2020-05-01","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"123031089","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
อะไรคือการอธิบายและการทำความเข้าใจในการศึกษาทางสังคมศาสตร์: มุมมองในการศึกษาสังคมและผลต่อการศึกษาปรัชญาการเมือง 社会科学教育的解释和理解:社会教育的视角及其对政治哲学教育的影响
Pub Date : 2020-04-22 DOI: 10.55766/fepd2646
ญาเรศ อัครพัฒนานุกูล
บทความเรื่องนี้มุ่งพิจารณาถกเถียงถึงแนวทางการศึกษาทางสังคมผ่านมุมมองที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่าง ‘การอธิบาย’ และ ‘การทำความเข้าใจ’ หลัก ๆ สามแนวทาง ได้แก่ แนวทางที่สนับสนุนการอธิบายเพื่อใช้ในการศึกษาทางสังคมในลักษณะเดียวกับการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ แนวทางที่สนับสนุนการทำความเข้าใจและการตีความความสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างมนุษย์ในฐานะของชีวิตและภาษาที่เต็มไปด้วยความหมาย และแนวทางที่สนับสนุนการไปด้วยกันได้ของการอธิบายและการทำความเข้าใจ โดยแนวทางต่าง ๆ ข้างต้น ไม่ว่าจะเป็นแนวทางที่สนับสนุนการไปด้วยกันได้ระหว่างวิธีการทั้งสองวิธี หรือแนวทางที่ให้ความสำคัญกับความแตกต่าง ล้วนขึ้นอยู่กับหลักการพื้นฐานของการแสวงหาความรู้ที่แตกต่างกัน อันสะท้อนให้เห็นถึงประเด็นถกเถียงที่สำคัญที่สุดประเด็นหนึ่งในทางปรัชญาสังคมศาสตร์ นั่นก็คือ ข้อถกเถียงที่ว่า นักวิจัยทางสังคมสามารถใช้วิธีในการค้นหาความรู้ในแนวทางเดียวกับวิทยาศาสตร์ธรรมชาติได้หรือไม่ จากแนวทางต่าง ๆ ดังกล่าว ผู้ศึกษาเสนอว่าทั้งการอธิบายและการทำความเข้าใจล้วนมีนัยสำคัญต่อการศึกษาสังคมศาสตร์และปรัชญาการเมือง แม้ว่าในแต่ละการศึกษาอาจจะมีการให้ค่าน้ำหนักที่แตกต่างกันก็ตาม ประโยชน์หรือนัยของบทความวิชาการนี้นำไปสู่การแสวงหาเพื่อทำความเข้าใจข้อเท็จจริงทางสังคมและการศึกษาปรัชญาการเมืองในระดับที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการศึกษาทางสังคมศาสตร์ต่อไป
这篇文章主要讨论了“解释”和“理解”之间的关系。在科学研究中,支持理解和解释人类作为生命和语言之间的社会关系的方法,以及通过上述方法的解释和理解的方法,无论是对两种方法的兼容,还是对差异的关注,都是基于对不同知识追求的基本原则。这反映了社会哲学中最重要的一个问题,即社会研究人员是否可以使用自然科学的方法来寻找知识。从这些不同的方向。研究人员认为,解释和理解对社会科学和政治哲学的研究都很重要,尽管每个研究的权重可能不同。这篇学术文章的好处或暗示导致了对社会事实和政治哲学研究的追求,在社会科学研究的充分和适当的层面上。
{"title":"อะไรคือการอธิบายและการทำความเข้าใจในการศึกษาทางสังคมศาสตร์: มุมมองในการศึกษาสังคมและผลต่อการศึกษาปรัชญาการเมือง","authors":"ญาเรศ อัครพัฒนานุกูล","doi":"10.55766/fepd2646","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/fepd2646","url":null,"abstract":"บทความเรื่องนี้มุ่งพิจารณาถกเถียงถึงแนวทางการศึกษาทางสังคมผ่านมุมมองที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่าง ‘การอธิบาย’ และ ‘การทำความเข้าใจ’ หลัก ๆ สามแนวทาง ได้แก่ แนวทางที่สนับสนุนการอธิบายเพื่อใช้ในการศึกษาทางสังคมในลักษณะเดียวกับการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ แนวทางที่สนับสนุนการทำความเข้าใจและการตีความความสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างมนุษย์ในฐานะของชีวิตและภาษาที่เต็มไปด้วยความหมาย และแนวทางที่สนับสนุนการไปด้วยกันได้ของการอธิบายและการทำความเข้าใจ โดยแนวทางต่าง ๆ ข้างต้น ไม่ว่าจะเป็นแนวทางที่สนับสนุนการไปด้วยกันได้ระหว่างวิธีการทั้งสองวิธี หรือแนวทางที่ให้ความสำคัญกับความแตกต่าง ล้วนขึ้นอยู่กับหลักการพื้นฐานของการแสวงหาความรู้ที่แตกต่างกัน อันสะท้อนให้เห็นถึงประเด็นถกเถียงที่สำคัญที่สุดประเด็นหนึ่งในทางปรัชญาสังคมศาสตร์ นั่นก็คือ ข้อถกเถียงที่ว่า นักวิจัยทางสังคมสามารถใช้วิธีในการค้นหาความรู้ในแนวทางเดียวกับวิทยาศาสตร์ธรรมชาติได้หรือไม่ จากแนวทางต่าง ๆ ดังกล่าว ผู้ศึกษาเสนอว่าทั้งการอธิบายและการทำความเข้าใจล้วนมีนัยสำคัญต่อการศึกษาสังคมศาสตร์และปรัชญาการเมือง แม้ว่าในแต่ละการศึกษาอาจจะมีการให้ค่าน้ำหนักที่แตกต่างกันก็ตาม ประโยชน์หรือนัยของบทความวิชาการนี้นำไปสู่การแสวงหาเพื่อทำความเข้าใจข้อเท็จจริงทางสังคมและการศึกษาปรัชญาการเมืองในระดับที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการศึกษาทางสังคมศาสตร์ต่อไป","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"7 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2020-04-22","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"131163770","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การวิเคราะห์องค์ประกอบการประเมินจิตพิสัยในการศึกษาอิเล็กทรอนิกส์ 电子教育中的因素分析、心理评估
Pub Date : 2020-04-21 DOI: 10.55766/hrly3160
กาญจน์ ณ ศรีธะ, จิติมนต์ อั่งสกุล, ธรา อั่งสกุล
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบการประเมินจิตพิสัยในการศึกษาอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้สอนในโครงการพัฒนามหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทยเพื่อการจัดการเรียนการสอนในระบบเปิด จำนวน 120 ราย เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามมาตราส่วน 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจและการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สอง ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ สามารถจัดกลุ่มตัวแปรได้ 4 องค์ประกอบ คือ ความรับผิดชอบ ความสนใจสื่อการสอน ความมีส่วนร่วมในห้องเรียนออนไลน์ และความซื่อสัตย์ ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สอง แสดงให้เห็นว่าแบบจำลองที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไคร์สแควร์ = 55.76 ค่าองศาอิสระ = 42 ค่า P-Value 0.075 = ค่า CFI = 0.989 ค่า TLI = 0.983 ค่า RMSEA = 0.052 ค่า SRMR = 0.065 
本研究的对象是泰国网络大学(Cybet Tai University)课程开发项目的120名教师,他们使用5级问卷收集数据,通过调查元素分析和确认元素分析。第二证实因子分析结果表明,改进的模型与经验数据一致。CRES = 55.76自由度= 42 P-值= 0.075 CFI = 0.989 TLI = 0.983 RMSEA = 0.052 srmr = 0.065
{"title":"การวิเคราะห์องค์ประกอบการประเมินจิตพิสัยในการศึกษาอิเล็กทรอนิกส์","authors":"กาญจน์ ณ ศรีธะ, จิติมนต์ อั่งสกุล, ธรา อั่งสกุล","doi":"10.55766/hrly3160","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/hrly3160","url":null,"abstract":"งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบการประเมินจิตพิสัยในการศึกษาอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้สอนในโครงการพัฒนามหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทยเพื่อการจัดการเรียนการสอนในระบบเปิด จำนวน 120 ราย เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามมาตราส่วน 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจและการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สอง ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ สามารถจัดกลุ่มตัวแปรได้ 4 องค์ประกอบ คือ ความรับผิดชอบ ความสนใจสื่อการสอน ความมีส่วนร่วมในห้องเรียนออนไลน์ และความซื่อสัตย์ ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สอง แสดงให้เห็นว่าแบบจำลองที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไคร์สแควร์ = 55.76 ค่าองศาอิสระ = 42 ค่า P-Value 0.075 = ค่า CFI = 0.989 ค่า TLI = 0.983 ค่า RMSEA = 0.052 ค่า SRMR = 0.065 ","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"18 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2020-04-21","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"115654166","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
Are our Chinese Guests Annoying? : An Analysis of Thai Hosts’ Perceptions of the Chinese Tourists 我们的中国客人讨厌吗?泰国东道主对中国游客的观感分析
Pub Date : 2020-04-15 DOI: 10.55766/vwkw3446
Lertporn Parasakul
Along with the positive economic impact brought by the Chinese market, the negative social impacts have been the cultural clashes which have been reflected through complaints and comments made through several media. This study aimed to examine how the Thai hosts consisting of 401 respondents, working in the tourism industry including hotel staff, tour guides, tour operators and airline flight attendants, perceive the behaviors of the Chinese tourists or their guests. The behaviors studied were identified by reviewing bulletins, discussion boards, reviews and comments on online media. A previous study of similar topic done in Macao was closely reviewed.  19 behaviors of the Chinese tourists were perceived by the Thai hosts as frequent and annoying. These behaviors, which require immediate attention to, included talking loudly in public, making noise eating in a restaurant, rushing into a place/vehicle in a chaotic manner, bumping into/shoving others in a crowd, shouting/calling others in a hotel/public place, spilling food on the table, cutting a queue, allowing children to run around disturbing others, smoking in a non-smoking area, getting into the elevator/vehicle before others get off, walking obstructing others in the footpath, not caring to observe or learn local customs, littering carelessly, dropping cigarette butts, spitting in public, not flushing the toilet after use, not observing or breaking local traffic rules, wearing indecent clothes /not observing local dress code, and expecting to be served before locals. The relevant stakeholders should pay attention to these 19 behaviors as they occurred frequently and were annoying to the hosts. Other 19 behaviors were perceived to be annoying. However, they occurred less frequently. These behaviors have to be watched out. Three behaviors can be ignored as they were not annoying and not frequent. The tourist’s trying to get a bargain took place frequently but it was considered not annoying. Therefore, this behavior is of low priority. The conclusion gave some ideas on how to deal with the frequent and annoying behaviors.
在中国市场带来积极的经济影响的同时,负面的社会影响是文化冲突,通过几家媒体的投诉和评论反映出来。本研究旨在调查401名在旅游业工作的泰国东道主(包括酒店员工、导游、旅游经营者和航空公司空乘人员)如何看待中国游客或其客人的行为。这些被研究的行为是通过查看在线媒体上的公告、讨论板、评论和评论来确定的。本文仔细回顾了以前在澳门进行的类似研究。中国游客的19个行为被泰国东道主认为是频繁和烦人的。这些行为包括:在公共场合大声喧哗、在餐馆吃饭时制造噪音、乱闯乱撞、在人群中撞/推他人、在酒店/公共场所大喊大叫、把食物洒在桌子上、插队、让孩子到处跑打扰他人、在非吸烟区吸烟、在别人下车前进入电梯/车辆、在人行道上妨碍他人行走等,需要立即注意。不注意遵守或学习当地风俗习惯,乱扔垃圾,乱扔烟头,随地吐痰,上完厕所不冲水,不遵守或违反当地交通规则,穿着不雅/不遵守当地着装规定,期望比当地人先被服务。这19个行为经常发生,让主人很烦,相关的利益相关者应该注意。其他19种行为被认为是令人讨厌的。然而,它们发生的频率较低。这些行为必须加以注意。有三种行为可以忽略,因为它们既不烦人也不频繁。游客试图讨价还价的情况经常发生,但被认为并不令人讨厌。因此,此行为的优先级较低。最后给出了如何处理频繁出现的恼人行为的一些建议。
{"title":"Are our Chinese Guests Annoying? : An Analysis of Thai Hosts’ Perceptions of the Chinese Tourists","authors":"Lertporn Parasakul","doi":"10.55766/vwkw3446","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/vwkw3446","url":null,"abstract":"Along with the positive economic impact brought by the Chinese market, the negative social impacts have been the cultural clashes which have been reflected through complaints and comments made through several media. This study aimed to examine how the Thai hosts consisting of 401 respondents, working in the tourism industry including hotel staff, tour guides, tour operators and airline flight attendants, perceive the behaviors of the Chinese tourists or their guests. The behaviors studied were identified by reviewing bulletins, discussion boards, reviews and comments on online media. A previous study of similar topic done in Macao was closely reviewed.  19 behaviors of the Chinese tourists were perceived by the Thai hosts as frequent and annoying. These behaviors, which require immediate attention to, included talking loudly in public, making noise eating in a restaurant, rushing into a place/vehicle in a chaotic manner, bumping into/shoving others in a crowd, shouting/calling others in a hotel/public place, spilling food on the table, cutting a queue, allowing children to run around disturbing others, smoking in a non-smoking area, getting into the elevator/vehicle before others get off, walking obstructing others in the footpath, not caring to observe or learn local customs, littering carelessly, dropping cigarette butts, spitting in public, not flushing the toilet after use, not observing or breaking local traffic rules, wearing indecent clothes /not observing local dress code, and expecting to be served before locals. The relevant stakeholders should pay attention to these 19 behaviors as they occurred frequently and were annoying to the hosts. Other 19 behaviors were perceived to be annoying. However, they occurred less frequently. These behaviors have to be watched out. Three behaviors can be ignored as they were not annoying and not frequent. The tourist’s trying to get a bargain took place frequently but it was considered not annoying. Therefore, this behavior is of low priority. The conclusion gave some ideas on how to deal with the frequent and annoying behaviors.","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"139 1","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2020-04-15","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"127499839","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
การพัฒนากลไกขับเคลื่อนอาหารปลอดภัย ในกลุ่มธุรกิจโรงแรมและที่พัก: กรณีศึกษา อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 集团企业、酒店和住宿安全推进机制的发展:清迈省
Pub Date : 2020-03-04 DOI: 10.55766/ooxk4488
วิวัฒน์ แก้วดวงเล็ก, วีรยุทธ สิริรัตน์เรืองสุข
งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเพื่อพัฒนากลไกในการขับเคลื่อนอาหารปลอดภัย ของกลุ่มธุรกิจโรงแรม ในพื้นที่อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย โดยมีกระบวนการในการวิจัยเริ่มจาก การสัมภาษณ์เชิงลึกของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในด้านอาหารปลอดภัยของจังหวัดเชียงราย ร่วมกับการเก็บข้อมูลในกลุ่มตัวอย่างที่เป็นโรงแรมในอำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย จำนวน 5 แห่งซึ่งทำการสำรวจสภาพแวดล้อมในการประกอบอาหาร รวมทั้งการทดสอบการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร ด้วยชุดทดสอบบอแร็กซ์ ชุดทดสอบสารฟอกขาว ชุดทดสอบสารกันรา ชุดทดสอบฟอร์มาลีน และชุดทดสอบสารฆ่าแมลง ข้อมูลทั้งหมดจะนำมาวิเคราะห์ และร่วมกันพัฒนากลไกดังกล่าวจากเวทีประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นในภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า ถึงแม้ว่าจังหวัดเชียงรายได้ดำเนินโครงการอาหารปลอดภัย เชียงรายเป็นสุข แต่ยังขาดการวางแผนการผลิตอาหารปลอดภัยให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภค สำหรับภาคธุรกิจโรงแรมในอำเภอเชียงแสน ได้มีการจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการประกอบอาหาร ตลอดจนไม่พบการปนเปื้อนสารเคมีในตัวอย่างอาหาร แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีการปนเปื้อนเชื้อ E.coli ในตัวอย่างน้ำดื่มของโรงแรมที่เป็นกลุ่มตัวอย่างจำนวน 1 แห่ง ดังนั้น กลไกที่สำคัญในการขับเคลื่อนอาหารปลอดภัย ประกอบด้วย การวางแผนร่วมกันในการผลิตวัตถุดิบ การสนับสนุนแหล่งกระจายอาหารปลอดภัย การสนับสนุนอาหารท้องถิ่นให้กับธุรกิจโรงแรม และการจัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารและความปลอดภัยในกลุ่มธุรกิจโรงแรม
本研究旨在发展清迈地区酒店集团的安全食品推进机制。在研究过程中,对清莱安全食品领域的相关人员进行了深入的采访,并在清莱县的5家酒店的样本中进行了调查,包括硼砂测试、漂白剂测试、甲醛测试和杀虫剂测试。研究表明,尽管清莱实施了清莱安全食品计划,但仍缺乏符合消费者需求的安全食品生产计划。清迈的酒店在食品样品中提供了适当的烹饪环境,但没有发现任何化学物质污染。因此,推进食品安全的重要机制包括共同规划原料生产、安全食品供应支持、当地食品向酒店企业提供食品卫生知识和安全培训。
{"title":"การพัฒนากลไกขับเคลื่อนอาหารปลอดภัย ในกลุ่มธุรกิจโรงแรมและที่พัก: กรณีศึกษา อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย","authors":"วิวัฒน์ แก้วดวงเล็ก, วีรยุทธ สิริรัตน์เรืองสุข","doi":"10.55766/ooxk4488","DOIUrl":"https://doi.org/10.55766/ooxk4488","url":null,"abstract":"งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเพื่อพัฒนากลไกในการขับเคลื่อนอาหารปลอดภัย ของกลุ่มธุรกิจโรงแรม ในพื้นที่อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย โดยมีกระบวนการในการวิจัยเริ่มจาก การสัมภาษณ์เชิงลึกของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในด้านอาหารปลอดภัยของจังหวัดเชียงราย ร่วมกับการเก็บข้อมูลในกลุ่มตัวอย่างที่เป็นโรงแรมในอำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย จำนวน 5 แห่งซึ่งทำการสำรวจสภาพแวดล้อมในการประกอบอาหาร รวมทั้งการทดสอบการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร ด้วยชุดทดสอบบอแร็กซ์ ชุดทดสอบสารฟอกขาว ชุดทดสอบสารกันรา ชุดทดสอบฟอร์มาลีน และชุดทดสอบสารฆ่าแมลง ข้อมูลทั้งหมดจะนำมาวิเคราะห์ และร่วมกันพัฒนากลไกดังกล่าวจากเวทีประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นในภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า ถึงแม้ว่าจังหวัดเชียงรายได้ดำเนินโครงการอาหารปลอดภัย เชียงรายเป็นสุข แต่ยังขาดการวางแผนการผลิตอาหารปลอดภัยให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภค สำหรับภาคธุรกิจโรงแรมในอำเภอเชียงแสน ได้มีการจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในการประกอบอาหาร ตลอดจนไม่พบการปนเปื้อนสารเคมีในตัวอย่างอาหาร แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีการปนเปื้อนเชื้อ E.coli ในตัวอย่างน้ำดื่มของโรงแรมที่เป็นกลุ่มตัวอย่างจำนวน 1 แห่ง ดังนั้น กลไกที่สำคัญในการขับเคลื่อนอาหารปลอดภัย ประกอบด้วย การวางแผนร่วมกันในการผลิตวัตถุดิบ การสนับสนุนแหล่งกระจายอาหารปลอดภัย การสนับสนุนอาหารท้องถิ่นให้กับธุรกิจโรงแรม และการจัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารและความปลอดภัยในกลุ่มธุรกิจโรงแรม","PeriodicalId":145995,"journal":{"name":"Suranaree Journal of Social Science","volume":"19 6","pages":"0"},"PeriodicalIF":0.0,"publicationDate":"2020-03-04","publicationTypes":"Journal Article","fieldsOfStudy":null,"isOpenAccess":false,"openAccessPdf":"","citationCount":null,"resultStr":null,"platform":"Semanticscholar","paperid":"132433912","PeriodicalName":null,"FirstCategoryId":null,"ListUrlMain":null,"RegionNum":0,"RegionCategory":"","ArticlePicture":[],"TitleCN":null,"AbstractTextCN":null,"PMCID":"","EPubDate":null,"PubModel":null,"JCR":null,"JCRName":null,"Score":null,"Total":0}
引用次数: 0
期刊
Suranaree Journal of Social Science
全部 Acc. Chem. Res. ACS Applied Bio Materials ACS Appl. Electron. Mater. ACS Appl. Energy Mater. ACS Appl. Mater. Interfaces ACS Appl. Nano Mater. ACS Appl. Polym. Mater. ACS BIOMATER-SCI ENG ACS Catal. ACS Cent. Sci. ACS Chem. Biol. ACS Chemical Health & Safety ACS Chem. Neurosci. ACS Comb. Sci. ACS Earth Space Chem. ACS Energy Lett. ACS Infect. Dis. ACS Macro Lett. ACS Mater. Lett. ACS Med. Chem. Lett. ACS Nano ACS Omega ACS Photonics ACS Sens. ACS Sustainable Chem. Eng. ACS Synth. Biol. Anal. Chem. BIOCHEMISTRY-US Bioconjugate Chem. BIOMACROMOLECULES Chem. Res. Toxicol. Chem. Rev. Chem. Mater. CRYST GROWTH DES ENERG FUEL Environ. Sci. Technol. Environ. Sci. Technol. Lett. Eur. J. Inorg. Chem. IND ENG CHEM RES Inorg. Chem. J. Agric. Food. Chem. J. Chem. Eng. Data J. Chem. Educ. J. Chem. Inf. Model. J. Chem. Theory Comput. J. Med. Chem. J. Nat. Prod. J PROTEOME RES J. Am. Chem. Soc. LANGMUIR MACROMOLECULES Mol. Pharmaceutics Nano Lett. Org. Lett. ORG PROCESS RES DEV ORGANOMETALLICS J. Org. Chem. J. Phys. Chem. J. Phys. Chem. A J. Phys. Chem. B J. Phys. Chem. C J. Phys. Chem. Lett. Analyst Anal. Methods Biomater. Sci. Catal. Sci. Technol. Chem. Commun. Chem. Soc. Rev. CHEM EDUC RES PRACT CRYSTENGCOMM Dalton Trans. Energy Environ. Sci. ENVIRON SCI-NANO ENVIRON SCI-PROC IMP ENVIRON SCI-WAT RES Faraday Discuss. Food Funct. Green Chem. Inorg. Chem. Front. Integr. Biol. J. Anal. At. Spectrom. J. Mater. Chem. A J. Mater. Chem. B J. Mater. Chem. C Lab Chip Mater. Chem. Front. Mater. Horiz. MEDCHEMCOMM Metallomics Mol. Biosyst. Mol. Syst. Des. Eng. Nanoscale Nanoscale Horiz. Nat. Prod. Rep. New J. Chem. Org. Biomol. Chem. Org. Chem. Front. PHOTOCH PHOTOBIO SCI PCCP Polym. Chem.
×
引用
GB/T 7714-2015
复制
MLA
复制
APA
复制
导出至
BibTeX EndNote RefMan NoteFirst NoteExpress
×
0
微信
客服QQ
Book学术公众号 扫码关注我们
反馈
×
意见反馈
请填写您的意见或建议
请填写您的手机或邮箱
×
提示
您的信息不完整,为了账户安全,请先补充。
现在去补充
×
提示
您因"违规操作"
具体请查看互助需知
我知道了
×
提示
现在去查看 取消
×
提示
确定
Book学术官方微信
Book学术文献互助
Book学术文献互助群
群 号:481959085
Book学术
文献互助 智能选刊 最新文献 互助须知 联系我们:info@booksci.cn
Book学术提供免费学术资源搜索服务,方便国内外学者检索中英文文献。致力于提供最便捷和优质的服务体验。
Copyright © 2023 Book学术 All rights reserved.
ghs 京公网安备 11010802042870号 京ICP备2023020795号-1